Search results

214 results in 0.47s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2554
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการค้นคว้าทางการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน การสั่งการ และการบริหาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก หนังสือ ตำรา งานวิจัย และเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง มีด้วยกัน 5 ด้าน 1) งานด้านวิศวกรรม 2) งานด้านสาธารณูปโภค 3) งานด้านสวนสาธารณะ 4) งานด้านจัดสถานที่ 5) งานด้านการไฟฟ้าสาธารณะ สภาพการปฏิบัติงานนั้นต้องประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผนที่ดีเพื่อให้มีความสัมพันธ์กับการจัดวางโครงการซึ่งเป็นนโยบายที่กำหนดกรอบไว้ตามวัตถุประสงค์ และแผนการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า กำหนดอำนาจหน้าที่ชัดเจน โครงการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ความรับผิดชอบทางสายงานตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของแต่ละบุคคล การสั่งการในการดำเนินโครงการในแต่ละครั้งต้องมีแบบแผนปฏิบัติและต้องปฏิบัติตามแผน การแบ่งงานกันทำจึงจำเป็นอย่างยิ่ง กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรม การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารจัดการแก่ประชาชนมีคุณภาพที่ดีขึ้น 2. การปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุเป็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว 4 ประการ คือ 1) ทาน การให้ 2) ปิยวาจา วาจาเป็นที่รัก 3) อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์ 4) สมานัตตตา การวางตนสม่ำเสมอ การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่กองช่าง ทาน ทำได้ด้วยการ มีใจเผื่อแผ่ ให้ทาน เอื้อเฟื้อต่อหน้าที่ ให้ความรู้กับประชาชน ปิยวาจา ทำได้ด้วยการพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวานวาจาเป็นที่รัก หรือวาจาซาบซึ้งใจพูดคำจริง มีเหตุผลได้สาระประโยชน์ และถูกกาลเทศะ ถนอมน้ำใจไม่ดุด่าหรือกล่าวคำหยาบคาย การแสดงออกทางกายที่สำรวม มีมารยาท สุภาพอ่อนน้อม อัตถจริยา ทำได้ด้วยการบำเพ็ญประโยชน์ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการของส่วนรวม ไม่มุ่งหวังว่าจะได้รับประโยชน์ตอบแทน สิ่งของหรือ คำชมเชย มีจิตสำนึกในการให้บริการแก่เพื่อนร่วมงาน ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ รวดเร็วและถูกต้อง ทำงานในหน้าที่โดยมีจิตสำนึกและหลักการ รักษาผลประโยชน์ของทางราชการและเอื้อประโยชน์ต่อประชาชน สมานัตตตา ทำได้ด้วยการวางตนให้เหมาะสมกับฐานะในสังคม ปฏิบัติตนอย่างสม่ำเสมอต่อบุคคลอื่นหรือประชาชน ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานด้วยความเป็นกันเอง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักวางตนให้เหมาะสม ซื่อตรง อุทิศเวลาต่อหน้าที่ มีสัมพันธ์อันดีกับชุมชนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย 3.
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการค้นคว้าทางการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน การสั่งการ และการบริหาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก หนังสือ ตำรา งานวิจัย และเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง มีด้วยกัน 5 ด้าน 1) งานด้านวิศวกรรม 2) งานด้านสาธารณูปโภค 3) งานด้านสวนสาธารณะ 4) งานด้านจัดสถานที่ 5) งานด้านการไฟฟ้าสาธารณะ สภาพการปฏิบัติงานนั้นต้องประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผนที่ดีเพื่อให้มีความสัมพันธ์กับการจัดวางโครงการซึ่งเป็นนโยบายที่กำหนดกรอบไว้ตามวัตถุประสงค์ และแผนการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า กำหนดอำนาจหน้าที่ชัดเจน โครงการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ความรับผิดชอบทางสายงานตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของแต่ละบุคคล การสั่งการในการดำเนินโครงการในแต่ละครั้งต้องมีแบบแผนปฏิบัติและต้องปฏิบัติตามแผน การแบ่งงานกันทำจึงจำเป็นอย่างยิ่ง กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรม การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารจัดการแก่ประชาชนมีคุณภาพที่ดีขึ้น 2. การปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุเป็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว 4 ประการ คือ 1) ทาน การให้ 2) ปิยวาจา วาจาเป็นที่รัก 3) อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์ 4) สมานัตตตา การวางตนสม่ำเสมอ การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่กองช่าง ทาน ทำได้ด้วยการ มีใจเผื่อแผ่ ให้ทาน เอื้อเฟื้อต่อหน้าที่ ให้ความรู้กับประชาชน ปิยวาจา ทำได้ด้วยการพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวานวาจาเป็นที่รัก หรือวาจาซาบซึ้งใจพูดคำจริง มีเหตุผลได้สาระประโยชน์ และถูกกาลเทศะ ถนอมน้ำใจไม่ดุด่าหรือกล่าวคำหยาบคาย การแสดงออกทางกายที่สำรวม มีมารยาท สุภาพอ่อนน้อม อัตถจริยา ทำได้ด้วยการบำเพ็ญประโยชน์ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการของส่วนรวม ไม่มุ่งหวังว่าจะได้รับประโยชน์ตอบแทน สิ่งของหรือ คำชมเชย มีจิตสำนึกในการให้บริการแก่เพื่อนร่วมงาน ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ รวดเร็วและถูกต้อง ทำงานในหน้าที่โดยมีจิตสำนึกและหลักการ รักษาผลประโยชน์ของทางราชการและเอื้อประโยชน์ต่อประชาชน สมานัตตตา ทำได้ด้วยการวางตนให้เหมาะสมกับฐานะในสังคม ปฏิบัติตนอย่างสม่ำเสมอต่อบุคคลอื่นหรือประชาชน ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานด้วยความเป็นกันเอง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักวางตนให้เหมาะสม ซื่อตรง อุทิศเวลาต่อหน้าที่ มีสัมพันธ์อันดีกับชุมชนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย 3.
ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 อยู่ร่วมกันในสังคมมีความอนุเคราะห์ สงเคราะห์ แบ่งปันช่วยเหลือกันและกัน ทำให้อยู่ร่วมกันทำงานร่วมกัน เต็มใจช่วยเหลือเกื้อกูล ร่วมแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์ทำให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ การมีหลักธรรมสังคหวัตถุ 4 เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจะทำให้รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นหมู่ช่วยเหลือกันมีความสามัคคีกันแบ่งปันกันไม่ว่าจะเกิดเหตุการณ์ที่เลวร้ายก็สามารถแก้ปัญหาและช่วยเหลือกัน ด้านรวมไปถึงด้านให้กำลังใจที่ส่งถึงกันเพื่อให้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม สามารถมีทัศนคติใช้ปฏิบัติในทางที่ในการสนับสนุนและช่วยเหลือกัน เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจะทำให้รวมกันเป็นหมู่ คนในประเทศชาติประพฤติดีมีศีลธรรมรู้จักเกื้อกูลกันไม่ขัดแย้งแตกแยกกัน ให้กำลังใจซึ่งกันและกันเหนี่ยวน้ำใจของกัน จะประสานกลมเกลียวสอดคล้องกัน เพื่องานที่ทำบรรลุผลมีประโยชน์ หากร่วมมือกันในทุกฝ่ายแล้วย่อมสร้างความเจริญรุ่งเรืองและมั่นคงของประเทศชาติ
The objective of this thesis is 1) to study the working conditions. Of the Technician Division Lam Sam Kaew Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province 2) to study the work according to Sangahavatthu 4 principles of the Technician Division Lam Sam Kaew City Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province 3) To suggest the operational guidelines according to Sangahavatthu 4 principles of the Technician Division Lam Sam Kaeo Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province This research is a qualitative research by researching in-depth interviews. Those responsible for operations, commanding, and administration by studying from the Tripitaka, books, research textbooks and related academic documents The research found that 1. Operating conditions There are 5 aspects of the technician staff: 1) Engineering 2) Utilities 3) Public parks 4) Site management 5) Public electricity The operating conditions must consist of good planning procedures in order to relate to the project layout, which is a policy that is defined in accordance with the objectives. And work plans in advance Set clear authority. The project has a common goal. Responsibility in line with each individual's expertise and expertise. Each project operation order must have a pattern of action and must follow the plan. The division of work is therefore very necessary. Determine the relationship between workers and activities The use of organization resources for maximum efficiency. Management for the public has improved quality. 2. Performance according to the principles of Sanghavatthu 4, Sanghavatthaya is fair, the following are 4 things: 1) giving alms 2) giving the words to the words that are loved 3) the self-behavior, the behavior 4) the constant self-determination The duties of the staff of the Food Mechanics Division are made by generosity and generosity. To educate the people, to make words through speech with sweet, sweet words and beloved words. Or verbally spoken words Have reason and benefit And timely Be considerate and not curse or vulgar Comprehensive physical expression, courteous, polite, docile, attentive, can be achieved through service. Striving to help public affairs Not aiming to receive benefits in return Things or compliments Have a sense of service to colleagues People at full capacity Fast and accurate Work on duty with awareness and principles Maintain the government benefits and benefit the people. Samantha Tata can do by placing oneself appropriate to the status in society. Treat oneself consistently with other people or the public. Equality Treat colleagues with friendliness. Behave as a role model Knowing how to position oneself appropriately, honestly, devoting time to duty Have consistently good relations with the community 3. Suggestions on how to perform the work according to Sangahavatthu 4, coexist in society, provide assistance, share and help each other Make it together, work together Willing to help Solving problems for the benefit of bringing together peace Having the Sanghavatthu 4 principle as an anchor will make it a group. Be a group to help each other, to have unity and to share, no matter how bad events can solve problems and help each other Side, including the encouraging side sent to each other for the sake of the common good Can have an attitude and practice in a way that supports and helps one another As an anchor to make one together People in the nation are well behaved, morally, supportive, not conflict, divided. Encouraging each other to encourage each other Will harmonize harmoniously For work to be successful If collaborating in all parties, it will create prosperity and stability for the nation.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2553
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักอิทธิบาท 4 ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 โดยศึกษาข้อมูลจาก พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างและบุคคลากรในหน่วยงาน กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธรภาค 4 จำนวน 230 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ยเป็นร้อยละ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบบมีโครงสร้าง เจาะลึก (สุ่มแบบจงใจ) ข้าราชการตำรวจเป็นรายบุคคล (in-depth interview) โดยสัมภาษณ์ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการใน กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 จำนวน 38 คน วิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท ผลการวิจัยพบว่า : 1.อิทธิบาท 4 หมายถึง ธรรมที่เป็นเครื่องให้ถึงความสำเร็จหรือทางแห่งความสำเร็จซึ่งประกอบด้วย 1) ฉันทะ คือ ความพอใจรักใคร่เต็มใจใฝ่ใจในการทำงาน 2) วิริยะ คือ ความเพียรขยันอดทน ทำงานให้สำเร็จ 3) จิตตะ คือ การเอาใจจดจ่ออยู่กับงานที่ทำ 4) วิมังสา คือ เป็นการใช้ปัญญาในการไตร่ตรองสอบสวนพิจารณาตรวจสอบงานที่ทำซึ่งอิทธิบาท 4 นอกจากจะเป็นคุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จในงานที่ทำแล้วอิทธิบาท 4 ยังเป็นอายุวัฒนธรรม คือ ธรรมเป็นเหตุให้คนมีอายุยืนยาวอีกด้วยดังที่มีพุทธดำรัสรับรองไว้ในมหาปรินิพพานสูตรว่า“ยสฺส กสฺสจิ อานนฺท จตฺตาโร อิทฺธิปาทา” แปลความว่า “อานนท์อิทธิบาท 4 บุคคลใดเจริญทำให้มากทำให้เป็นดุจยานทำให้เป็นพื้นฐานตั้งไว้อบรมเริ่มไว้ดีแล้วบุคคลนั้นเมื่อปรารถนาก็พึงดำรงชีวิตอยู่ตลอดกัปหรือเกินกว่ากัป” พระอรรถกถาจารย์อธิบายว่า การเจริญอิทธิบาททำให้บุคคลมีชีวิตอยู่ตลอดอายุกัป หมายถึง มีชีวิตอยู่ได้จนครบเกณฑ์อายุขัยประมาณได้ 100 ปีหรือมากกว่านั้น 2. ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 มีความเข้าใจ เห็นความสำคัญของหลักอิทธิบาท 4 และปฏิบัติหน้าที่ตามหลักอิทธิบาท 4 โดยคิดเป็นร้อยละ ในงานธุรการ ด้านงานสืบสวนและด้านงานสอบสวน ทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับดีมากดังนี้ 1) ด้านงานธุรการ เป็นการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับเอกสารต้องมี ความพอใจ ความตั้งใจ ความเพียร และตรวจสอบความละเอียดในการปฏิบัติพบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 95 2) ด้านงานสืบสวนเป็นการปฏิบัติหน้าที่ ที่ต้องใช้ความสามารถ ในการปราบปรามจับกุมผู้กระทำความผิดต้องมีฉันทะ ความพอใจ ความมีวิริยะ มีความตั้งใจอดทนต่ออารมณ์ของผู้ถูกจับกุม และต้องใช้ปัญญาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอีก พบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับ ดีมาก ร้อยละ 93 3) ด้านงานสอบสวน เป็นการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานสำนวนการสอบสวนคดีอาญา คดีปกครอง คดีละเมิดและคดีอื่นๆ ต้องมีความพอใจ มีความเพียร มีความจดจ่ออยู่ในประเด็น เนื้อหาสาระของคดี มีการตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องก่อนที่จะเสนอความเห็นควรสั่งฟ้อง ไม่ฟ้องหรือมีความเห็นแย้งต่อไป พบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 93
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักอิทธิบาท 4 ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 โดยศึกษาข้อมูลจาก พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างและบุคคลากรในหน่วยงาน กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธรภาค 4 จำนวน 230 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ยเป็นร้อยละ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบบมีโครงสร้าง เจาะลึก (สุ่มแบบจงใจ) ข้าราชการตำรวจเป็นรายบุคคล (in-depth interview) โดยสัมภาษณ์ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการใน กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 จำนวน 38 คน วิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท ผลการวิจัยพบว่า : 1.อิทธิบาท 4 หมายถึง ธรรมที่เป็นเครื่องให้ถึงความสำเร็จหรือทางแห่งความสำเร็จซึ่งประกอบด้วย 1) ฉันทะ คือ ความพอใจรักใคร่เต็มใจใฝ่ใจในการทำงาน 2) วิริยะ คือ ความเพียรขยันอดทน ทำงานให้สำเร็จ 3) จิตตะ คือ การเอาใจจดจ่ออยู่กับงานที่ทำ 4) วิมังสา คือ เป็นการใช้ปัญญาในการไตร่ตรองสอบสวนพิจารณาตรวจสอบงานที่ทำซึ่งอิทธิบาท 4 นอกจากจะเป็นคุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จในงานที่ทำแล้วอิทธิบาท 4 ยังเป็นอายุวัฒนธรรม คือ ธรรมเป็นเหตุให้คนมีอายุยืนยาวอีกด้วยดังที่มีพุทธดำรัสรับรองไว้ในมหาปรินิพพานสูตรว่า“ยสฺส กสฺสจิ อานนฺท จตฺตาโร อิทฺธิปาทา” แปลความว่า “อานนท์อิทธิบาท 4 บุคคลใดเจริญทำให้มากทำให้เป็นดุจยานทำให้เป็นพื้นฐานตั้งไว้อบรมเริ่มไว้ดีแล้วบุคคลนั้นเมื่อปรารถนาก็พึงดำรงชีวิตอยู่ตลอดกัปหรือเกินกว่ากัป” พระอรรถกถาจารย์อธิบายว่า การเจริญอิทธิบาททำให้บุคคลมีชีวิตอยู่ตลอดอายุกัป หมายถึง มีชีวิตอยู่ได้จนครบเกณฑ์อายุขัยประมาณได้ 100 ปีหรือมากกว่านั้น 2. ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 มีความเข้าใจ เห็นความสำคัญของหลักอิทธิบาท 4 และปฏิบัติหน้าที่ตามหลักอิทธิบาท 4 โดยคิดเป็นร้อยละ ในงานธุรการ ด้านงานสืบสวนและด้านงานสอบสวน ทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับดีมากดังนี้ 1) ด้านงานธุรการ เป็นการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับเอกสารต้องมี ความพอใจ ความตั้งใจ ความเพียร และตรวจสอบความละเอียดในการปฏิบัติพบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 95 2) ด้านงานสืบสวนเป็นการปฏิบัติหน้าที่ ที่ต้องใช้ความสามารถ ในการปราบปรามจับกุมผู้กระทำความผิดต้องมีฉันทะ ความพอใจ ความมีวิริยะ มีความตั้งใจอดทนต่ออารมณ์ของผู้ถูกจับกุม และต้องใช้ปัญญาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอีก พบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับ ดีมาก ร้อยละ 93 3) ด้านงานสอบสวน เป็นการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานสำนวนการสอบสวนคดีอาญา คดีปกครอง คดีละเมิดและคดีอื่นๆ ต้องมีความพอใจ มีความเพียร มีความจดจ่ออยู่ในประเด็น เนื้อหาสาระของคดี มีการตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องก่อนที่จะเสนอความเห็นควรสั่งฟ้อง ไม่ฟ้องหรือมีความเห็นแย้งต่อไป พบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 93
This research has the objectives to study: 1) Iddhipatha4 in Theravada Buddhism, 2) the police’s performance of provincial investigation division region 4, and 3) an analytical study of iddhipatha 4 with the police’s performance of provincial investigation division region 4. The researcher studies the data from tripitaka, texts, books, and related researches, and collected the information 230 respondents by questionnaire and in-depth interviews with commander, deputy- commander, inspectors, deputy-inspectors. The results were as follows: 1. Iddhipahta 4 refers to the Dhamma that is a sign of success or the way of success. Which consists of 1) Chandha is contentment, love, willingness, desire for work, 2) Viriya: patience and persistence, diligence, patience, work success. 3) Jitta: concentrate and emphasize with the work, Check work. 4) Vimangsa: concentrate and ponder to check the work. And Iddhipatha 4 is also a cultural age. Dharma is also the reason why people live longer. As has been said by Buddha in the nirvana Interpret "Anon Iddhipatha 4 anyone who makes great progress make it like a ship Basicize The training has already started. That person, when he desires, should live forever or beyond. "The commentator explained that the growth of one's power makes a person to live through life. Eon means to live to the full life expectancy of approximately 100 years or more. 2. Police officer The Investigation Division of the Provincial Police Region 4 has an understanding of the importance of Iddhipatha 4 principles and acts in accordance with the Iddhipatha 4 principles as a percentage of the administrative work, the investigative work, and the investigations. 1) Administrative It is a duty related to documents, must be satisfied, intention, perseverance and check the resolution in practice, found that the use of the power of Iddhipatha 4 with duty is very good, 95% 2) Investigative: Is a duty that requires skill in suppressing the arrest of the offender, there must be courage, satisfaction, persistence, and determination to endure emotions. Of the arrested and must use wisdom to solve problems that occur again It was found that 93% of the work performed by the Iddhipatha 4 in the performance of duties were at a very good level. 3) Investigation It is a duty concerning criminal investigation, administrative cases, tort cases and other cases. Must be satisfied, with diligence, and focus on issues. The content of the case Have corrected before proposing an opinion, should sue Will not continue to sue or have conflicting opinions It was found that 93% of the work performed by the Iddhipatha 4 in performing duties were at a very good level.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรเทศบาลที่ปฏิบัติงานในเทศบาลตำบลต่างๆ ในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 319 โดยวิธีการใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ คือ ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1. บุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี มีการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับทุกครั้ง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการนำหลักมุทิตา อยู่ในระดับทุกครั้ง รองลงมา คือ ด้านการนำหลักเมตตา และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการนำหลักอุเบกขา อยู่ในระดับทุกครั้ง ตามลำดับ 2. ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ที่มีอายุ และประสบการณ์ทำงานต่างกัน มีการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ข้อเสนอแนะ 1) ด้านการนำหลักเมตตาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านมีความรักใคร่ปรารถนาดีกับเพื่อนน้อยมาก และไม่เสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานจึงควรตระหนักในหลักเมตตาธรรมและปรารถนาดีกับเพื่อนร่วมงานช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานเมื่อเพื่อนประสบความเดือดร้อน, 2) ด้านการนำหลักกรุณาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บางครั้งยังขาดความเห็นใจเพื่อนร่วมงานและไม่สนใจเมื่อเพื่อนเดือดร้อนควรช่วยแก้ไขปัญหาให้เมื่อเพื่อนร่วมงานเมื่อได้รับความเดือดร้อนให้ดีขึ้น, 3) ด้านการนำหลักมุทิตาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านไม่ได้สนใจเมื่อเพื่อนร่วมงานที่ได้รับรางวัลจากการทำความดีควรยินดีกับ เพื่อนร่วมงานที่ได้รับคำชมเชยและสนับสนุนนักเรียนให้กระทำแต่ความดีนั้น และ 4) ด้านการนำหลักอุเบกขาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านลำเอียงเมื่อเพื่อนร่วมงานมีการกระทำผิดกฎระเบียบควรมีใจเป็นกลางเมื่อเพื่อนร่วมงานได้รับโทษตามสภาพจริง
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรเทศบาลที่ปฏิบัติงานในเทศบาลตำบลต่างๆ ในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 319 โดยวิธีการใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ คือ ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1. บุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี มีการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับทุกครั้ง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการนำหลักมุทิตา อยู่ในระดับทุกครั้ง รองลงมา คือ ด้านการนำหลักเมตตา และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการนำหลักอุเบกขา อยู่ในระดับทุกครั้ง ตามลำดับ 2. ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ที่มีอายุ และประสบการณ์ทำงานต่างกัน มีการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ข้อเสนอแนะ 1) ด้านการนำหลักเมตตาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านมีความรักใคร่ปรารถนาดีกับเพื่อนน้อยมาก และไม่เสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานจึงควรตระหนักในหลักเมตตาธรรมและปรารถนาดีกับเพื่อนร่วมงานช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานเมื่อเพื่อนประสบความเดือดร้อน, 2) ด้านการนำหลักกรุณาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บางครั้งยังขาดความเห็นใจเพื่อนร่วมงานและไม่สนใจเมื่อเพื่อนเดือดร้อนควรช่วยแก้ไขปัญหาให้เมื่อเพื่อนร่วมงานเมื่อได้รับความเดือดร้อนให้ดีขึ้น, 3) ด้านการนำหลักมุทิตาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านไม่ได้สนใจเมื่อเพื่อนร่วมงานที่ได้รับรางวัลจากการทำความดีควรยินดีกับ เพื่อนร่วมงานที่ได้รับคำชมเชยและสนับสนุนนักเรียนให้กระทำแต่ความดีนั้น และ 4) ด้านการนำหลักอุเบกขาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านลำเอียงเมื่อเพื่อนร่วมงานมีการกระทำผิดกฎระเบียบควรมีใจเป็นกลางเมื่อเพื่อนร่วมงานได้รับโทษตามสภาพจริง
This thematic paper had the objectives as follows: 1) to study An Application of the Principles of Brahmaviharadhamma to Duty Performance of Personnel of Municipalities in Thanya Buri District, Pathum Thani Province; 2) to An Application of the Principles of Brahmaviharadhamma to Duty Performance of Personnel of Municipalities in Thanya Buri District, Pathum Thani Province, classified by different personal factors of ages, genders, levels of education, and job experience; and 3) to study suggestions and solutions concerning An Application of the Principles of Brahmaviharadhamma to Duty Performance of Personnel of Municipalities in Thanya Buri District, Pathum Thani Province. The used research tools were questionnaires. The sample group were 319 residents in Thanyaburi District, Pathum Thani Province, sized by formula of Taro Yamane and Simple Random Sampling in collection of data. The used statistics were descriptive statistics, frequency, percentage, mean, standard deviation and inferential statistics including F-test and One-way ANOVA test. If differentiation was found, it was tested in a pare by mean of Scheffe and analyzed by computing. The results of research were found as follows: 1. Personnel of Thanyaburi Municipalities in Thanyaburi Province had applied the principle of Brahmaviharadhamma to duty performance, in the whole view of all 4 aspects at all times level. Having been considered in each aspects, they were found that the Aspect of An Application of the Principle of Mulita was at all times level, and the Aspect of An Application of the Principle of Metta, were at all times level respectively, while the Aspect of An Application of the Principle of Upekkha was in the lowest level. 2. The results of hypothesis-test were found that the personnel of Thanyaburi Municipalities in Thanya buri Province with different ages and job experiences, had applied differently the principle of Brahmaviharadhamma to duty performance, in the whole view of 4 aspects, in a statistical significant level of 0.05. 3. The people had suggested some problems and solutions concerning an application of the principle of Brahmaviharadhamma to duty performance of the personnel of municipalities in Thanyaburi District, Pathum Thani Province, as follows; 1) In the Aspect of An Application of the Principle of Metta, as some personnel had a little loving-kindness, friendliness and goodwill to their co-workers and they did not give up their own happiness for their co-workers, so they should realize the importance of the principle of Metta and should express loving-kindliness, friendliness and goodwill and help their co-workers whenever they suffered; 2) In the Aspect of An Application of the Principle of Karuna, as some times some personnel did not show compression to their co-workers, so they should pay more attention to their co-workers whenever they help to solve the problems or whenever they suffered; 3) In the Aspect of An Application of the Principle of Mudita, as some personnel did not express sympathetic joy or altruistic joy to their co-workers when they received rewards from their successful works, so they should express sympathetic joy and should encourage them to do more successful works; 4) In the Aspect of An Application of the Principle of Upekkha, as some personnel had some bias towards their co-workers when they were punished, so they should show equanimity, neutrality or poise towards their co-workers whenever they were punished in due process of law and regulations.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
The objective of this thesis were as follows; 1) to study the application of Sanghavatthu in work performance of the Local Administrative Organization Personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas: infrastructure, quality of life promotion, and management and conservation of natural resources and environment 2) to compare the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel Phuttamonthon district Nakhon Pathom province based on their sex age educational level and work experience, and 3) to propose a guidance on the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The quantitative data were collected from 196 samples by questionnaires and analyzed by frequency, mean, percentage, standard deviation, T-test, F-test, One-way ANOVA and LSD method. The qualitative data were collected by in-depth interview with 5 administrators of Local Administrative Organization in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The results of the study found that: 1) The application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas was at a high level overall. In details, the highest level was on management and conservation of natural resources and environment, followed by quality of life promotion, and infrastructure respectively. 2) From the hypothesis testing, the personnel with different sexes, ages, educational levels, and work experiences had no different levels in the application of Sangkhahawatthu in their performance. 3) The guidelines on the application of Sanghahavatthu in work performance of the local Administrative organization personnel in Phuttamonthon district of Nakhon Pathom province are that the personnel should be encouraged and supported in opinion exchange in work, in hospitality to each other, and in work motivation and responsibility.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553