Search results

264 results in 0.66s

หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและทดสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ ธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 795 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่าเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้คือ 1) ตัวบ่งชี้การวิจัย 60 ตัว มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.23-4.74 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายอยู่ระหว่าง 11.35-15.86 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงมีความเหมาะสมได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.86-1.06 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.73-1.02 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-1.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและทดสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ ธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 795 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่าเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้คือ 1) ตัวบ่งชี้การวิจัย 60 ตัว มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.23-4.74 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายอยู่ระหว่าง 11.35-15.86 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงมีความเหมาะสมได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.86-1.06 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.73-1.02 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-1.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The data was collected by using the questionnaire for estimation from a sample of the administrators of the Office of Primary Education Area of 795 people which were obtained by multi-stage random sampling.Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypothesis : 1) The 60 indicators used have mean of 4.23-4.74 which meets the specified criteria as mean equal to or higher than 3.00 and the distribution coefficient is between 11.35-15.86. All were selected in the model. 2) Structural relationship model Indicator of Good Governance for Administrators of the Primary Educational Service Area Office, the development from theory and research are consisted of congruence with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), Goodness-of-Fit Index (GFI), Adjusted Goodness-of-Fit Index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and Normed Fit Index (NFI), were In accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.86-1.06, which is higher than criterion as 0.70 in all major factor. The minor components had factor loading between 0.73-1.02 and the indicator had factor loading ranged from 0.30-1.00, which are higher level than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    การศึกษาวิจัยเรื่อง ระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการตามแนวธรรมาภิบาลมีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑. เพื่อศึกษาระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการ ๒. เพื่อศึกษาระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล ๓. เพื่อบูรณาการระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล ๔. เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “ระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบ การบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล” การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเอกสาร และทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ได้แก่ พระสังฆาธิการจำนวน ๔ รูป ผู้บริหารสำนักงานที่ใช้หลักธรรมาภิบาล ๑ คน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านพระพุทธศาสนาจำนวน ๑๐ รูป/คน เพื่อยืนยันผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า การบริหารสำนักงานพระสังฆาธิการ พบปัญหาการบริหารมี ๔ ประการ คือ ๑. ปัญหาด้านบุคคลากร เช่น การบริหารงานของพระสงฆ์ที่เป็นผู้ปกครองระดับสูงส่วนมากจะอยู่ในกรุงเทพมหานคร เช่น เจ้าคณะภาคบางรูปไม่ได้สังกัดวัดภายในภาคของตนทำให้การตรวจงานภายในภาคไม่สามารถทำได้อย่างทั่วถึงมีประสิทธิภาพ เพราะเจ้าคณะผู้ปกครองภายในภาคอยู่ในพื้นที่ห่างไกล และไม่มีสำนักงานบริหารที่ถาวร เมื่อเจ้าคณะพ้นสภาพจากความเป็นเจ้าคณะ เอกสารหลักฐานก็ขาดตอน เมื่อ มีเจ้าคณะใหม่ก็เริ่มงานใหม่ การบริหารจึงไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่องและไม่เป็นระบบ และปัญหาการบริหารงานในส่วนภูมิภาค พบว่าการกระจายอำนาจทำได้เพียงแต่โครงสร้างเท่านั้น ๒. ปัญหางบประมาณ เนื่องจากสำนักงานไม่มีงบประมาณจากภาครัฐทำให้ต้องหางบประมาณดำเนินการเอง ๓. ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ เป็นปัญหาที่สืบเนืองมาจากงบประมาณทำให้ไม่สามารถจัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ ๔. ปัญหาด้านการจัดการ พบว่า การดำเนินงานของสำนักงานพระสังฆาธิการทั้ง ๖ ด้าน ได้แก่ ด้านการปกครอง ด้านการศึกษา ด้านศึกษาสงเคราะห์ ด้านการเผยแผ่ ด้านสาธารณูปการ ด้านสาธารณสงเคราะห์ ขาดธรรมาภิบาลทำให้เกิดปัญหาในความเลื่อมใสศรัทธาต่อพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนและปัญหากฎหมายด้านอื่น ๆ การบริหารงานสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล เป็นการบริหารงานในองค์กรที่ประกอบด้วยหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า ทำให้องค์กรมีความเข้มแข็งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความโปร่งใสยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได้ และได้ศึกษาตัวอย่างสำนักงานที่ประสบความสำเร็จด้านธรรมาภิบาลเพื่อเป็นตัวอย่างในการนำมาบูรณาการในการแก้ไขปัญหาของสำนักงานพระสังฆาธิการ การบูรณาการระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล พบว่า ๑. ด้านบุคคลากร มีกฎหมายจัดตั้งสำนักงานพระสังฆาธิการ ทำให้มีการบริหารเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง ๒. ด้านงบประมาณ สำนักงานมีงบประมาณจากภาครัฐอย่างเพียงพอทำให้ต้องมีการตรวจสอบการใช้จ่ายอย่างโปร่งใส ๓. ด้านวัสดุอุปกรณ์ สามารถจัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง บริสุทธิ์ ยุติธรรม ๔.
การศึกษาวิจัยเรื่อง ระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการตามแนวธรรมาภิบาลมีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑. เพื่อศึกษาระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการ ๒. เพื่อศึกษาระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล ๓. เพื่อบูรณาการระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล ๔. เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “ระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบ การบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล” การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเอกสาร และทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ได้แก่ พระสังฆาธิการจำนวน ๔ รูป ผู้บริหารสำนักงานที่ใช้หลักธรรมาภิบาล ๑ คน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านพระพุทธศาสนาจำนวน ๑๐ รูป/คน เพื่อยืนยันผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า การบริหารสำนักงานพระสังฆาธิการ พบปัญหาการบริหารมี ๔ ประการ คือ ๑. ปัญหาด้านบุคคลากร เช่น การบริหารงานของพระสงฆ์ที่เป็นผู้ปกครองระดับสูงส่วนมากจะอยู่ในกรุงเทพมหานคร เช่น เจ้าคณะภาคบางรูปไม่ได้สังกัดวัดภายในภาคของตนทำให้การตรวจงานภายในภาคไม่สามารถทำได้อย่างทั่วถึงมีประสิทธิภาพ เพราะเจ้าคณะผู้ปกครองภายในภาคอยู่ในพื้นที่ห่างไกล และไม่มีสำนักงานบริหารที่ถาวร เมื่อเจ้าคณะพ้นสภาพจากความเป็นเจ้าคณะ เอกสารหลักฐานก็ขาดตอน เมื่อ มีเจ้าคณะใหม่ก็เริ่มงานใหม่ การบริหารจึงไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่องและไม่เป็นระบบ และปัญหาการบริหารงานในส่วนภูมิภาค พบว่าการกระจายอำนาจทำได้เพียงแต่โครงสร้างเท่านั้น ๒. ปัญหางบประมาณ เนื่องจากสำนักงานไม่มีงบประมาณจากภาครัฐทำให้ต้องหางบประมาณดำเนินการเอง ๓. ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ เป็นปัญหาที่สืบเนืองมาจากงบประมาณทำให้ไม่สามารถจัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ ๔. ปัญหาด้านการจัดการ พบว่า การดำเนินงานของสำนักงานพระสังฆาธิการทั้ง ๖ ด้าน ได้แก่ ด้านการปกครอง ด้านการศึกษา ด้านศึกษาสงเคราะห์ ด้านการเผยแผ่ ด้านสาธารณูปการ ด้านสาธารณสงเคราะห์ ขาดธรรมาภิบาลทำให้เกิดปัญหาในความเลื่อมใสศรัทธาต่อพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนและปัญหากฎหมายด้านอื่น ๆ การบริหารงานสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล เป็นการบริหารงานในองค์กรที่ประกอบด้วยหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า ทำให้องค์กรมีความเข้มแข็งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความโปร่งใสยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได้ และได้ศึกษาตัวอย่างสำนักงานที่ประสบความสำเร็จด้านธรรมาภิบาลเพื่อเป็นตัวอย่างในการนำมาบูรณาการในการแก้ไขปัญหาของสำนักงานพระสังฆาธิการ การบูรณาการระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล พบว่า ๑. ด้านบุคคลากร มีกฎหมายจัดตั้งสำนักงานพระสังฆาธิการ ทำให้มีการบริหารเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง ๒. ด้านงบประมาณ สำนักงานมีงบประมาณจากภาครัฐอย่างเพียงพอทำให้ต้องมีการตรวจสอบการใช้จ่ายอย่างโปร่งใส ๓. ด้านวัสดุอุปกรณ์ สามารถจัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง บริสุทธิ์ ยุติธรรม ๔.
ด้านการจัดการ สำนักงานมีหลักธรรมาภิบาลทั้ง ๖ ด้านทำให้เกิดการบริหารที่ดีเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ผลการวิจัยสามารถสรุปเป็นโมเดลระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาลที่เรียกว่า MOGA Model ประกอบด้วย M = Management (การบริหารงาน ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. บุคลากร ๒. งบประมาณ ๓. วัสดุอุปกรณ์ ๔. การจัดการ) O = office of Buddhist Ecclesiastical (สำนักงานพระสังฆาธิการ) G = good governance (ธรรมาภิบาล ๖ ด้าน ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า) A = Advantage (ประโยชน์ที่ได้รับจาการบริหารงานสำนักงานพระสังฆาธิการตามแนว ธรรมาภิบาลมี ๒ นัย ได้แก่ นัยที่ ๑ คือ ๑. ประโยชน์ปัจจุบัน ๒. ประโยชน์เบื้องหน้า หรือประโยชน์ในภพหน้า, ๓. ประโยชน์สูงสุด คือ พระนิพพาน นัยที่ ๒ คือ ๑. ประโยชน์ตน ๒. ประโยชน์ผู้อื่น ๓.ประโยชน์ ทั้งสองฝ่าย
The objectives of the study on the management system of Buddhist Ecclesiastical office according to the good governance were; 1) To study the manage- ment system of buddhist ecclesiastical office. 2) To study the management system of office according to the good governance 3) To integrate the management system of the Buddhist ecclesiastical office according to the good governance 4) To propose a guideline and create new knowledge related to management system of the Buddhist ecclesiastical office according to the good governance This research is a qualitative research by using document research methodology and conducting in-depth interview, including 4 abbots, office administrators who use good governance 1 person and experts in Buddhism 10 monks/person to confirm this research results. The results of the study found that: There are 4 main problems of the management system of the Buddhist Ecclesiastical office 1. Personnel problems, such as the administration of monks who are high-level position, most of them live in Bangkok, some of the Lord Abbots of a Buddhist monastery, not belong to his region, may not affiliate with temples within his region, therefore, the inspection is unable to be done thoroughly, and effectively because the guardian within the region is in a remote area And there is no permanent administrative office When the Lord Abbot is retried, the Document evidence is disrupted. Whenever a new Lord Abbot start a new responsibility,: Therefore, management is not continuous and systematic And the administrative problems in the region found that decentralization can only be done in the structure. 2. Money problems due to the office does not have enough from the government sector, making it necessary to find a budget to operate. 3. Material problems due to the constraint budget, making it impossible to get equipment. 4.The management problems of the Buddhist Ecclesiastical Office in the 6 aspects : Administration, Education, Education welfare, Dissemination, Infrastructure, Public welfare, found that the lack of good governance, then make resulting in problems of faith in Buddhism and other legal issues. The management system of office according to good governance is the management of the organization which consists of the rule of law, morality, transparency, participation, responsibility, value for money make the organization strong, efficient, effective, transparent, fair and can be inspected. And also studied the successful office of good governance in order to be an example in the integration of the problems of the Buddhist Ecclesiastical office. The integration of the management system of the Office of the Buddhist Ecclesiastical with the office management system in accordance with the good governance found that: 1. Personnel, there is a law to establish the Buddhist Ecclesiastical Office will make management systematic and continuous 2. Money The office has sufficient budget from the government, which requires transparent examination of spending. 3. Materials and equipment can be purchased by correctly and fairly. 4. Management The Office 6 Principles of good government to ensure it internationally accepted performance. From the results of the research, it can be summarized as a model of the management system of the Buddhist Ecclesiastical Office according to the good governmance which called MOGA model M = Management, (1. Personnel, 2. Budget, 3. Materials, equipment 4. Manage- ment) O = Office of Buddhist Ecclesiastical G = Good governance, A = Advantage (2 aspects: 1. current benefits, benefits in the future, the greatest benefit is Nirvana and 2. Gain for Oneself, Gain for others, Gain both)
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    การศึกษาการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการดำเนินกิจกรรมในการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ 2) ศึกษาหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา 3) บูรณาการการดำเนินกิจกรรมในการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยหลักฆราวาสธรรม และ 4) นำเสนอแนวทางและองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯ ผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยหลักฆราวาสธรรม” วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ในการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ที่เคยผ่านการฟื้นฟูฯได้รับการติดตามผลการรักษา 3 เดือนหลังจำหน่าย จำนวน 63 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและเปรียบเทียบความแตกต่างใช้สถิติ Independent t-test ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ที่เคยผ่านการฟื้นฟูฯได้รับการติดตามผลการรักษา 3 เดือนหลังจำหน่ายและไม่เสพติดซ้ำ จำนวน 15 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึก และทีมสหวิชาชีพที่ให้การฟื้นฟูฯ จำนวน 13 คน ใช้แบบสัมภาษณ์ไม่มีโครงสร้าง ในการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. การดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์มีหลากหลายรูปแบบและมีการนำหลักธรรมทางพุทธศาสนามาปรับใช้ในการฟื้นฟูฯ รวมทั้งนำหลักฆราวาสธรรมมาปรับใช้การดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ 2. หลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย สัจจะ ทมะ ขันติ และจาคะ เป็นธรรมสำหรับฆราวาสที่ใช้ในการดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกัน 3. บูรณาการการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เสพติดซ้ำมีคะแนนการปฏิบัติตนตามหลักฆราวาสธรรม 4 และข้อธรรมย่อยสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างที่เสพติดซ้ำอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.05 แสดงว่ากลุ่มผู้ป่วยที่ไม่เสพติดซ้ำสามารถปฏิบัติตามฆราวาสธรรมและมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางดี และการปฏิบัติตามหลักฆราวาสธรรมเพื่อดูแลตนเองไม่ให้เสพติดซ้ำต้องมีความมุ่งมั่นตั้งใจ ข่มใจ อดทนกับความรู้สึกอยากดื่มและละวางความรู้สึกที่ไม่ดีต่าง ๆ นั้นได้ จะต้องมีสติคิดพิจารณาอย่างมีเหตุผล ควบคุมตนและการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว โดยมีการบูรณาการหลักฆราวาสธรรมสอดแทรกในกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ จึงทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่รูปแบบบูรณาการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม คือ SCB-SA-SC-SD Model หมายถึง การดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ควรได้รับการสนับสนุนทางสังคม จากครอบครัว เจ้าหน้าที่และเพื่อนผู้ป่วย ให้การช่วยเหลือปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมผู้ป่วยให้ดีขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์รู้จักตนหรือมีสติ/สมาธิ ควบคุมตนเองได้หรือมีศีล และการพัฒนาตนหรือมีปัญญา จึงช่วยให้เลิกดื่มแอลกอฮอล์ได้นานขึ้น
การศึกษาการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการดำเนินกิจกรรมในการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ 2) ศึกษาหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา 3) บูรณาการการดำเนินกิจกรรมในการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยหลักฆราวาสธรรม และ 4) นำเสนอแนวทางและองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯ ผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยหลักฆราวาสธรรม” วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ในการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ที่เคยผ่านการฟื้นฟูฯได้รับการติดตามผลการรักษา 3 เดือนหลังจำหน่าย จำนวน 63 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและเปรียบเทียบความแตกต่างใช้สถิติ Independent t-test ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ที่เคยผ่านการฟื้นฟูฯได้รับการติดตามผลการรักษา 3 เดือนหลังจำหน่ายและไม่เสพติดซ้ำ จำนวน 15 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึก และทีมสหวิชาชีพที่ให้การฟื้นฟูฯ จำนวน 13 คน ใช้แบบสัมภาษณ์ไม่มีโครงสร้าง ในการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. การดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์มีหลากหลายรูปแบบและมีการนำหลักธรรมทางพุทธศาสนามาปรับใช้ในการฟื้นฟูฯ รวมทั้งนำหลักฆราวาสธรรมมาปรับใช้การดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ 2. หลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย สัจจะ ทมะ ขันติ และจาคะ เป็นธรรมสำหรับฆราวาสที่ใช้ในการดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกัน 3. บูรณาการการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เสพติดซ้ำมีคะแนนการปฏิบัติตนตามหลักฆราวาสธรรม 4 และข้อธรรมย่อยสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างที่เสพติดซ้ำอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.05 แสดงว่ากลุ่มผู้ป่วยที่ไม่เสพติดซ้ำสามารถปฏิบัติตามฆราวาสธรรมและมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางดี และการปฏิบัติตามหลักฆราวาสธรรมเพื่อดูแลตนเองไม่ให้เสพติดซ้ำต้องมีความมุ่งมั่นตั้งใจ ข่มใจ อดทนกับความรู้สึกอยากดื่มและละวางความรู้สึกที่ไม่ดีต่าง ๆ นั้นได้ จะต้องมีสติคิดพิจารณาอย่างมีเหตุผล ควบคุมตนและการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว โดยมีการบูรณาการหลักฆราวาสธรรมสอดแทรกในกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ จึงทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่รูปแบบบูรณาการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม คือ SCB-SA-SC-SD Model หมายถึง การดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ควรได้รับการสนับสนุนทางสังคม จากครอบครัว เจ้าหน้าที่และเพื่อนผู้ป่วย ให้การช่วยเหลือปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมผู้ป่วยให้ดีขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์รู้จักตนหรือมีสติ/สมาธิ ควบคุมตนเองได้หรือมีศีล และการพัฒนาตนหรือมีปัญญา จึงช่วยให้เลิกดื่มแอลกอฮอล์ได้นานขึ้น
The objectives of this research were: 1) to study activities in rehabilitation therapy for alcoholic dependence, 2) to study Gharâvâsadhamma in Buddhism, 3. to integrate activities in rehabilitation therapy for alcoholic dependence with Gharâvâsadhamma, and 4) to propose guidance and knowledge about " a model of a proceeding activities in rehabilitation therapy for alcoholic dependence integrated with Gharâvâsadhamma.” The mixed research methods were used in the study. The quantitative data were collected by questionnaire from 63 samples that had undergone rehabilitation follow up the treatment for 3 months after discharge. The quantitative data were analyzed by descriptive statistics and comparing differences used Independent t-test. The qualitative data were obtained by in-depth interviews with 15 alcoholic dependence patients, who had undergone rehabilitation with 3-month follow-up treatments after discharge and not being addicted, and with 13 key informants in multidisciplinary teams at the rehabilitation by unstructured interviews. The data were analyzed by inductive analysis. The results of the research were follows 1. the implementation of rehabilitation activities for alcoholic dependence patients has a variety of forms and Buddhist principles are applied to the rehabilitation, 2. Gharâvâsadhamma in Buddhism is for lay-people to live together, and 3. the implement of rehabilitation activities integrated with Gharâvâsadhamma for patients with alcohol dependence indicated that the non-addicted sample group had a score of overall practice of Gharâvâsadhamma significantly higher than the relapse alcohol sample at the level of 0.05. This result revealed that non- relapse patients could follow Gharâvâsadhamma and have behavioral change positively. To follow Gharâvâsadhamma for self-care and non-relapse was based on intention, commitment, and tolerance to alcohol withdrawal symptoms. To escape from a bad feeling, the patients must depend on conscious thinking, reasonable consideration, self-control and family support. The rehabilitation activities for alcoholic dependence patients integrated with the Gharâvâsadhamma could be concluded into “SCB-SA-SC-SD Model”. The activities of rehabilitation for alcoholic dependence patients must be supported by society, family, staff, and fellow patients. All that could help change the patients’ cognition and behaviors into a positive way and assist them to have self-awareness or mindfulness and concentration, self-control or precepts and self-development or wisdom, and to help them quit drinking alcohol in a longer time.
หนังสือ

    การวิจัยเรื่อง การพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศกเชิงพุทธบูรณาการ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศก 2) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ตามแนวพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการหลัก พุทธธรรมในการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศก 4) เพื่อเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศกเชิงพุทธบูรณาการ” เป็นการวิจัย (Qualitative Document Research) และทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิ 10 รูป/คน มีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับ ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า: 1)การพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศก มีองค์ประกอบสำคัญ 4 ประการ คือ 1. ความหมายและสารัตถะของบุญ 19 ประการ 2. นิยามแห่งความเป็นบุญนิยม 11 ประการ 3. ทฤษฎีกำไร-ขาดทุนของอารยชน 4. แนวทางอริมรรคมีองค์ 8 ของสมณะโพธิรักษ์ 2)หลักพุทธธรรมที่ใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ของชุมชนชาวอโศก คือ หลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และหลักพุทธธรรมที่สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ ได้แก่ บุญกิริยาวัตถุ 10 สาราณิยธรรม 6 อปริหานิยธรรม 7 3)การบูรณาการหลักพุทธธรรมกับระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศก เป็นกระบวนการ พัฒนาคุณภาพมนุษย์ทั้งด้านรูปธรรมและนามธรรม ให้ประสบความสำเร็จไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อชาวอโศกมีแนวปฏิบัติเพื่อชำระกิเลสได้เหมือนกันทั้งชุมชน เกิดผลดี 4 ด้าน คือ ด้านการพัฒนาตนเอง เกิดความมีอิสรภาพทั้งชุมชน ด้านการพัฒนาชุมชน เกิดความมีบูรณภาพทั้งชุมชน ด้านวัฒนธรรม เกิดความมีสันติภาพทั้งชุมชน ด้านเศรษฐกิจ เกิดความมีภราดรภาพทั้งชุมชน 4.องค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการวิจัย คือ รูปแบบการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศกเชิงพุทธบูรณาการ เรียกว่า “FIPF” Model หมายถึง รูปแบบคุณธรรมบุญนิยม 4 ประการ คือ อิสรภาพ บูรณภาพ สันติภาพ และภราดรภาพ
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศกเชิงพุทธบูรณาการ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศก 2) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ตามแนวพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการหลัก พุทธธรรมในการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศก 4) เพื่อเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศกเชิงพุทธบูรณาการ” เป็นการวิจัย (Qualitative Document Research) และทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิ 10 รูป/คน มีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับ ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า: 1)การพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศก มีองค์ประกอบสำคัญ 4 ประการ คือ 1. ความหมายและสารัตถะของบุญ 19 ประการ 2. นิยามแห่งความเป็นบุญนิยม 11 ประการ 3. ทฤษฎีกำไร-ขาดทุนของอารยชน 4. แนวทางอริมรรคมีองค์ 8 ของสมณะโพธิรักษ์ 2)หลักพุทธธรรมที่ใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ของชุมชนชาวอโศก คือ หลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และหลักพุทธธรรมที่สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ ได้แก่ บุญกิริยาวัตถุ 10 สาราณิยธรรม 6 อปริหานิยธรรม 7 3)การบูรณาการหลักพุทธธรรมกับระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศก เป็นกระบวนการ พัฒนาคุณภาพมนุษย์ทั้งด้านรูปธรรมและนามธรรม ให้ประสบความสำเร็จไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อชาวอโศกมีแนวปฏิบัติเพื่อชำระกิเลสได้เหมือนกันทั้งชุมชน เกิดผลดี 4 ด้าน คือ ด้านการพัฒนาตนเอง เกิดความมีอิสรภาพทั้งชุมชน ด้านการพัฒนาชุมชน เกิดความมีบูรณภาพทั้งชุมชน ด้านวัฒนธรรม เกิดความมีสันติภาพทั้งชุมชน ด้านเศรษฐกิจ เกิดความมีภราดรภาพทั้งชุมชน 4.องค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการวิจัย คือ รูปแบบการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยระบบบุญนิยมของชุมชนชาวอโศกเชิงพุทธบูรณาการ เรียกว่า “FIPF” Model หมายถึง รูปแบบคุณธรรมบุญนิยม 4 ประการ คือ อิสรภาพ บูรณภาพ สันติภาพ และภราดรภาพ
The objectives of this research were; 1) to study human resource development by Bunniyom or Puññist system or meritorious system of Asoka community, 2) to study human resource development according to Buddhism, 3) to integrate the Buddhist principles in human resource development with bunniyom system of Asoka Community, and 4) to propose approaches and knowledge body on "The Model of Human Resource Development by Bunniyom system of Asoka Community in Buddhist Integrated Approach". The data of this documentary qualitative research were collected from in-depth interviews with 10 experts and from focus group discussion with 5 experts. The results of the study indicated as follows: 1.Human resource development by Bunniyom system of Asoka Community has 4 important components: 1) Meanings and essences of 19 meritorious items, 2) 11 definitions of bunniyom, 3) The theory of profit-loss of civilized people, and 4) The Noble Eightfold Path of Samana Bodhi Rak. 2.The Buddhist principles used in the human resource development process of the Asoka community are the Threefold Training principles (Precept, Concentration, and Wisdom) and the Buddhist principles supporting human resource development. They are the 10 items of meritorious action or Puññakiriyavatthu, 6 principles of Saraniyadhamma, and 7 principles of Aparihaniyadhamma. 3.Integration of Buddhist principles with the Bunniyom system of Asoka Community is a process of human resource development in both matter and abstract to achieve the success in the same direction. The good results occurring from the practice of Asoka people for defilement eradication are in 4 sides; Self-development for the freedom in the whole community, Community development for integrity across the community, Culture for having peace across the community, and Economics for creating fraternity across the community. 4.The new body of knowledge gained from the study is the model of human resource development by the Bunniyom system of Asoka Community in the Buddhist Integrated Approach called the "FIPF" Model. It means the four forms Bunniyom; freedom, integrity, peace, and fraternity.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาการป้องกันความเสื่อมของสังคมตามที่ปรากฏในมหาสุบินชาดก ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพการป้องกันความเสื่อมของสังคมในมหาสุบินชาดก ๓) เพื่อบูรณาการการป้องกันความเสื่อมของสังคมที่ปรากฏในมหาสุบินชาดกด้วยหลักพุทธธรรม ๔) เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการพุทธธรรมในการป้องกันความเสื่อมของสังคมในมหาสุบินชาดก” โดยมีระเบียบวิธีการวิจัยคือดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพแบบการวิจัยเอกสาร ศึกษาค้นคว้าเอกสารปฐมภูมิจากเอกสารขั้นต้นและขั้นรอง มีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน ๒๔ รูป/คน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อตอบวัตถุประสงค์สรุปผลการวิจัยเพื่อหาข้อสรุปนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรูปใหม่เกี่ยวกับรูปแบบูรณาการพุทธธรรมในการป้องกันความเสื่อมของสังคมตามที่ปรากฏในมหาสุบินชาดกต่อไป ผลการวิจัยพบว่า ๑. การป้องกันความเสื่อมของสังคมในมหาสุบินชาดกมีทั้งหมด ๑๖ ข้อ สามารถแบ่งออกมาเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านผู้นำ ๒) ด้านข้าราชการหรือผู้ปฏิบัติงาน ๓) ด้านประชาชน และ ๔) ด้านพระสงฆ์หรือนักบวช ๒. หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมในบทบาทหน้าที่เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการป้องกันความเสื่อมของสังคมในมหาสุบินชาดก ๔ ด้าน ประกอบด้วย ๑. ด้านผู้นำ หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมด้านผู้นำประกอบด้วยพรหมวิหารธรรม ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตรธรรม และราชสังคหวัตถุ ๒. ด้านข้าราชการ หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมด้านข้าราชการ ประกอบด้วย หลักสัปปุริสธรรม ๗ หลักอธิปไตย อคติ ๔ หลักทิศ ๖ คาราวะ ๖ มงคล ๓๘ หมวดที่ ๗ และ อปริหานิยธรรม ๗ และหลักธรรมาภิบาล ๖ ๓. ด้านประชาชน หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมด้านประชาชน ประกอบด้วย เบญจศีล - เบญจธรรม หลักทิศ ๖ สมชีวิธรรม ฆราวาสธรรม สังคหวัตถุ อิทธิบาท พหูสูต ๔. ด้านพระสงฆ์ หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมด้านพระสงฆ์ ประกอบด้วย จตุปาริสุทธิศีล ๔ กถาวัตถุ ๑๐ สมณสัญญา ๓ และหลักสันโดษ ๓. เมื่อนำเอาหลักพุทธธรรมไปบูรณาการกับบทบาทและการทำหน้าที่ของบุคคลในแต่ละด้านทั้ง ๔ ด้านก็จะทำให้เกิดคุณสมบัติคือ เป็นผู้รู้จักอบรมตน มีความรับผิดชอบ มีความประพฤติดี และ มีคุณธรรมจริยธรรม ๔. องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยเกี่ยวกับ รูปแบบการป้องกันความเสื่อมของสังคมตามที่ปรากฏในมหาสุบินชาดก คือ PRCE MODEL P = Personnel Quality หมายถึง การประพฤติปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคม R = Responsibility Roles หมายถึง มีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของตนในฐานะที่อยู่ร่วมกับสังคม C = Cultivation Ethics หมายถึง การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การสร้างค่านิยมที่ดี E = Effort exertion Development หมายถึง หมั่นฝึกฝนอบรมตนเองตามหลักปธาน ๔
ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาการป้องกันความเสื่อมของสังคมตามที่ปรากฏในมหาสุบินชาดก ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพการป้องกันความเสื่อมของสังคมในมหาสุบินชาดก ๓) เพื่อบูรณาการการป้องกันความเสื่อมของสังคมที่ปรากฏในมหาสุบินชาดกด้วยหลักพุทธธรรม ๔) เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการพุทธธรรมในการป้องกันความเสื่อมของสังคมในมหาสุบินชาดก” โดยมีระเบียบวิธีการวิจัยคือดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพแบบการวิจัยเอกสาร ศึกษาค้นคว้าเอกสารปฐมภูมิจากเอกสารขั้นต้นและขั้นรอง มีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน ๒๔ รูป/คน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อตอบวัตถุประสงค์สรุปผลการวิจัยเพื่อหาข้อสรุปนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรูปใหม่เกี่ยวกับรูปแบบูรณาการพุทธธรรมในการป้องกันความเสื่อมของสังคมตามที่ปรากฏในมหาสุบินชาดกต่อไป ผลการวิจัยพบว่า ๑. การป้องกันความเสื่อมของสังคมในมหาสุบินชาดกมีทั้งหมด ๑๖ ข้อ สามารถแบ่งออกมาเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านผู้นำ ๒) ด้านข้าราชการหรือผู้ปฏิบัติงาน ๓) ด้านประชาชน และ ๔) ด้านพระสงฆ์หรือนักบวช ๒. หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมในบทบาทหน้าที่เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการป้องกันความเสื่อมของสังคมในมหาสุบินชาดก ๔ ด้าน ประกอบด้วย ๑. ด้านผู้นำ หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมด้านผู้นำประกอบด้วยพรหมวิหารธรรม ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตรธรรม และราชสังคหวัตถุ ๒. ด้านข้าราชการ หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมด้านข้าราชการ ประกอบด้วย หลักสัปปุริสธรรม ๗ หลักอธิปไตย อคติ ๔ หลักทิศ ๖ คาราวะ ๖ มงคล ๓๘ หมวดที่ ๗ และ อปริหานิยธรรม ๗ และหลักธรรมาภิบาล ๖ ๓. ด้านประชาชน หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมด้านประชาชน ประกอบด้วย เบญจศีล - เบญจธรรม หลักทิศ ๖ สมชีวิธรรม ฆราวาสธรรม สังคหวัตถุ อิทธิบาท พหูสูต ๔. ด้านพระสงฆ์ หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมด้านพระสงฆ์ ประกอบด้วย จตุปาริสุทธิศีล ๔ กถาวัตถุ ๑๐ สมณสัญญา ๓ และหลักสันโดษ ๓. เมื่อนำเอาหลักพุทธธรรมไปบูรณาการกับบทบาทและการทำหน้าที่ของบุคคลในแต่ละด้านทั้ง ๔ ด้านก็จะทำให้เกิดคุณสมบัติคือ เป็นผู้รู้จักอบรมตน มีความรับผิดชอบ มีความประพฤติดี และ มีคุณธรรมจริยธรรม ๔. องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยเกี่ยวกับ รูปแบบการป้องกันความเสื่อมของสังคมตามที่ปรากฏในมหาสุบินชาดก คือ PRCE MODEL P = Personnel Quality หมายถึง การประพฤติปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคม R = Responsibility Roles หมายถึง มีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของตนในฐานะที่อยู่ร่วมกับสังคม C = Cultivation Ethics หมายถึง การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การสร้างค่านิยมที่ดี E = Effort exertion Development หมายถึง หมั่นฝึกฝนอบรมตนเองตามหลักปธาน ๔
The objective of this dissertation were : 1) to study the prevention of social deterioration as depicted in the Mahasupina Jatak, 2) to study the Dhamma principles for enhancement of effective prevention of social deterioration depicted in the Mahasupina Jatak, 3) to integrate the prevention of social deterioration depicted in the Mahasupina Jatak with the Buddhist principles, and 4) to propose guidelines and knowledge regarding “The model of integration of Buddhadhamma in protection of social deterioration as depicted in the Mahasupina Jataka”. The data of this documentary qualitative research were collected from the primary sources, secondary sources and in-depth interviews with 24 experts. The data were analyzed, synthesized and classified to cope with the objectives of the study. The results of the study were found that : 1. The protection of social deterioration in Mahasupina Jataka had 16 items divided into 4 groups ; 1) Leader, 2) state servants or workers, 3) People, and 4) monks or Recluses. 2. The Buddhist principles to support the prevention of social deterioration as depicted in Mahasupina Jataka were as follows : 2.1 The Buddhist principles supporting the leaders are Brahmavihara Dhamma, Dasaraja Dhamma, Cakkavatti Dhamma, and Sangahavatthu Dhamma. 2.2 The Buddhist principles supporting the state servants are Sappurisa Dhamma, Adhipateya, Agati, Disa, Garava, item 7 of Mangala, Apahaniya Dhamma, and Dhammabhipala. 2.3 The Buddhist principles supporting the people are the Five Precepts and the Five Virtues, Disa, Samajivita, Gharavasa Dhamma, Sangaha vatthu Dhamma, Iddhipada, and Bahusutta. 2.4 The Buddhist principles supporting the monks are Catuparisuddhisila, Kathavatthu, Samanasanna, and Santosa. 3. The integration of Buddhadhamma with the role and duty performance of individuals in each group can result to the desirable qualifications ; self-improvement, responsibility, good behaviors, and establishment on morality and ethics. 4. The body of knowledge obtained from the study can be concluded in PRCE Model. P = Personnel Quality, R = Responsibility Roles, C = Cultivation Ethics, and E = Effort Development.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด)พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด)พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 2) พัฒนารูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 3) ประเมินและรับรองรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาคเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน(Mixed Methoods Research) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 จำนวน 368 คน เครื่องมือวิจัยใช้ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน และแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค จากแนวคิดทฤษฎีและการสัมภาษณ์ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 9 องค์ประกอบ 51 ตัวแปร มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องโดยเรียงลำดับ 9 องค์ประกอบหลักได้แก่ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 2) ผลการประเมินรูปแบบผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 ที่พัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า ไค-สแควร์ (X)2 หรือ (P≤ 0.05) เท่ากับ 0.562 ค่า GFI = 0.93, และค่า RMSEA = 0.034 ได้องค์ประกอบหลัก 9 องค์ประกอบ จำแนกได้ดังนี้ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 3) ผลการประเมินและรับรองผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 23 คน พบว่า ด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (4.68 – 4.77) และผ่านเกณฑ์ในการรับรองตามที่กำหนด และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) มีความเห็นสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 2) พัฒนารูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 3) ประเมินและรับรองรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาคเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน(Mixed Methoods Research) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 จำนวน 368 คน เครื่องมือวิจัยใช้ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน และแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค จากแนวคิดทฤษฎีและการสัมภาษณ์ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 9 องค์ประกอบ 51 ตัวแปร มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องโดยเรียงลำดับ 9 องค์ประกอบหลักได้แก่ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 2) ผลการประเมินรูปแบบผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 ที่พัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า ไค-สแควร์ (X)2 หรือ (P≤ 0.05) เท่ากับ 0.562 ค่า GFI = 0.93, และค่า RMSEA = 0.034 ได้องค์ประกอบหลัก 9 องค์ประกอบ จำแนกได้ดังนี้ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 3) ผลการประเมินและรับรองผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 23 คน พบว่า ด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (4.68 – 4.77) และผ่านเกณฑ์ในการรับรองตามที่กำหนด และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) มีความเห็นสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน
This dissertation has the following objective; 1. to study the composition of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration, 2. to develop the model of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration, and 3. to evaluate and certify the charismatic leadership model of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration. The samples of this mixed method research were 368 personnel in schools under the Secondary Educational Service Area 29. The research tools were semi-stuctured interviews and questionnaires. The data were analyzed by percentage, frequency, standard deviation, statistics software packages and composition analysis. The research results were found that: 1. The charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration consists of 9 sketch components and 51 variables. The nine components are; 1) visionary, 2) decisive, 3) self-confidence, 4) performance oriented, 5) inspiration, 6) intellectual stimulating, 7) fair, 8) integrity, and 9) humane. 2. The development model of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration was relevant to the empirical data with Chi-square (X)2 or (P≤ 0.05) = 0.562, GFI = 0.93, and RMSEA = 0.034. That resulted to 9 main components; 1) visionary, 2) decisive, 3) self-confidence, 4) performance oriented, 5) inspiration, 6) intellectual stimulating, 7) fair, 8) integrity, and 9) humane. 3. The model of development of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration was evaluated and certified by 23 experts in Accuracy, Propriety, Feasibility, and Utility at the highest level overall (4.68-4.77). The evaluation result was above the certified criteria and the result of focus group discussions was also in the same direction.
หนังสือ

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อทดสอบความกลมกลืนของโมเดลโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และตรวจสอบยืนยันความเหมาะสมความเป็นไปได้ความถูกต้องและการนำไปใช้ประโยชน์ของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร ประชากรกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการปีการศึกษา 2561 จำนวน 438 คนเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามระดับการปฎิบัติ เก็บรวมรวมข้อมูลในปี 2561 และตรวจสอบยืนยันความเหมาะสมและความเป็นไปได้ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 17 คน วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์องค์ประกอบ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1.ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 12 ตัวบ่งชี้ และ 55 พฤติกรรมตัวบ่งชี้ จำแนกได้ดังนี้ องค์ประกอบ วิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยี มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การสร้างวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยีมี 6 พฤติกรรมบ่งชี้ 2) การเผยแพร่วิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยี มี 5พฤติกรรมบ่งชี้ 3) การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยี มี 6 พฤติกรรมบ่งชี้ องค์ประกอบการใช้เทคโนโลยีในการบริหารงาน มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ใช้เทคโนโลยีเป็นกิจวัตรประวัติ มี 2 พฤติกรรมบ่งชี้ 2) มีการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนางาน มี 7 พฤติกรรมบ่งชี้ 3) มีการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพ มี 3 พฤติกรรมบ่งชี้องค์ประกอบการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) มีการส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มี 3 พฤติกรรมบ่งชี้ 2) มีการส่งเสริมการสอนออนไลน์ มี 3 พฤติกรรมบ่งชี้ 3) มีการส่งเสริมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ มี 6 พฤติกรรมบ่งชี้และองค์ประกอบการบูรณาการเทคโนโลยี มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1)มีความเชื่อในเทคโนโลยี มี 3 พฤติกรรมบ่งชี้ 2) มีความพร้อมด้านเทคโนโลยี มี 4 พฤติกรรมบ่งชี้3) มีความสามารถทางคอมพิวเตอร์ มี 7 พฤติกรรมบ่งชี้และทุกองค์ประกอบมีค่าเฉลี่ยและค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเพื่อคัดสรรไว้ในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือตํ่ากว่า 20% จำนวน 55 พฤติกรรมตัวบ่งชี้ 2. โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมากพิจารณาจาก ค่าไค-สแควร์ (c2) เท่ากับ 37.541 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 32 ค่านัยสำคัญทางสถิติ (P-value) เท่ากับ 0.230 และค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.986 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.967 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ0.20 องค์ประกอบมีค่านํ้าหนักองค์ประกอบสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกองค์ประกอบ องค์ประกอบย่อยและตัวบ่งชี้มีค่านํ้าหนักองค์ประกอบสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกองค์ประกอบและทุกตัวบ่งชี้ 3.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อทดสอบความกลมกลืนของโมเดลโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และตรวจสอบยืนยันความเหมาะสมความเป็นไปได้ความถูกต้องและการนำไปใช้ประโยชน์ของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร ประชากรกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการปีการศึกษา 2561 จำนวน 438 คนเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามระดับการปฎิบัติ เก็บรวมรวมข้อมูลในปี 2561 และตรวจสอบยืนยันความเหมาะสมและความเป็นไปได้ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 17 คน วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์องค์ประกอบ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1.ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 12 ตัวบ่งชี้ และ 55 พฤติกรรมตัวบ่งชี้ จำแนกได้ดังนี้ องค์ประกอบ วิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยี มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การสร้างวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยีมี 6 พฤติกรรมบ่งชี้ 2) การเผยแพร่วิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยี มี 5พฤติกรรมบ่งชี้ 3) การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยี มี 6 พฤติกรรมบ่งชี้ องค์ประกอบการใช้เทคโนโลยีในการบริหารงาน มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ใช้เทคโนโลยีเป็นกิจวัตรประวัติ มี 2 พฤติกรรมบ่งชี้ 2) มีการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนางาน มี 7 พฤติกรรมบ่งชี้ 3) มีการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพ มี 3 พฤติกรรมบ่งชี้องค์ประกอบการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) มีการส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มี 3 พฤติกรรมบ่งชี้ 2) มีการส่งเสริมการสอนออนไลน์ มี 3 พฤติกรรมบ่งชี้ 3) มีการส่งเสริมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ มี 6 พฤติกรรมบ่งชี้และองค์ประกอบการบูรณาการเทคโนโลยี มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1)มีความเชื่อในเทคโนโลยี มี 3 พฤติกรรมบ่งชี้ 2) มีความพร้อมด้านเทคโนโลยี มี 4 พฤติกรรมบ่งชี้3) มีความสามารถทางคอมพิวเตอร์ มี 7 พฤติกรรมบ่งชี้และทุกองค์ประกอบมีค่าเฉลี่ยและค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเพื่อคัดสรรไว้ในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือตํ่ากว่า 20% จำนวน 55 พฤติกรรมตัวบ่งชี้ 2. โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมากพิจารณาจาก ค่าไค-สแควร์ (c2) เท่ากับ 37.541 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 32 ค่านัยสำคัญทางสถิติ (P-value) เท่ากับ 0.230 และค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.986 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.967 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ0.20 องค์ประกอบมีค่านํ้าหนักองค์ประกอบสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกองค์ประกอบ องค์ประกอบย่อยและตัวบ่งชี้มีค่านํ้าหนักองค์ประกอบสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกองค์ประกอบและทุกตัวบ่งชี้ 3.
ตรวจสอบยืนยันความเหมาะสมความเป็นไปได้ความถูกต้องและการนำไปใช้ประโยชน์ของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยผู้ทรงคุณที่มีประสบการณ์ผู้นำทางด้านการบริหารและผู้นำทางเทคโนโลยีเพื่อประเมินความคิดเห็นต่อองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานครพบว่า มีความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความถูกต้องและการนำไปใช้ประโยชน์ ทุกตัวบ่งชี้มีอยู่ในระดับมากที่สุด
The purposes of this study were to study the technological leadership indicators of administrators in schools under Bangkok Metropolitan Administration, to test the harmoniousness of technology leadership structure model developed with empirical data of administrators in schools under Bangkok Metropolitan and to asses the appropriateness, accuracy, and feasibility of technological leadership indicators of administrators in schools under Bangkok Metropolitan Administration. The data were collected in 2018 by questionnaires from 438 school administrators. The indicators were checked and certified by 17 experts. The data were analyzed by mean, standard deviation, distribution coefficient, and factor analysis through computerized statistics program The research results found that: 1.leadership Indicators Of Technological Executives In Schools Under The Bangkok Metropolitan Administration consist of 4 main components, 12 indicators and 55 behavioral indicators that can be classified as follows: Main component in technological vision has 3 indicators; 1) 6 behavioral indicators in creating technological vision, 2) 5 behavioral indicators in dissemination of information technology, and 3) 6 behavioral indicators in compliance with technological vision. There are 3 indicators in the use of information technology in administration;1) 2 behavioral indicators in a history routine, 2) 7 behavioral indicators in work development, and 3) 3 behavioral indicators in professional advancement. There are 3 indicators in promoting the use of technological in teaching and learning; 1) 3 behavioral indicators in encouragement of computer-assisted instruction, 2) 3 behavioral indicators in online teaching promotion, and 3) 6 behavioral indicators in promoting teaching and learning through social network online. There are 3 2.main indicators in integration of information technology; 1) 3 behavioral indicators in the trust in technology, 2) 4 behavioral indicators in information technology readiness, and 3) 7 behavioral indicators in computer literate. All the main components have average and distribution coefficients for selection in the structural relationship model of technological leadership indicator of administrators in schools under Bangkok Metropolitan Administration are in accordance with the criteria set forth; an average value of or above 3.00 and a coefficient distribution is equal to or less than 20% of 55 behavioral indicators. 2. The model is consistent with empirical data, considering from the chi - square value (c 2) = 37.541, Free degrees (df) = 32, Statistical significance (P-value) = 0.230, the consistency index (GFI) = 0.986, a revised consistency index (AGFI) = 0.967, and parameter estimation error (RMSEA) = 0.20. The main component has a component weight greater than the threshold 0.50 in all components. The Sub-elements and the indicators have higher weight than 0.30. in every element and every indicator. 3. Assessment results of the appropriateness, possibility, accuracy and feasibility of technological leadership indicators of administrators in schools under Bangkok Metropolitan Administration were at a highest level.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคืออาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1,740 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 617 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ มีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 83 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.71-1.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 1.00-1.34 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.59-1.42 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคืออาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1,740 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 617 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ มีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 83 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.71-1.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 1.00-1.34 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.59-1.42 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 1,740 teachers in Boromarajonani college of nursing under Boromarajchanok Institute. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 617 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses : 1) The 83 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20%. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), root mean square error of approximation (RMSEA), goodness-of-fit index (GFI) adjusted goodness-of-fit index (AGFI), comparative fit index (CFI), and normed fit index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.71 to 1.00, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 1.00 to 1.34 and indicators had factor loading ranged from 0.59 to 1.42, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 27,718 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 610 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 60 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.84-1.70 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.31-1.95 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-8.26 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 27,718 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 610 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 60 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.84-1.70 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.31-1.95 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-8.26 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the Fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 27,718 primary school administrators under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 610 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses : 1) The 60 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), Goodness-of-Fit Index (GFI) Adjusted Goodness-of-Fit Index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and Normed Fit Index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.84 to 1.70, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 0.31 to 1.95 and indicators had factor loading ranged from 0.30 to 8.26, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 3) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 4) ศึกษาขนาดอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูล เป็นผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 434 รูป/คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรวัดประเมินค่าระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.97 และ 0.98 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเป็นสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอ้างอิง โดยวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและโปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า 1.ระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.ระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง ได้แก่ P-value of , /df, GFI, AGFI, CFI, SRMR, RMSEA, CN และ LSR ผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนดทุกค่า 4.ปัจจัยเบญจธรรมมีค่าอิทธิพลรวมสูงสุดต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.93 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงต่ออิทธิบาท เท่ากับ 0.98 และมีค่าอิทธิพลทางอ้อมผ่านอิทธิบาทไปยังภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและมยปัญญา เท่ากับ 0.83 และ 0.94 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 รองลงมา คือ ปัจจัยอิทธิบาทมีค่าอิทธิพลรวมต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.85 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 3) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 4) ศึกษาขนาดอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูล เป็นผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 434 รูป/คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรวัดประเมินค่าระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.97 และ 0.98 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเป็นสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอ้างอิง โดยวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและโปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า 1.ระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.ระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง ได้แก่ P-value of , /df, GFI, AGFI, CFI, SRMR, RMSEA, CN และ LSR ผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนดทุกค่า 4.ปัจจัยเบญจธรรมมีค่าอิทธิพลรวมสูงสุดต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.93 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงต่ออิทธิบาท เท่ากับ 0.98 และมีค่าอิทธิพลทางอ้อมผ่านอิทธิบาทไปยังภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและมยปัญญา เท่ากับ 0.83 และ 0.94 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 รองลงมา คือ ปัจจัยอิทธิบาทมีค่าอิทธิพลรวมต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.85 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงต่อมยปัญญาและภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธเท่ากับ 0.96 และ 0.81 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนปัจจัยมยปัญญาไม่มีค่าอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ ทั้งนี้ ปัจจัยเชิงสาเหตุทั้งสามตัวร่วมกันอธิบายภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ ได้ร้อยละ 0.96
The objectives of this research were: 1) to study and compare the level of moral and ethical leadership based on Buddhism of administrators in Mahamakut Buddhist University, 2) to study and compare the level of behaviors in factors influencing moral and ethical leadership based on Buddhism of the administrators in Mahamakut Buddhist University, 3) to examine the consistence of the developed structural equation model of moral and ethical leadership based on Buddhism of administrators in Mahamakut Buddhist University and the empirical data, and 4) to study the size of influence of casual factors affecting moral and ethical leadership based on Buddhism of administrators in Mahamakut Buddhist University. This research was used by the quantitative research method. The 434 samples used in the study were obtained by simple random sampling. The instrument used to collect data was the questionnaire with the rating scale of leadership and causal factors having reliability coefficient at 0.97 and 0.98 respectively. The statistics used for data analysis were descriptive and inferential statistic analyzing by SPSS and LISREL Programs. The research results found that: 1. The mean of moral and ethical leadership based on Buddhism was in a high level. The comparison classified by the statuses of key informants showed the indifferent level of moral and ethical leadership based on Buddhism. However, the key informants with equal or under 35 and over 46 years old reflected that administrators showed the different levels of behaviors with statistical significance at 0.05. 2. The levels of behaviors in factors influencing the moral and ethical leadership based on Buddhism were as follows; Pañca-dhamma factor (five ennobling virtues) Iddhipāda factor (path of accomplishment) and Mayapaññā factor (wisdom that has a way to arise) found a mean value at a high level. The comparison classified by the statuses of key informants showed the indifference with statistical significance. However, the key informants with equal or under 35 and over 46 years old reflected that the administrators showed the different levels of behaviors in Pañca-dhamma factor, InIddhipāda factors and Mayapaññā factors with statistical significance at 0.05. 3. The developed Structural Equation Model of Moral and Ethical Leadership Based on Buddhism was congruent with empirical data as specified criteria of fit indices as follows: P-value of , /df, GFI, AGFI, CFI, SRMR, RMSEA, CN and LSR. 4. Pañca-dhamma factor showed the highest level of total influence on the moral and ethical leadership based on Buddhism at 0.93 with statistical significance at 0.01. The Pañca-dhamma factor showed the direct influence on Iddhipāda at 0.98, and showed indirect influence via Iddhipāda to the moral and ethical leadership based on Buddhism and Mayapaññā at 0.83 and 0.94 respectively with statistical significance at 0.01. The second order, Iddhipāda factor showed the level of total influence on moral and ethical leadership based on Buddhism at 0.85 with statistical significance at 0.01. The Iddhipāda factor showed the direct influence on Mayapaññā and moral and ethical leadership based on Buddhism at 0.96 and 0.81 respectively with statistical significance at 0.01. As for Mayapaññā factor showed no influence on the moral and ethical leadership based on Buddhism. All of 3 causal factors jointly explained the moral and ethical leadership based on Buddhism for 96 %.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของพระธรรมทูตในประเทศไทย ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่เสริมสร้างภาวะผู้นำของพระธรรมทูต ๓) เพื่อพัฒนาภาวะผู้นำของพระธรรมทูตด้วยหลักพุทธธรรม ๔) เพื่อนำเสนอรูปแบบและองค์ความรู้ใหม่ของการพัฒนาภาวะผู้นำของพระธรรมทูตในประเทศไทยด้วยหลักพุทธธรรม ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสาร โดยศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีการสัมภาษณ์พระภิกษุผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๐ รูป วิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาแล้วนำเสนอในรูปแบบการพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ๑) ภาวะผู้นำของพระธรรมทูตในประเทศไทยต้องเป็นไปตามหลักโอวาทปาฏิโมกข์ คือ พระธรรมทูตต้องมีภาวะผู้นำในการไม่ทำความชั่วทั้งปวง มีภาวะผู้นำในการทำความดี และ มีภาวะผู้นำในการทำใจของตนให้สะอาดบริสุทธิ์ ๒) หลักพุทธธรรมที่เสริมสร้างภาวะผู้นำของพระธรรมทูตได้แก่ สัปปุริสธรรม กัลยาณมิตตธรรม พรหมวิหารธรรม และคุณสมบัติของพระธรรมทูต ๘ ประการ คือ รู้จักฟัง พูดให้ผู้อื่นฟังได้ ใฝ่ศึกษา มีความจำดี เป็นผู้รู้แจ้งชัดเจน มีความสามารถอธิบายความให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ฉลาดในการเป็นผู้นำ และไม่ก่อการทะเลาะวิวาท ๓) พระธรรมทูตจะพัฒนาภาวะผู้นำของตนเพื่อความสำเร็จในการทำหน้าที่ของพระธรรมทูตได้โดย (๑) บูรณาการหลักกัลยาณมิตรในการแสวงหาแหล่งปัญญาและแบบอย่างที่ดี (๒) บูรณาการหลักสัปปุริสธรรมในการสร้างวินัยเพื่อการพัฒนาชีวิต สร้างสรรค์งาน ฝึกฝนตนเอง ยึดหลักความมีเหตุผล ดำรงตนด้วยความไม่ประมาท และ (๓) บูรณาการหลักพรหมวิหารธรรมเพื่อให้เกิดความคิดที่แยบคายในการทำหน้าที่ ๔) การพัฒนาภาวะผู้นำของพระธรรมทูตในประเทศไทยด้วยหลักพุทธธรรมสามารถสรุปเป็น LDMBW Model ซึ่งมาจาก Leadership, Development, Morality, Behavior, and Wisdom.
ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของพระธรรมทูตในประเทศไทย ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่เสริมสร้างภาวะผู้นำของพระธรรมทูต ๓) เพื่อพัฒนาภาวะผู้นำของพระธรรมทูตด้วยหลักพุทธธรรม ๔) เพื่อนำเสนอรูปแบบและองค์ความรู้ใหม่ของการพัฒนาภาวะผู้นำของพระธรรมทูตในประเทศไทยด้วยหลักพุทธธรรม ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสาร โดยศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีการสัมภาษณ์พระภิกษุผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๐ รูป วิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาแล้วนำเสนอในรูปแบบการพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ๑) ภาวะผู้นำของพระธรรมทูตในประเทศไทยต้องเป็นไปตามหลักโอวาทปาฏิโมกข์ คือ พระธรรมทูตต้องมีภาวะผู้นำในการไม่ทำความชั่วทั้งปวง มีภาวะผู้นำในการทำความดี และ มีภาวะผู้นำในการทำใจของตนให้สะอาดบริสุทธิ์ ๒) หลักพุทธธรรมที่เสริมสร้างภาวะผู้นำของพระธรรมทูตได้แก่ สัปปุริสธรรม กัลยาณมิตตธรรม พรหมวิหารธรรม และคุณสมบัติของพระธรรมทูต ๘ ประการ คือ รู้จักฟัง พูดให้ผู้อื่นฟังได้ ใฝ่ศึกษา มีความจำดี เป็นผู้รู้แจ้งชัดเจน มีความสามารถอธิบายความให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ฉลาดในการเป็นผู้นำ และไม่ก่อการทะเลาะวิวาท ๓) พระธรรมทูตจะพัฒนาภาวะผู้นำของตนเพื่อความสำเร็จในการทำหน้าที่ของพระธรรมทูตได้โดย (๑) บูรณาการหลักกัลยาณมิตรในการแสวงหาแหล่งปัญญาและแบบอย่างที่ดี (๒) บูรณาการหลักสัปปุริสธรรมในการสร้างวินัยเพื่อการพัฒนาชีวิต สร้างสรรค์งาน ฝึกฝนตนเอง ยึดหลักความมีเหตุผล ดำรงตนด้วยความไม่ประมาท และ (๓) บูรณาการหลักพรหมวิหารธรรมเพื่อให้เกิดความคิดที่แยบคายในการทำหน้าที่ ๔) การพัฒนาภาวะผู้นำของพระธรรมทูตในประเทศไทยด้วยหลักพุทธธรรมสามารถสรุปเป็น LDMBW Model ซึ่งมาจาก Leadership, Development, Morality, Behavior, and Wisdom.
The objectives of this dissertation were: 1) to study leadership of Buddhist missionary monks in Thailand, 2) to study Buddhadhamma reinforcing the leadership of Buddhist missionary monks , 3) to develop the leadership of Buddhist missionary monks with Buddhadhamma, and 4) to propose a model and knowledge in leadership development of Buddhist missionary monks in Thailand with Buddhadhamma. The data of this documentary research were collected from the Tipitaka, Commentaries, related documents and in-depth interviews with 10 expert-monks. The data were analyzed, synthesized and presented in a descriptive method. The results of the study were found that: 1) The leadership of Buddhist missionary monks in Thailand is complied with Ovadapatimokkha or The Principal Teaching. That means the missionary monks have to dare not to do any evil, to do good, and to purify the mind. 2) The Buddhist principles for leadership development of Buddhist missionary monks in Thailand are Sappurisa Dhamma, Kalyanamitta Dhamma, Brahmavihara Dhamma, and 8 qualifications, i.e. to be a good listener, to be a good speaker, to be learned, to have good memory, to be comprehensive, to be able to clarify, to be wise in leadership, and not to create quarrels and problems. 3) The leadership development of Buddhist missionary monks in Thailand with the Buddhist principles are that; (1) to integrate Kalyanamitta Dhamma in searching for knowledge sources and good companions, (2) to integrate Sappurasa Dhamma in building discipline in one’s own life development, work creation and performance, self-training, living a life based on causality and carefulness, and (3) to integrate Brahmavihara Dhamma in duty performance with proper attention. 4) The leadership development of Buddhist missionary monks in Thailand with Buddhadhamma can be concluded in LDMBW Model.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ระบุองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้ ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง หรือค่าน้ำหนักองค์ประกอบตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการจำนวน 640 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามระดับการปฏิบัติ เก็บรวมรวมข้อมูลในปี 2557 วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย และการวิเคราะห์องค์ประกอบ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี 12 ตัวบ่งชี้ จำแนกตามมิติขององค์ประกอบในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างได้ 4 องค์ประกอบ ดังนี้คือ องค์ประกอบความร่วมมือ มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การแบ่งปันข้อมูล 2) ความรับผิดชอบ 3) การแก้ปัญหา องค์ประกอบความรู้ดิจิตอลมี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) เข้าใจดิจิตอล 2) การใช้ดิจิตอล 3) การรู้สารสนเทศ องค์ประกอบวิสัยทัศน์ดิจิตอล มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การสร้างวิสัยทัศน์ 2) การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ 3) การเผยแพร่วิสัยทัศน์ และองค์ประกอบการสื่อสาร มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ทักษะการสื่อสาร 2) ทัศนคติในการสื่อสาร 3) ชัดเจนในการสื่อสาร โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย 60 พฤติกรรมบ่งชี้ มีค่าเฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายที่เหมาะสมสำหรับการคัดสรรไว้ในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า 3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับ/น้อยกว่า 20 % 2. โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก โดยพิจารณาได้จากค่าไคสแควร์ ( ) เท่ากับ 7.863 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 6 ( /df = 1.31) ค่านัยสำคัญทางสถิติ (P-value) เท่ากับ 0.248 ซึ่งไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.998 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.973 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.022 3. องค์ประกอบมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (Factor Loading) ที่เป็นค่ามาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกองค์ประกอบ ส่วนตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบที่เป็นค่ามาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกตัวบ่งชี้ และทุกพฤติกรรมบ่งชี้
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ระบุองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้ ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง หรือค่าน้ำหนักองค์ประกอบตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการจำนวน 640 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามระดับการปฏิบัติ เก็บรวมรวมข้อมูลในปี 2557 วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย และการวิเคราะห์องค์ประกอบ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี 12 ตัวบ่งชี้ จำแนกตามมิติขององค์ประกอบในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างได้ 4 องค์ประกอบ ดังนี้คือ องค์ประกอบความร่วมมือ มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การแบ่งปันข้อมูล 2) ความรับผิดชอบ 3) การแก้ปัญหา องค์ประกอบความรู้ดิจิตอลมี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) เข้าใจดิจิตอล 2) การใช้ดิจิตอล 3) การรู้สารสนเทศ องค์ประกอบวิสัยทัศน์ดิจิตอล มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การสร้างวิสัยทัศน์ 2) การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ 3) การเผยแพร่วิสัยทัศน์ และองค์ประกอบการสื่อสาร มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ทักษะการสื่อสาร 2) ทัศนคติในการสื่อสาร 3) ชัดเจนในการสื่อสาร โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย 60 พฤติกรรมบ่งชี้ มีค่าเฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายที่เหมาะสมสำหรับการคัดสรรไว้ในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า 3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับ/น้อยกว่า 20 % 2. โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก โดยพิจารณาได้จากค่าไคสแควร์ ( ) เท่ากับ 7.863 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 6 ( /df = 1.31) ค่านัยสำคัญทางสถิติ (P-value) เท่ากับ 0.248 ซึ่งไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.998 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.973 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.022 3. องค์ประกอบมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (Factor Loading) ที่เป็นค่ามาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกองค์ประกอบ ส่วนตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบที่เป็นค่ามาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกตัวบ่งชี้ และทุกพฤติกรรมบ่งชี้
The objectives of this dissertation were as follows: 1) to develop the digital leadership indicators of school administrators under Office of the Basic Education Commission, 2) to test the balancing of the digital leadership indicators model developed from empirical data of school administrators under Office of the Basic Education Commission, and 3) to indicate factors, indicators and indicator behaviors with construct validity or composition weight according to the specified criteria. The data of this quantitative research were collected from 640 samples consisting of basic school administrators under Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education, in the academic year 2016. The data were analyzed by mean, standard deviation, distribution coefficient, and factor analysis through computerized statistical program. The results of the study were found that: 1. There were 12 digital leadership indicators of school administrators under Office of the Basic Education Commission classified by 4 factor dimensions in structural relation model: 3 indicators in Collaboration elements; 1) Sharing Information, 2) Responsibility, and 3) Problem-Solving, 3 indicators in Digital literacy elements; 1) Digital literacy, 2) Digital Usage, and 3) Information Literacy, 3 indicators in Digital Vision elements; 1) Vision Formulating 2) Vision Articulating, and 3) Vision Implementing, and 3 indicators in Communication elements; Elements of Communication has 3 indicators, 1) Communication Skills, 2) Communication Attitude, and 3) Clarity in Communication. The 60 behaviors indicators used in the research had appropriate average value and distribution coefficient allocated in every structural relationship model which according to the criteria set, the average was higher than 3.00 and the distribution coefficient was equal or lower than 20% 2.The measurement model of each component developed from the theory and research was positively consistent with the empirical data; = 7.863, df = 6 ( /df = 1.31), P-value = 0.248, GFI = 0.998, AGFI = 0.973, and RMSEA = 0.022 3.The factor loading of each indicator and balance component was higher than the specified criteria at 0.05. Indicators and indicator behaviors had standard weight higher than the specified criteria at 0.30.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    การศึกษาวิจัยเรื่อง การสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันการติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสาเหตุการเป็นผู้ติดยาเสพติดในเยาวชน 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่จะเป็นภูมิคุ้มกันการติดยาเสพติดในเยาวชน 3) เพื่อบูรณาการสร้างภูมิคุ้มกันการ ติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม และ 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการ บูรณาการการสร้างภูมิคุ้มกันการติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม” การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเอกสาร (Documentary Research Methodology) และเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaires) จากความสมัครใจของกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยพระสงฆ์ จำนวน 5 รูป เจ้าหน้าที่ทัณฑสถานบำบัดพิเศษกลาง จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ประจำสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี และเจ้าหน้าที่ประจำสถานพินิจเด็กและเยาวชน แห่งละจำนวน 20 คน เยาวชนที่กำลังบำบัดรักษาจากการติดยาเสพติด ณ สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนีและ ณ สถานพินิจเด็กและเยาวชน แห่งละจำนวน 40 คน และเยาวชนที่ไม่ติดยาเสพติดที่กำลังศึกษา ณ วิทยาลัยเทคนิค มีนบุรี จำนวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 155 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุการติดยาเสพติดของเยาวชน เกิดจากปัจจัยด้านครอบครัว บิดามารดาหรือผู้ปกครองให้ความรักความอบอุ่นแก่เยาวชนไม่เพียงพอ ไม่เป็นตัวอย่างที่ดีให้เยาวชน ไม่ได้ปลูกจิตสำนึกเยาวชนให้รังเกียจยาเสพติด ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ครอบครัวมีรายได้ไม่พอกับค่าใช้จ่าย ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่ดำรงอยู่ มีเพื่อนบ้านเป็นผู้ติดยาเสพติด ปัจจัยด้านจิตวิทยา การถูกดูหมิ่นเหยียดหยาม หรือต้องการให้เป็นที่ยอมรับ ปัจจัยการคบเพื่อน คบเพื่อนโดยไม่สังเกตว่าเขาเป็นคนเช่นไร ปัจจัยการติดการพนัน แพ้พนันแล้วไม่มีเงินจ่าย ปัจจัยการไม่รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย ปัจจัยการขาดเป้าหมายในการดำเนินชีวิต ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย ปัจจัยจาก ความรัก ทำให้ตัดสินใจผิดพลาด และปัจจัยการขาดศึกษาตามวัย ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย หลักพุทธธรรมที่นำมาใช้สร้างภูมิคุ้มกัน มี 3 หลักธรรม ประกอบด้วย 1) อริยสัจ 4 นำมาใช้เป็น “แนวคิด” ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีป้องกัน เพราะเป็นคำสอนที่มุ่งให้แก้ไขที่ต้นเหตุของปัญหา 2) สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ โดยนำข้ออัตตัญญุตา ความรู้จักตน, ข้อปุคคลัญญุตา ความรู้จักบุคคล และข้ออัตตัญญุตา ความรู้จักผล เรียกสั้น ๆ ว่า “รู้ตน รู้คน รู้ภัย” มาใช้เป็น “วัคซีน” 3) นำข้อธรรมทั้ง 3 นี้ไปใช้ร่วมกับมรรคมีองค์ 8 ในข้อสัมมากัมมันตะ ซึ่งอยู่ในหมวดศีล เพื่อให้เกิด “ความเชื่อมั่น” ว่า การปฏิบัติใด ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ตน รู้คน และรู้ภัย นั้น ต้องเป็นการปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเท่านั้น หลังจากนั้นนำข้อธรรมทั้ง 3 สู่การปฏิบัติทางโลก ด้วยการแปลงศีลเป็นวินัย เพราะศีลในทางธรรม คือ วินัยในทางโลก สุดท้ายปลูกฝังความวินัยให้เกิดขึ้นในเยาวชน ด้วยการให้ปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ที่มุ่งเน้นให้เป็นคนรู้ตน รู้คน และรู้ภัย อย่างคงเส้นคงวาจนเกิดเป็นความเคยชิน และด้วยความเคยชินในกิจกรรมที่สร้างสรรค์จะกลายเป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดในจิตใจของเยาวชน องค์ความรู้ใหม่ที่การวิจัยค้นพบ คือ AC for 3Ks Model ซึ่งเกิดจากการให้เยาวชนทำกิจกรรม (Activities: A) อย่างคงเส้นคงวา (Consistently: C) เพื่อ (for)
การศึกษาวิจัยเรื่อง การสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันการติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสาเหตุการเป็นผู้ติดยาเสพติดในเยาวชน 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่จะเป็นภูมิคุ้มกันการติดยาเสพติดในเยาวชน 3) เพื่อบูรณาการสร้างภูมิคุ้มกันการ ติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม และ 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการ บูรณาการการสร้างภูมิคุ้มกันการติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม” การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเอกสาร (Documentary Research Methodology) และเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaires) จากความสมัครใจของกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยพระสงฆ์ จำนวน 5 รูป เจ้าหน้าที่ทัณฑสถานบำบัดพิเศษกลาง จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ประจำสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี และเจ้าหน้าที่ประจำสถานพินิจเด็กและเยาวชน แห่งละจำนวน 20 คน เยาวชนที่กำลังบำบัดรักษาจากการติดยาเสพติด ณ สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนีและ ณ สถานพินิจเด็กและเยาวชน แห่งละจำนวน 40 คน และเยาวชนที่ไม่ติดยาเสพติดที่กำลังศึกษา ณ วิทยาลัยเทคนิค มีนบุรี จำนวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 155 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุการติดยาเสพติดของเยาวชน เกิดจากปัจจัยด้านครอบครัว บิดามารดาหรือผู้ปกครองให้ความรักความอบอุ่นแก่เยาวชนไม่เพียงพอ ไม่เป็นตัวอย่างที่ดีให้เยาวชน ไม่ได้ปลูกจิตสำนึกเยาวชนให้รังเกียจยาเสพติด ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ครอบครัวมีรายได้ไม่พอกับค่าใช้จ่าย ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่ดำรงอยู่ มีเพื่อนบ้านเป็นผู้ติดยาเสพติด ปัจจัยด้านจิตวิทยา การถูกดูหมิ่นเหยียดหยาม หรือต้องการให้เป็นที่ยอมรับ ปัจจัยการคบเพื่อน คบเพื่อนโดยไม่สังเกตว่าเขาเป็นคนเช่นไร ปัจจัยการติดการพนัน แพ้พนันแล้วไม่มีเงินจ่าย ปัจจัยการไม่รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย ปัจจัยการขาดเป้าหมายในการดำเนินชีวิต ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย ปัจจัยจาก ความรัก ทำให้ตัดสินใจผิดพลาด และปัจจัยการขาดศึกษาตามวัย ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย หลักพุทธธรรมที่นำมาใช้สร้างภูมิคุ้มกัน มี 3 หลักธรรม ประกอบด้วย 1) อริยสัจ 4 นำมาใช้เป็น “แนวคิด” ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีป้องกัน เพราะเป็นคำสอนที่มุ่งให้แก้ไขที่ต้นเหตุของปัญหา 2) สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ โดยนำข้ออัตตัญญุตา ความรู้จักตน, ข้อปุคคลัญญุตา ความรู้จักบุคคล และข้ออัตตัญญุตา ความรู้จักผล เรียกสั้น ๆ ว่า “รู้ตน รู้คน รู้ภัย” มาใช้เป็น “วัคซีน” 3) นำข้อธรรมทั้ง 3 นี้ไปใช้ร่วมกับมรรคมีองค์ 8 ในข้อสัมมากัมมันตะ ซึ่งอยู่ในหมวดศีล เพื่อให้เกิด “ความเชื่อมั่น” ว่า การปฏิบัติใด ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ตน รู้คน และรู้ภัย นั้น ต้องเป็นการปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเท่านั้น หลังจากนั้นนำข้อธรรมทั้ง 3 สู่การปฏิบัติทางโลก ด้วยการแปลงศีลเป็นวินัย เพราะศีลในทางธรรม คือ วินัยในทางโลก สุดท้ายปลูกฝังความวินัยให้เกิดขึ้นในเยาวชน ด้วยการให้ปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ที่มุ่งเน้นให้เป็นคนรู้ตน รู้คน และรู้ภัย อย่างคงเส้นคงวาจนเกิดเป็นความเคยชิน และด้วยความเคยชินในกิจกรรมที่สร้างสรรค์จะกลายเป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดในจิตใจของเยาวชน องค์ความรู้ใหม่ที่การวิจัยค้นพบ คือ AC for 3Ks Model ซึ่งเกิดจากการให้เยาวชนทำกิจกรรม (Activities: A) อย่างคงเส้นคงวา (Consistently: C) เพื่อ (for)
มุ่งหมายให้เขารู้ตนว่าเป็นคนมีคุณค่า (Knowing himself as a value: K), รู้ที่จะเลือกคบเพื่อน (Knowing how to make friend: K), และรู้ภัยของยาเสพติด (Knowing how to know drug hazard: K)
The objective of the research entitled “The Youth Immunization from Drug Addiction with Buddhadhamma” is the following: 1) To study the causes of drugs addicts in youth, 2) To study the principles of Buddhadhamma that will be used to study as immunity to drug addiction in youth, 3) To integrate the youth immunization from drug addiction with Buddhadhamma, and 4) To create new knowledge about “The model of integration of the youth immunization from drug addiction with Buddhadhamma". This research is a qualitative research using documentary research methodology and collecting data by questionnaires from the voluntary sample consisting of 5 monks, 10 Central Special Correctional Institution personnel, full-time staff from the Princess Mother National Institute on Drug Abuse Treatment (PMNIDAT), and full-time staff from the Department of Juvenile Observation and Protection for 20 staff in each agency. Youth who are being treated for drug addiction at the Princess Mother National Institute on Drug Abuse Treatment and the Department of Juvenile Observation and Protection for 40 youths in each agency, and non-addicted youth who are studying at Minburi Technical College Bangkok, totaling 20 people, for total of 155 monks/person. The results of the study found that: The causes of youth addiction are caused by family factors, not enough for parents or guardians to give love and warmth to youth, not a good example for young, not raising awareness of youth to hate drugs, economic factors, family’s income is not enough to cover expenses existing environment factors, addicted neighborhood, Psychological factors, demeaning or demanding to be accepted, dating factors, making friendships without noticing what they’re, gambling factors, lost a bet and had no money to pay. The factor not how to know to keep with free time to be useful. These factors make being easily influenced, lacking of goals in life, resulting in being easily influenced. Love factor makes a wrong decision, and the lack of education factor by age results in being easily influenced. The Buddhadhamma used to create immunity consist of 3 principles, namely: 1) Noble Truth 4: used as a "concept" for solving problems through prevention methods, aimed at resolving the root cause of the problem. 2) The Sappurisa Dharma 7: is the Dharma of the faithful by bringing the knowing oneself, knowing how to make friend, and knowing the result to be used as a "vaccine” 3) Using these 3 verses together with the Eightfold Path of the Right View which is in the precept category in order to create "confidence" that any practice for knowledge, self-awareness, and danger must be performed only in a good way. Bringing the principles of the Buddhadhamma principles to create immunity, there’s begin with the conversion of precepts into discipline. Because moral precepts are worldly discipline, and create discipline in the youth later, by having them perform activities aimed at reinforcing them as the following: 1) Knowing oneself means knowing that he is a valuable person, by making him "a smart person" for his own benefit, such as studying smart, playing sports, playing good music, etc. or creating him "good person" for the benefit of others, such as helping to do housework, as to dedicate themselves to the benefit of society, etc. 2) Knowing people, means knowing how to select the good person to be friends. 3) Knowing danger, means being aware of the drug danger by conducting activities with such aims consistently and until becoming familiar will impact on immunity in the minds of young people and will not interfere with drugs.
หนังสือ

    งานวิจัยเรื่องความหลากหลายทางเพศกับการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาทมีวัตถุประสงค์ 4 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีความหลากหลายทางเพศ 2) เพื่อศึกษาการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อวิเคราะห์ความหลากหลายทางเพศกับการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาทและ 4) เพื่อวิพากษ์ความหลากหลายทางเพศกับการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาทการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเน้นวิจัยแบบเอกสารโดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่าแนวคิดและทฤษฎีความหลากหลายทางเพศ เป็นชุดความรู้ที่อธิบายเรื่องเพศที่ครอบคลุมใน 3 ประเด็นคือ เพศสรีระ เพศสภาพ เพศวิถี ส่วนการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นหลักการและแนวปฏิบัติในการเข้าถึงความจริงขั้นสูงสุด และผลการวิเคราะห์พบว่า 1) เพศสรีระนี้ ไม่เป็นอุปสรรคต่อการการบรรลุธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท เพราะมนุษย์ทั้งเพศชายและเพศหญิงมีความเสมอภาคกันบนพื้นฐานแห่งความเป็นจริง โดยผ่านกระบวนการพัฒนาศักยภาพในตนจนเกิดความรู้เข้าใจในกฎไตรลักษณ์แล้วพัฒนากรรมจนเกิดปัญญาบรรลุธรรมได้ 2) เพศสภาพนี้ ไม่เป็นอุปสรรคต่อการบรรลุธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาทเพราะทั้งคฤหัสถ์เพศและสมณเพศล้วนมีศักยภาพในตนที่จะบรรลุธรรมขั้นสูงสุดได้เสมอเหมือนกัน 3) เพศวิถีนี้ เป็นข้อห้ามข้อพึงละเว้นข้อพึงระวัง และเป็นเงื่อนไขบางส่วนสำหรับคฤหัสถ์เพศและสมณเพศที่จะดำเนินวิถีแห่งตนเพื่อการบรรลุธรรมขั้นสูงสุดตามทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท ดังนั้นทุกลักษณะเพศดังกล่าวนี้มีศักยภาพในการบรรลุธรรมไม่แตกต่างกัน จึงทำให้เห็นถึงแนวคิดความหลากหลายทางเพศตามทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาทที่ก้าวข้ามกระบวนทัศน์ความหลากหลายทางเพศและเป็นการก้าวข้ามความหลากหลายทางเพศที่เป็นสมมุติสัจจะเพื่อนำไปสู่ปรมัตถสัจจะที่เป็นความจริงที่อยู่เหนือกาลเวลาและเหนือกระบวนทัศน์ทั้งปวง
งานวิจัยเรื่องความหลากหลายทางเพศกับการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาทมีวัตถุประสงค์ 4 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีความหลากหลายทางเพศ 2) เพื่อศึกษาการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อวิเคราะห์ความหลากหลายทางเพศกับการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาทและ 4) เพื่อวิพากษ์ความหลากหลายทางเพศกับการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาทการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเน้นวิจัยแบบเอกสารโดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่าแนวคิดและทฤษฎีความหลากหลายทางเพศ เป็นชุดความรู้ที่อธิบายเรื่องเพศที่ครอบคลุมใน 3 ประเด็นคือ เพศสรีระ เพศสภาพ เพศวิถี ส่วนการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นหลักการและแนวปฏิบัติในการเข้าถึงความจริงขั้นสูงสุด และผลการวิเคราะห์พบว่า 1) เพศสรีระนี้ ไม่เป็นอุปสรรคต่อการการบรรลุธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท เพราะมนุษย์ทั้งเพศชายและเพศหญิงมีความเสมอภาคกันบนพื้นฐานแห่งความเป็นจริง โดยผ่านกระบวนการพัฒนาศักยภาพในตนจนเกิดความรู้เข้าใจในกฎไตรลักษณ์แล้วพัฒนากรรมจนเกิดปัญญาบรรลุธรรมได้ 2) เพศสภาพนี้ ไม่เป็นอุปสรรคต่อการบรรลุธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาทเพราะทั้งคฤหัสถ์เพศและสมณเพศล้วนมีศักยภาพในตนที่จะบรรลุธรรมขั้นสูงสุดได้เสมอเหมือนกัน 3) เพศวิถีนี้ เป็นข้อห้ามข้อพึงละเว้นข้อพึงระวัง และเป็นเงื่อนไขบางส่วนสำหรับคฤหัสถ์เพศและสมณเพศที่จะดำเนินวิถีแห่งตนเพื่อการบรรลุธรรมขั้นสูงสุดตามทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท ดังนั้นทุกลักษณะเพศดังกล่าวนี้มีศักยภาพในการบรรลุธรรมไม่แตกต่างกัน จึงทำให้เห็นถึงแนวคิดความหลากหลายทางเพศตามทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาทที่ก้าวข้ามกระบวนทัศน์ความหลากหลายทางเพศและเป็นการก้าวข้ามความหลากหลายทางเพศที่เป็นสมมุติสัจจะเพื่อนำไปสู่ปรมัตถสัจจะที่เป็นความจริงที่อยู่เหนือกาลเวลาและเหนือกระบวนทัศน์ทั้งปวง
The researcher entitled “Sexual Diversity and the Realization in Theravãda Buddhist Philosophical Perspective” has the objectives as follows : 1) to study concepts and theories of sexual diversity, 2) to study the realization of absolute truth in Theravada Buddhist philosophy, 3) to analyze sexual diversity and the realization of absolute truth in Theravada Buddhist philosophy, and 4) to analyze sexual diversity and the realization of absolute truth in Theravada Buddhist philosophy.The data of this documentary qualitative research were collected from the concerned primary and secondary sources. The results of the study were found that the concepts and theories of sexual diversity are the set of knowledge that covers 3 aspects ; sex, gender, and sexuality. The realization in the absolute truth in Theravada Buddhist philosophy is the principle and practical guideline to attain the ultimate truth. The analytical results found that : 1) Sexuality did not obstruct the realization of absolute truth in Theravada Buddhist philosophy. Men and women were equal on the base of truth. When their potential was developed until they could understand the Three Common Characteristics, they could further develop themselves to obtain wisdom and to realize the truth in the end. 2) Sexuality was not the obstacle to the realization in Theravada Buddhist philosophy since both monks and lay-people had their own potential to attain the absolute truth equally. 3) Sexuality was only a condition, a restriction, a prohibition, and a precaution for lay-people and monks who adheres to the celibacy with the aim to achieve the realization of absolute truth. Thus, the gender diversity had the potential in realization on the absolute truth indifferently. The concept of gender diversity in Theravada Buddhist Philosophy was above the paradigm of gender diversity from conventional truth to absolute truth that was beyond time and all paradigms.
หนังสือ

    การวิจัยเรื่องการปรับพฤติกรรมทางปัญญาของเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดทางอาญาด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการกระทำความผิดทางอาญาของเด็กและเยาวชนและแนวคิดทฤษฎีการปรับพฤติกรรมทางปัญญา 2) เพื่อศึกษาพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ 3) เพื่อบูรณาการการปรับพฤติกรรมทางปัญญาและสภาพการกระทำความผิดทางอาญาของเด็กและเยาวชนด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เรื่อง “การปรับพฤติกรรมทางปัญญาของเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดทางอาญาด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัย พบว่า 1) สาเหตุการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนเกิดจากปัจจัยภายใน (Covert Behavior) หรือพฤติกรรมทางปัญญา เช่น ความเข้าใจ ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) 2) การปรับพฤติกรรมทางปัญญาด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ เป็นกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาที่ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิเป็นแกนนำ ทำให้เด็กและเยาวชนดำเนินชีวิตอย่างมีสติ 3) การบูรณาการปรับพฤติกรรมทางปัญญาด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยกระบวนการฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหามี 4 ขั้นตอนคือ 1) ขั้นกำหนดปัญหา 2) ขั้นกำหนดเป้าหมาย 3) ขั้นดำเนินตามเป้าหมาย 4) ขั้นกระทำซ้ำ ๆ เป็นการฝึกการคิดเชิงบวก 4) องค์ความรู้ที่ได้คือ การฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหาด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ ก่อให้เกิดพฤติกรรมภายนอกที่พึงประสงค์และเป็นการสร้างพุทธปัญญาภายใน (Intelligence) และสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนสามารถดำรงชีวิตอยู่ในปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม
การวิจัยเรื่องการปรับพฤติกรรมทางปัญญาของเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดทางอาญาด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการกระทำความผิดทางอาญาของเด็กและเยาวชนและแนวคิดทฤษฎีการปรับพฤติกรรมทางปัญญา 2) เพื่อศึกษาพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ 3) เพื่อบูรณาการการปรับพฤติกรรมทางปัญญาและสภาพการกระทำความผิดทางอาญาของเด็กและเยาวชนด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เรื่อง “การปรับพฤติกรรมทางปัญญาของเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดทางอาญาด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัย พบว่า 1) สาเหตุการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนเกิดจากปัจจัยภายใน (Covert Behavior) หรือพฤติกรรมทางปัญญา เช่น ความเข้าใจ ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) 2) การปรับพฤติกรรมทางปัญญาด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ เป็นกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาที่ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิเป็นแกนนำ ทำให้เด็กและเยาวชนดำเนินชีวิตอย่างมีสติ 3) การบูรณาการปรับพฤติกรรมทางปัญญาด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ ประกอบด้วยกระบวนการฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหามี 4 ขั้นตอนคือ 1) ขั้นกำหนดปัญหา 2) ขั้นกำหนดเป้าหมาย 3) ขั้นดำเนินตามเป้าหมาย 4) ขั้นกระทำซ้ำ ๆ เป็นการฝึกการคิดเชิงบวก 4) องค์ความรู้ที่ได้คือ การฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหาด้วยพุทธปัญญาแบบโยนิโสมนสิการ ก่อให้เกิดพฤติกรรมภายนอกที่พึงประสงค์และเป็นการสร้างพุทธปัญญาภายใน (Intelligence) และสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชนสามารถดำรงชีวิตอยู่ในปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม
The objectives of this research were as follows: 1)to study the conditions of criminal juvenile delinquency of children and adolescents; and theories of cognitive behavior modification, 2) to study Buddhist Intelligence in Yonisomanasikara, 3) to integrate behavior modification of children and adolescents in criminal juvenile delinquency with Buddhist intelligence in Yonisomanasikara, and 4)to present a body of knowledge on “Behavior Modification of Children and Adolescents in Criminal Juvenile Delinquency with Buddhist Intelligence in Yonisomanasikara.The research relied on qualitative method and in-depth interviews. The results of this research showed that: 1) The reasons why children and adolescents committed a crime were caused from internal factors or covert behaviors, such as understanding, belief, values, attitudes or intellectual behaviors which affected external behaviors or overt behavior. 2) Cognitive behavior modification with Buddhist Intelligence in Yonisomanasikara is a thinking process in problem solution consisting of the Right View as a key, which will help children and adolescents live with mindfulness. 3) The integration of cognitive behavior modification with Buddhist intelligence in Yonisomanasikara consists of 4 steps in thinking practice for problem solution; 1) Identify problems, 2) Identify goals or targets, 3) Implement the plan to achieve the goals or targets, and 4) Repetition. All these steps are to help create positive thinking. 4) The body of knowledge obtained from the study is to have thinking practice in problem solution through Buddhist intelligence in Yonisomanasikara. The problem solution through Buddhist intelligence in Yonisomanasikara leads to desirable external behavior and creates Buddhist internal intelligence. This is served as an everlasting immunity for children and adolescents to live a suitable life in the present situations.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2552
ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2552
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3-10 จำนวน 201 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 676 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 17 องค์ประกอบ 115 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า มี 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การดำเนินงาน 2) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วมการศึกษา และ 5) ควบคุมคุณภาพการศึกษา และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบหลักควบคุมคุณภาพการศึกษา มีค่ามากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการบริหารงานวิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการศึกษา ตามลำดับ และรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992 และ RMSER = .000 แสดงว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (X ̅ = 4.42) ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดคือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงถือว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3-10 จำนวน 201 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 676 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 17 องค์ประกอบ 115 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า มี 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การดำเนินงาน 2) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วมการศึกษา และ 5) ควบคุมคุณภาพการศึกษา และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบหลักควบคุมคุณภาพการศึกษา มีค่ามากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการบริหารงานวิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการศึกษา ตามลำดับ และรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992 และ RMSER = .000 แสดงว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (X ̅ = 4.42) ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดคือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงถือว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this research were as follows : 1) to study the components of the academic administration in secondary schools in the central region of the Office of Basic Education Commission, 2) to create an academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission, and 3) to evaluate and affirm the academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected by questionnaires with reliability at 0.98, structural interviews and checklist forms from 676 samples consisting of school directors, vice academic directors, heads of academic department and teachers in 201 secondary schools under Office of the Basic Education Commission area 3-10. The data were collected from September 2018 to February 2019 and then analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis, and confirmatory factor analysis. The results of this research found that : 1. The components of the academic administration of the secondary schools in the central region of the Office of Basic Education Commission consist of 17 components and 115 variables. 2. The academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission from exploratory factor analysis (EFA) has 5 main components; 1) Operation, 2) Academic administration process, 3) Learning activities, 4) Educational participation, and 5) Educational quality control. The results of confirmatory factor analysis (CFA) indicated that the highest value was on Educational quality control, followed by Learning activities, Operation, and Educational participation respectively. The model of academic administration for secondary school administrators has a chi-square value = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992, and RMSER - .000. This result indicates that the model is consistent with the empirical data. 3. The evaluation and confirmation of the model from experts in its propriety, accuracy, feasibility, and utility is at  = 4.42, higher than the set criteria at  = 3.51. That means the model is approved.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกขั้นพื้นฐาน 167 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 500 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม แบบประเมินและรับรอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 17 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการพัฒนารูปแบบของการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า GFI = 0.982, AGFI = 0.953, CFI = 0.997 และ RMSEA = 0.029 ได้องค์ประกอบหลัก 7 องค์ประกอบ จำแนกได้ดังนี้ 1) ด้านการนำองค์การ 2) ด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3) ด้านการให้ความสำคัญกับนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง 4) ด้านการวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 5) ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 6) ด้านการมุ่งเน้นการทำงาน 7) ด้านผลลัพธ์การดำเนินการ 3. ผลการประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 17 รูป/คน พบว่า ในด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.50 ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรอง
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกขั้นพื้นฐาน 167 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 500 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม แบบประเมินและรับรอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 17 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการพัฒนารูปแบบของการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า GFI = 0.982, AGFI = 0.953, CFI = 0.997 และ RMSEA = 0.029 ได้องค์ประกอบหลัก 7 องค์ประกอบ จำแนกได้ดังนี้ 1) ด้านการนำองค์การ 2) ด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3) ด้านการให้ความสำคัญกับนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง 4) ด้านการวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 5) ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 6) ด้านการมุ่งเน้นการทำงาน 7) ด้านผลลัพธ์การดำเนินการ 3. ผลการประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 17 รูป/คน พบว่า ในด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.50 ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรอง
The purposes of this study were: 1) to study the quality management components of schools under Office of the Basic Education Commission, 2) to develop the quality management model of schools under Office of the Basic Education Commission, and 3) to assess and to certify the model of school quality management under Office of the Basic Education Commission. The mixed research methods were used in the study. 500 samples consisting of school administrators, teachers, and committee of 167 schools obtained by were used in the study. The data were collected by questionnaires and analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and survey component analysis by statistical software. The results of the study were as follows : 1. A quality management model of schools under Office of the Basic Education Commission consists of 7 factors and 17 indicators. 2. The results of the development of components of quality management of schools under Office of the Basic Education Commission obtained the quality management model consistent with the empirical data at GFI = 0.982 AGFI = 0.953 CFI = 0.997 and RMSEA = 0.29. 7 main components as follows : 1) Organization leading 2) Strategic plan 3) Student and the concerned individual focus element 4) Measurement analysis and knowledge management 5) Personnel focus element 6) Work component focus and 7) Results of operations element. 3. The results of the evaluation and certification from 17 experts found that in the accuracy suitability feasibility and benefits of the model were at the highest average level the suitability was at 4.50 which passed the certification criteria.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

หนังสือ

    The objectives of this dissertation were; 1) to study the 21st century lifestyle, 2) to study the Buddhist Aesthetics, 3) to integrate the 21st century lifestyle with Buddhist aesthetics, and 4) to propose a new body of knowledge on “The 21st Century Lifestyle based on Buddhist Aesthetics”. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, related documents and in-depth interviews with 20 experts. The results of the study were presented in a descriptive method. The results of research were found that: The 21st century lifestyle is industrial lifestyle, capitalism, consumerism, materialism, and information technology. The modern scientific knowledge was implemented for the better quality of life, but the consumption was not in line with technological purpose because human lacked of realization of the true side and lacked of analytical thinking. There are 5 major problems nowadays; Moral Issue, Social Issue, Economic Issue, Environmental Issue, and Technological Issue. Buddhist Aesthetics is a Buddhist teaching concerning beauty. There are 2 dimensions of beauty; mundane beauty and virtuous beauty. Mundane beauty is the beauty which people normally perceive and concern with. This kind of beauty can be categorized as subjective since it is created under an influence of defilement. The virtuous beauty is the beauty resulting from practice Dhamma and it reflects on acceptable behaviors. This beauty is considered as objective since it is the beauty of Anattatã. The Buddhist teachings on Khanti and Soracca,Tilakkhan, Ditthadhammikattha, Kalayãṇamittatã, and Yonisomanasikãra are considered as the Buddhist Aesthetics because they make the beautiful life when putting into practice. The 5 major problems integrated with the 5 Buddhist teachings result to the beauty as follows; 1) Khanti and Soracca make the mind calm and clear, gain wisdom in cause and effect, and result to a graceful mind. 2) Tilakkhaṇa is to comprehend things as they really are, to gain detachment, hospitality, non-selfishness, and results to a graceful society, 3) Ditthadhammikattha is to work with carefulness, choose to accompany with friends and colleagues, and administrate the finance, which leads to a graceful economy, 4) Kalayãṇamittatã is to be friendly to environment by cherish its value, and conserving the nature, which results to balance and a graceful environment. 5) Yonisomanasikãra is to compromise technology and humanity in the right view, which leads to the true value with the knowledge of civilized people and to a graceful technology. The integration of the major problems with the Buddhist Aesthetics results to the GRACE Model. The model of a beautiful life occurred from virtuous beauty, good behavior, good mind, good wisdom, good thought, good speech, and good action.
The objectives of this dissertation were; 1) to study the 21st century lifestyle, 2) to study the Buddhist Aesthetics, 3) to integrate the 21st century lifestyle with Buddhist aesthetics, and 4) to propose a new body of knowledge on “The 21st Century Lifestyle based on Buddhist Aesthetics”. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, related documents and in-depth interviews with 20 experts. The results of the study were presented in a descriptive method. The results of research were found that: The 21st century lifestyle is industrial lifestyle, capitalism, consumerism, materialism, and information technology. The modern scientific knowledge was implemented for the better quality of life, but the consumption was not in line with technological purpose because human lacked of realization of the true side and lacked of analytical thinking. There are 5 major problems nowadays; Moral Issue, Social Issue, Economic Issue, Environmental Issue, and Technological Issue. Buddhist Aesthetics is a Buddhist teaching concerning beauty. There are 2 dimensions of beauty; mundane beauty and virtuous beauty. Mundane beauty is the beauty which people normally perceive and concern with. This kind of beauty can be categorized as subjective since it is created under an influence of defilement. The virtuous beauty is the beauty resulting from practice Dhamma and it reflects on acceptable behaviors. This beauty is considered as objective since it is the beauty of Anattatã. The Buddhist teachings on Khanti and Soracca,Tilakkhan, Ditthadhammikattha, Kalayãṇamittatã, and Yonisomanasikãra are considered as the Buddhist Aesthetics because they make the beautiful life when putting into practice. The 5 major problems integrated with the 5 Buddhist teachings result to the beauty as follows; 1) Khanti and Soracca make the mind calm and clear, gain wisdom in cause and effect, and result to a graceful mind. 2) Tilakkhaṇa is to comprehend things as they really are, to gain detachment, hospitality, non-selfishness, and results to a graceful society, 3) Ditthadhammikattha is to work with carefulness, choose to accompany with friends and colleagues, and administrate the finance, which leads to a graceful economy, 4) Kalayãṇamittatã is to be friendly to environment by cherish its value, and conserving the nature, which results to balance and a graceful environment. 5) Yonisomanasikãra is to compromise technology and humanity in the right view, which leads to the true value with the knowledge of civilized people and to a graceful technology. The integration of the major problems with the Buddhist Aesthetics results to the GRACE Model. The model of a beautiful life occurred from virtuous beauty, good behavior, good mind, good wisdom, good thought, good speech, and good action.
TOC:
  • การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ในการทำวิจัย ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธสุนทรียศาสตร์ ๓) เพื่อบูรณาการการดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยหลักพุทธสุนทรียศาสตร์ ๔) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เรื่อง “การดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยหลักพุทธสุนทรียศาสตร์” โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ทำการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสาร วิธีดำเนินการวิจัยเริ่มจากการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารทางวิชาการ วิเคราะห์หลักพุทธสุนทรียศาสตร์จากพระไตรปิฎก อรรถกถา และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน ๒๐ รูป/คน และนำเสนอข้อมูลเชิงพรรณาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นยุคอุตสาหกรรม วัตถุนิยม บริโภคนิยม ระบบดิจิตอล และเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาทำคุณภาพชีวิตให้ดี แต่การบริโภคไม่ตรงตามจุดประสงค์ที่แท้จริงของเทคโนโลยีย่อมให้โทษ ทำให้เกิดปัญหา ๕ ด้าน คือ จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี เพราะมนุษย์ขาดการพิจารณาตามความเป็นจริงและการคิดวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง พุทธสุนทรียศาสตร์ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าที่ว่าด้วยความงาม มีอยู่ ๒ มิติ คือ ความงามมิติทางโลกและความงามมิติทางธรรม ความงามมิติทางโลกเป็นความงามที่ชาวโลกสมมติขึ้น จัดเป็นจิตพิสัย เพราะเป็นความงามที่เกิดภายใต้อำนาจของกิเลส ส่วนความงามมิติทางธรรมเป็น ความงามจากการปฏิบัติธรรมแสดงออกทางพฤติกรรมทำให้งดงาม จัดเป็นวัตถุพิสัยเพราะเป็นความงามลักษณะอนัตตา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา คือ ขันติ โสรัจจะ ไตรลักษณ์ ทิฏฐธัมมิกัตถะ กัลยาณมิตร และโยนิโสมนสิการ หลักธรรมเหล่านี้เป็นพุทธสุนทรียศาสตร์ เมื่อปฏิบัติแล้วย่อมเกิดความงามเป็นผลเสมอ เรียกว่า ชีวิตงาม นำหลักธรรมทั้ง ๕ มาบูรณาการกับปัญหา ๕ ด้าน ทำให้เกิดความงาม คือ ๑) ขันติ โสรัจจะ อดทนอย่างมีสติทำให้จิตใจสงบนิ่ง ไม่ขุ่นมัว เกิดปัญญาเห็นเหตุปัจจัยและโสรัจจะเกิดตามเกื้อกูลทำให้จิตใจงาม ๒) ไตรลักษณ์ การเข้าถึงองค์ความรู้ เห็นตามความเป็นจริงว่าทุกสิ่งมีการเปลี่ยนแปลง คลายความยึดมั่น เกิดเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ไม่เห็นแก่ตัวทำให้สังคมงาม ๓) ทิฏฐธัมมิกัตถะ กิจกรรมในชีวิต อยู่ที่การทำงานมากที่สุดจึงต้องสร้างคุณธรรมควบคู่กับงาน ไม่ประมาท ฉลาดในการคบเพื่อน การบริหารเงินถูกต้อง มีการเงินมั่นคงทำให้เศรษฐกิจงาม ๔) กัลยาณมิตร การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยการเห็นคุณค่าและช่วยกันอนุรักษ์ เกิดดุลยภาพต่อกัน ทำให้สิ่งแวดล้อมงาม และ ๕) โยนิโสมนสิการ หล่อหลอมเทคโนโลยีกับมนุษย์ด้วยการคิดถูก รู้คุณค่าแท้เป็นความรู้แห่งอารยชน ทำให้เทคโนโลยีงาม จากผลของความงามทั้ง ๕ ทำให้เกิด GRACE MODEL โมเดลแห่งความงดงามแห่งความดี เกิดพฤติกรรม จิตใจ และปัญญางดงาม ด้วยการคิด พูด ทำ ทุกการกระทำเป็นไปอย่างดี จริง และมีประโยชน์ คือ การดำเนินชีวิตที่งดงาม
หนังสือ

    The purposes of this research were as follows: (1) to study social conflict resolution, (2) to study the principle of moderation in Buddhism, (3) to integrate social conflict resolution with the principle of moderation in Buddhism, and (4) to propose the guideline and body of knowledge on the model of social conflict resolution integrated with the principle of moderation. This research is a documentary qualitative research. The main data were based on the primary and secondary sources from the original Buddhist Texts (Tipitaka), and all the data were classified into system and presented in descriptive method. In-depth interview with 10 experts was also applied in this research. The results of this research were found that: 1. In moderation (mattaññutā), conflict comes from economic, politic and ideology aimed at ridding greed (Lobha), hatred (Dosa) and delusion (Moha). Regarding the concept of social conflict and resolution in moderation (mattaññutā), the kusala-kammapatha emphasizes internal and external conflict resolution with reference to all kinds of actions by positive side through bodily (kāya), verbal, (vācā), and mental (mano) actions into the person, family, society and government. 2. The focal point of the moderation principle (mattaññutā) towards social conflict resolution considered through the fundamental level of principle, the ethics of middle level and the ethics of the higher level of principle which are synthesized as the theory of conflict resolution in moderation (mattaññutā). It shows that whenever one practices in accordance with the rule of right actions under the morality (Sīla), developing a quality of mind (Samādhi) and the knowledge or wisdom (Paññā) with the right moderation (mattaññutā). With this regards, resolving social conflict with the principle of moderation (mattaññutā) is to abolish ignorance and know the conflict resolution method leading by internal and external process into the both formal and informal process. This is the distinctive study of Buddhist principle moderation for social conflict resolution. 3. The integration of social conflict resolution with the principle of moderation developed with the methods of research and mechanism tools and studied of social conflict resolution from the Buddhist perspective highly presented by train and tame one’s behavior under the rules of laws, regulations, morality and social norm. Integration of social conflict resolution with the co-conference, co-operation, co-responsibility, co-investigation, co-carefulness, co-earnestness, co-thinking and co-understanding, have a friendship, help, suggestion, adjustment, forewarning, neutrality, justice, creative thinking and knowledge-building as the approach strategy, including speaking and action in the right way, non-selfishness, protection the mistakes, heedfulness, good spirit, meditation, non-attachment, forgiveness and causality as the protect strategy. This is the method of social conflict resolution adopted the analysis approach through integration with the principle of moderation and to apply suitable way that fosters the social awareness. 4. The result of integration of the guideline and body of knowledge on the model of social conflict resolution with the principle of moderation is called, “CRSA”. The role model of moderation (mattaññutā) for social conflict resolution was developed by the integrated moral principles, dhamma, regulations and laws with holding moral consciousness perfectly as well as cultivation inner and outer peace emphasizing good conduct in deeds, speeches and thoughts. This is the body of knowledge on the model of social conflict resolution integrated with the principle of moderation (mattaññutā) of CRSA; C = Controlling self/personal, R = Responding family, S = Sharing society and A = Adjusting government.
The purposes of this research were as follows: (1) to study social conflict resolution, (2) to study the principle of moderation in Buddhism, (3) to integrate social conflict resolution with the principle of moderation in Buddhism, and (4) to propose the guideline and body of knowledge on the model of social conflict resolution integrated with the principle of moderation. This research is a documentary qualitative research. The main data were based on the primary and secondary sources from the original Buddhist Texts (Tipitaka), and all the data were classified into system and presented in descriptive method. In-depth interview with 10 experts was also applied in this research. The results of this research were found that: 1. In moderation (mattaññutā), conflict comes from economic, politic and ideology aimed at ridding greed (Lobha), hatred (Dosa) and delusion (Moha). Regarding the concept of social conflict and resolution in moderation (mattaññutā), the kusala-kammapatha emphasizes internal and external conflict resolution with reference to all kinds of actions by positive side through bodily (kāya), verbal, (vācā), and mental (mano) actions into the person, family, society and government. 2. The focal point of the moderation principle (mattaññutā) towards social conflict resolution considered through the fundamental level of principle, the ethics of middle level and the ethics of the higher level of principle which are synthesized as the theory of conflict resolution in moderation (mattaññutā). It shows that whenever one practices in accordance with the rule of right actions under the morality (Sīla), developing a quality of mind (Samādhi) and the knowledge or wisdom (Paññā) with the right moderation (mattaññutā). With this regards, resolving social conflict with the principle of moderation (mattaññutā) is to abolish ignorance and know the conflict resolution method leading by internal and external process into the both formal and informal process. This is the distinctive study of Buddhist principle moderation for social conflict resolution. 3. The integration of social conflict resolution with the principle of moderation developed with the methods of research and mechanism tools and studied of social conflict resolution from the Buddhist perspective highly presented by train and tame one’s behavior under the rules of laws, regulations, morality and social norm. Integration of social conflict resolution with the co-conference, co-operation, co-responsibility, co-investigation, co-carefulness, co-earnestness, co-thinking and co-understanding, have a friendship, help, suggestion, adjustment, forewarning, neutrality, justice, creative thinking and knowledge-building as the approach strategy, including speaking and action in the right way, non-selfishness, protection the mistakes, heedfulness, good spirit, meditation, non-attachment, forgiveness and causality as the protect strategy. This is the method of social conflict resolution adopted the analysis approach through integration with the principle of moderation and to apply suitable way that fosters the social awareness. 4. The result of integration of the guideline and body of knowledge on the model of social conflict resolution with the principle of moderation is called, “CRSA”. The role model of moderation (mattaññutā) for social conflict resolution was developed by the integrated moral principles, dhamma, regulations and laws with holding moral consciousness perfectly as well as cultivation inner and outer peace emphasizing good conduct in deeds, speeches and thoughts. This is the body of knowledge on the model of social conflict resolution integrated with the principle of moderation (mattaññutā) of CRSA; C = Controlling self/personal, R = Responding family, S = Sharing society and A = Adjusting government.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการดำเนินงานในขั้นตอนต่าง ๆ ของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่กำหนด เพื่อศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงตามสภาพที่คาดหวัง ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล กลุ่มบุคคลในโรงเรียนวัดศรีจันทร์ และองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นจากการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และเพื่อศึกษาผลสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนวัดศรีจันทร์ สู่ความเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ จากการพัฒนาความเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนวัดศรีจันทร์ จังหวัดขอนแก่น ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 2 วงจร 10 ขั้นตอน ผู้ร่วมวิจัยจำนวน 30 รูป/คน ระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึง เดือนเมษายน พ.ศ. 2559 ผลการวิจัยพบว่า : ปัญหา คือ ครูขาดทักษะการสอนศตวรรษที่ 21 นักเรียนขาดการเรียนรู้แบบการคิดวิเคราะห์ ได้รับการพัฒนาไม่ต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอนแบบเดิม ไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ขาดทักษะการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการมีส่วนร่วมที่หลากหลาย และโรงเรียนยังไม่เคยได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หลังจากดำเนินการ 3 โครงการ คือ โครงการพัฒนาทักษะครูเพื่อการจัดการเรียนรู้เพื่อการคิดวิเคราะห์ในศตวรรษที่ 21 โครงการพัฒนาความเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนวัดศรีจันทร์ และ โครงการพัฒนาผู้เรียนเพื่อพัฒนาความคิดวิเคราะห์ของนักเรียนโรงเรียนวัดศรีจันทร์ พบว่า ทุกโครงการประสบความสำเร็จตามเกณฑ์ที่กำหนด เกิดการเปลี่ยนแปลงตามที่คาดหวัง เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงทั้งในระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับโรงเรียน นอกจากนั้น ได้ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาความเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนวัดศรีจันทร์ จังหวัดขอนแก่น ที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในอนาคต คือ ครูต้องปรับวิธีสอนจากผู้บรรยายเป็นผู้อำนวยการ ใช้กระบวนการสร้างแรงบันดาลใจเพื่อการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ชักนำให้นักเรียนมีส่วนร่วมและแสดงออกถึงความสนใจที่เพิ่มมากขึ้น มีการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับครูและเพื่อน มีความสุขกับการใช้ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ในการเรียนรู้และการทำงานร่วมกัน และเกิดแรงจูงใจในการให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนรู้
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการดำเนินงานในขั้นตอนต่าง ๆ ของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่กำหนด เพื่อศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงตามสภาพที่คาดหวัง ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล กลุ่มบุคคลในโรงเรียนวัดศรีจันทร์ และองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นจากการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และเพื่อศึกษาผลสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนวัดศรีจันทร์ สู่ความเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ จากการพัฒนาความเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนวัดศรีจันทร์ จังหวัดขอนแก่น ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 2 วงจร 10 ขั้นตอน ผู้ร่วมวิจัยจำนวน 30 รูป/คน ระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึง เดือนเมษายน พ.ศ. 2559 ผลการวิจัยพบว่า : ปัญหา คือ ครูขาดทักษะการสอนศตวรรษที่ 21 นักเรียนขาดการเรียนรู้แบบการคิดวิเคราะห์ ได้รับการพัฒนาไม่ต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอนแบบเดิม ไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ขาดทักษะการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการมีส่วนร่วมที่หลากหลาย และโรงเรียนยังไม่เคยได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หลังจากดำเนินการ 3 โครงการ คือ โครงการพัฒนาทักษะครูเพื่อการจัดการเรียนรู้เพื่อการคิดวิเคราะห์ในศตวรรษที่ 21 โครงการพัฒนาความเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนวัดศรีจันทร์ และ โครงการพัฒนาผู้เรียนเพื่อพัฒนาความคิดวิเคราะห์ของนักเรียนโรงเรียนวัดศรีจันทร์ พบว่า ทุกโครงการประสบความสำเร็จตามเกณฑ์ที่กำหนด เกิดการเปลี่ยนแปลงตามที่คาดหวัง เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงทั้งในระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับโรงเรียน นอกจากนั้น ได้ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาความเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนวัดศรีจันทร์ จังหวัดขอนแก่น ที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในอนาคต คือ ครูต้องปรับวิธีสอนจากผู้บรรยายเป็นผู้อำนวยการ ใช้กระบวนการสร้างแรงบันดาลใจเพื่อการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ชักนำให้นักเรียนมีส่วนร่วมและแสดงออกถึงความสนใจที่เพิ่มมากขึ้น มีการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับครูและเพื่อน มีความสุขกับการใช้ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ในการเรียนรู้และการทำงานร่วมกัน และเกิดแรงจูงใจในการให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนรู้
The objectives of this research were to study the effect of specify steps of participatory action research, to study the expected changing, experienced learning in individual, group as well as new knowledge that were arising from participatory action research, and to study the success of Development of a Learning School of Wat Srichan School, Khon Kaen Province. Participatory Action Research was conducted under 2 circles including 10 steps with 30 participants between May 2015 to April 2016. The research findings found that : the problems were :-Teachers lacked teaching skills in the 21st century the development of teachers discontinued, the teachers taught by using traditional methods, the child-center was not used, the teachers lacked of skills for learning management process by using critical thinking process for variety learning, the school. The school had never been evaluated of assessment standards assessed by the Office of Educational Assessment and Assurance (Public Organization). 3 projects were conducted as such the development teachers’ skills for learning critical thinking in the 21st century project, the development of a learning school of Wat Srichan School project and the development of learners for develop learners' critical thinking of Wat Srichan School. The results found that all projects were successful under the criteria. The changes occurred expectedly, learning occurred through practicality at individual, group and school-wide level. There was usefulness new knowledge for learning management process for critical thinking being appropriate for learners in future. The teachers must change themselves from lecturers to be facilitators, creating inspiration for learning in various ways to the learners, more encouraging the learners to participate and express their interests, the students were self-learning, good relationship with teachers and friends, be happy using critical thinking skills process for learning and collaborating, and inspirated learners in participate learning.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) สร้างรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมวิธี (Mixed Methods Research) เป็นการผสมผสานกันระหว่างวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้ได้แก่ สถานศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียน จำนวน 222 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 888 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีจำนวน 3 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์ ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามระดับการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .902 3) แบบประเมินรูปแบบ ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2561 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร มีองค์ประกอบเกี่ยวข้อง 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การจัดโครงสร้างการบริหาร 2) การบริหารกลยุทธ์ 3) การบริหารบุคลากร 4) พฤติกรรมวิธีการบริหาร 5) ระบบและวิธีการปฏิบัติงาน 6) ค่านิยมร่วม และ 7) ทักษะการปฏิบัติงานของบุคลากร ด้านความเป็นเลิศของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร มี 4 ด้าน 1) ความเป็นเลิศด้านวิชาการ 2) ความเป็นเลิศด้านการบริหารงบประมาณ 3) ความเป็นเลิศด้านการบริหารงานบุคคล และ 4) ความเป็นเลิศด้านการบริหารทั่วไป และด้านองค์ประกอบเชิงระบบของรูปแบบ มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า 2) ปัจจัยกระบวนการ 3) และปัจจัยผลผลิต 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 11 องค์ประกอบย่อย คือ 1) องค์ประกอบหลักด้านปัจจัยนำเข้า มี 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1) การจัดโครงสร้างการบริหารโครงสร้างการบริหารงาน และ 1.2) ทักษะการปฏิบัติงานของบุคลากร 2) องค์ประกอบหลักด้านกระบวนการ มี 5 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1) การบริหารกลยุทธ์ 2.2) การบริหารบุคลากร 2.3) พฤติกรรมวิธีการบริหาร 2.4) ระบบและวิธีการปฏิบัติงาน และ 2.5) ค่านิยมร่วม และ 3)องค์ประกอบหลักด้านผลผลิต มี 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 3.1) วิชาการ 3.2) งบประมาณ 3.3) บริหารงานบุคคล และ 3.4) การบริหารทั่วไป 3. ผลการประเมินรูปแบบพบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.82) ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ( = 3.51ขึ้นไป) ส่วนการรับรองรูปแบบพบว่า ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นรับรอง ร้อยละ 98.53 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 70 ขึ้นไป) จึงสรุปได้ว่า ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) สร้างรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมวิธี (Mixed Methods Research) เป็นการผสมผสานกันระหว่างวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้ได้แก่ สถานศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียน จำนวน 222 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 888 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีจำนวน 3 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์ ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามระดับการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .902 3) แบบประเมินรูปแบบ ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2561 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร มีองค์ประกอบเกี่ยวข้อง 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การจัดโครงสร้างการบริหาร 2) การบริหารกลยุทธ์ 3) การบริหารบุคลากร 4) พฤติกรรมวิธีการบริหาร 5) ระบบและวิธีการปฏิบัติงาน 6) ค่านิยมร่วม และ 7) ทักษะการปฏิบัติงานของบุคลากร ด้านความเป็นเลิศของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร มี 4 ด้าน 1) ความเป็นเลิศด้านวิชาการ 2) ความเป็นเลิศด้านการบริหารงบประมาณ 3) ความเป็นเลิศด้านการบริหารงานบุคคล และ 4) ความเป็นเลิศด้านการบริหารทั่วไป และด้านองค์ประกอบเชิงระบบของรูปแบบ มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า 2) ปัจจัยกระบวนการ 3) และปัจจัยผลผลิต 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 11 องค์ประกอบย่อย คือ 1) องค์ประกอบหลักด้านปัจจัยนำเข้า มี 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1) การจัดโครงสร้างการบริหารโครงสร้างการบริหารงาน และ 1.2) ทักษะการปฏิบัติงานของบุคลากร 2) องค์ประกอบหลักด้านกระบวนการ มี 5 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1) การบริหารกลยุทธ์ 2.2) การบริหารบุคลากร 2.3) พฤติกรรมวิธีการบริหาร 2.4) ระบบและวิธีการปฏิบัติงาน และ 2.5) ค่านิยมร่วม และ 3)องค์ประกอบหลักด้านผลผลิต มี 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 3.1) วิชาการ 3.2) งบประมาณ 3.3) บริหารงานบุคคล และ 3.4) การบริหารทั่วไป 3. ผลการประเมินรูปแบบพบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.82) ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ( = 3.51ขึ้นไป) ส่วนการรับรองรูปแบบพบว่า ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นรับรอง ร้อยละ 98.53 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 70 ขึ้นไป) จึงสรุปได้ว่า ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล 2) พัฒนารูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ ผสมผสานระหว่างวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้พิพากษาที่เป็นผู้บริหารระดับอธิบดี/รองอธิบดี และผู้พิพากษาหัวหน้าคณะ/ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล จำนวน 442 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีจำนวน 3 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามระดับการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล 3) แบบประเมินและรับรองรูปแบบ ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล พบว่า การบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 7 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การนำองค์การ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1) การนำองค์การ และ 1.2) การกำกับดูแลองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม 2) การวางแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1) การจัดทำยุทธศาสตร์ และ 2.2) การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ 3) การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 3.1) สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3.2) การสร้างความผูกพัน 4) การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 4.1) การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของสถาบัน 4.2) การจัดการความรู้สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ 5) การมุ่งเน้นบุคลากร ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 5.1) ความผูกพันของบุคลากร และ 5.2 สภาพแวดล้อมด้านบุคลากร 6) การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 6.1) กระบวนทำงาน และ 6.2) ประสิทธิผลการปฏิบัติการ และ 7) ผลลัพธ์การบริหาร ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 7.1) ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลและการบรรลุพันธกิจ 7.2) ผลลัพธ์ด้านงบประมาณการเงินและการเติบโต 7.3) ผลลัพธ์ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.4) ผลลัพธ์ด้านการนำองค์การและการกำกับดูแล 7.5) ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (คุณภาพประสิทธิภาพต้นทุน) และ 7.6) ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 2.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล 2) พัฒนารูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ ผสมผสานระหว่างวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้พิพากษาที่เป็นผู้บริหารระดับอธิบดี/รองอธิบดี และผู้พิพากษาหัวหน้าคณะ/ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล จำนวน 442 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีจำนวน 3 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามระดับการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล 3) แบบประเมินและรับรองรูปแบบ ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล พบว่า การบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 7 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การนำองค์การ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1) การนำองค์การ และ 1.2) การกำกับดูแลองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม 2) การวางแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1) การจัดทำยุทธศาสตร์ และ 2.2) การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ 3) การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 3.1) สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3.2) การสร้างความผูกพัน 4) การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 4.1) การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของสถาบัน 4.2) การจัดการความรู้สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ 5) การมุ่งเน้นบุคลากร ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 5.1) ความผูกพันของบุคลากร และ 5.2 สภาพแวดล้อมด้านบุคลากร 6) การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 6.1) กระบวนทำงาน และ 6.2) ประสิทธิผลการปฏิบัติการ และ 7) ผลลัพธ์การบริหาร ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 7.1) ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลและการบรรลุพันธกิจ 7.2) ผลลัพธ์ด้านงบประมาณการเงินและการเติบโต 7.3) ผลลัพธ์ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.4) ผลลัพธ์ด้านการนำองค์การและการกำกับดูแล 7.5) ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (คุณภาพประสิทธิภาพต้นทุน) และ 7.6) ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 2.
ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล พบว่า รูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องเป็นรูปแบบเชิงระบบสามด้าน ได้แก่ 1) ด้านปัจจัยนำเข้า ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1.1) หลักไตรสิกขา 1.2) หลักพรหมวิหาร และ 1.3 หลักสูตรผู้พิพากษาผู้บริหารในศาลชั้นต้น 2) ด้านกระบวนการ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบหลัก โดยเรียงลำดับตามน้ำหนักความสำคัญ ได้แก่ 2.1) การมุ่งเน้นบุคลากร 2.2) การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ 2.3) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 2.4) การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วน 2.5) การนำองค์การ และ 2.6) การวางแผนยุทธศาสตร์ 3) ด้านผลลัพธ์การบริหาร มี 1 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ผลลัพธ์การบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม 3. ผลการประเมินและรับรองรูปแบบ พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (x ̅ = 4.64) ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
The purposes of this study were: 1) to study the administrative factors of the Judicial Training Institute for developing chief judges, 2) to develop the administrative model of the Judicial Training Institute for developing chief judges, and 3) to assess and validate the developed administrative model of the Judicial Training Institute for developing chief judges. The mixed research methods were used in the study. The 442 samples of this study included chief justices, deputy chief justices, presiding judges and chief judges. The research instruments used for data collection consisted of; 1) structured interview form, 2) questionnaire, and 3) assessment and validation form. The data were collected in 2019 and then analzyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, confirmatory factor analysis (CFA), and content analysis by Lisrel Program. The results were shown as follows: 1. The administrative elements for developing chief judges of the Judicial Training Institute have 7 fundamental related elements; 1) organizational leadership, composed of 2 subelements; 1.1) leadership and 1.2) organizational supervision and social responsibility, 2) strategic planning, composed of 2 subelements; 2.1) strategic thinking and 2.2) strategy implementation, 3) customer and stake-holder focus, composed of 2 subelements; 3.1) information of the customerand stake-holder and 3.2) customer engagement, 4) measurement, analysis and knowledge management, composed of 2 subelements; 4.1) measurement, analysis and improvement of organizational performance and 4.2) management of information knowledge and technology, 5) workforce focus, composed of 2 subelements; 5.1) workforce engagement and 5.2) workforce environment, 6) operation focus, composed of 2 subelements; 6.1) work processes and 6.2) operational effectiveness, and 7) results based management, composed of 6 subelements; 7.1) operation effectiveness, 7.2) budget and growth, 7.3) customer and stake-holder focus, 7.4) organizational leadership and supervision, 7.5) process effectiveness and supply chain management (quality, efficiency, and cost), and 7.6) workforce focus. 2. The development results of the administrative model of the Judicial Training Institution for developing chief judges showed that the developed model conformed with empirical data and was a systematic model comprised of; 1) input, containing 3 elements; 1.1) The Threefold Training, 1.2) Four Sublime States of Mind, 1.3) Executive Judges in Trial Court Course, 2) process, containing 6 elements listed in order of significance as follows: 2.1) workforce focus, 2.2) operating system focus, 2.3) measurement, analysis, and knowledge management, 2.4) customer and stake-holder focus, 2.5) organizational leadership, 2.6) strategic planning, and 3) output containing administrative output of the Judicial Training Institution. 3. The result of model assessment showed that the total average mean was at the highest level (x ̅ = 4.64), which passed the specified criterion. Thus, it can be concluded that the developed model was approved and certified by the experts.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Method Research) คือ ใช้วิธีวิจัยคุณภาพ (Qualitative Research) และเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน ได้แก่ สถานศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียน จำนวน 67 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 402 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 3 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์ ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามระดับการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ 3) แบบประเมินรูปแบบ ใช้เก็บข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบหลัก 11 องค์ประกอยย่อย ดังนี้ องค์ประกอบหลักที่ 1. ด้านการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1 งานวิชาการ 1.2 งบประมาณ 1.3 งานบุคคล และ 1.4 งานทั่วไป และองค์ประกอบหลักที่ 2. ด้านหลักกัลยาณธรรม ของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 7 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1 น่ารัก 2.2 น่าเคารพ 2.3 น่ายกย่อง 2.4 รู้จักพูดให้ได้ผล 2.5 อดทนต่อถ้อยคำ 2.6 อธิบายเรื่องล้ำลึกได้ และ 2.7 ไม่แนะนำเรื่องเหลวไหล 2. ผลการพัฒนาการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ โดยการนำหลักกัลยาณธรรม 7 เป็นองค์ประกอบในการพัฒนาการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ จากการวิเคราะห์องค์ประกอบที่เป็นปัจจัยสำคัญ ซึ่งมีความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลที่จะนำไปสู่พัฒนาการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการตรวจสอบความตรงของโมเดลที่พัฒนาขึ้น สรุปได้ว่า Chi-square=22.96, df=15, p=0.0849, GFI=0.99, ได้ร้อยละ 78.00 และการบริหารตามหลักกัลยาณธรรม ได้ร้อยละ 99.1 สามารถอธิบายความแปรปรวนในการบริหารได้ทุกองค์ประกอบ 1. ผลลัพธ์ด้านองค์ประกอบหลักด้านการบริหาร (𝜆=0.780) ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1 การบริหารบุคคล (𝜆=0.862) 1.2 การบริหารทั่วไป (𝜆=0.792) 1.3 การบริหารวิชาการ (𝜆=0.761) 1.4 การบริหารงบประมาณ (𝜆=0.705) 2. ผลลัพธ์องค์ประกอบหลักด้านหลักกัลยาณธรรม (𝜆=0.991) ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1 การอดทนต่อถ้อยคำ (𝜆=0.943) 2.2 รู้จักพูดให้เหตุผล (𝜆=0.942) 2.3 ทำตนให้น่ายกย่อง (𝜆=0.933) 2.4 สามารถอธิบายเรื่องล้ำลึก (𝜆=0.871) 2.5 ไม่แนะนำเรื่องเหลวไหล (𝜆=0.820) 2.6 มีความน่ารัก (𝜆=0.741) กับคนรอบตัว และ 2.7 เป็นที่เคารพ (𝜆=0.630) ของนักเรียน ครู และผู้ปกครอง 3.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Method Research) คือ ใช้วิธีวิจัยคุณภาพ (Qualitative Research) และเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน ได้แก่ สถานศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียน จำนวน 67 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 402 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 3 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์ ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามระดับการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ 3) แบบประเมินรูปแบบ ใช้เก็บข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบหลัก 11 องค์ประกอยย่อย ดังนี้ องค์ประกอบหลักที่ 1. ด้านการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1 งานวิชาการ 1.2 งบประมาณ 1.3 งานบุคคล และ 1.4 งานทั่วไป และองค์ประกอบหลักที่ 2. ด้านหลักกัลยาณธรรม ของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 7 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1 น่ารัก 2.2 น่าเคารพ 2.3 น่ายกย่อง 2.4 รู้จักพูดให้ได้ผล 2.5 อดทนต่อถ้อยคำ 2.6 อธิบายเรื่องล้ำลึกได้ และ 2.7 ไม่แนะนำเรื่องเหลวไหล 2. ผลการพัฒนาการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ โดยการนำหลักกัลยาณธรรม 7 เป็นองค์ประกอบในการพัฒนาการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ จากการวิเคราะห์องค์ประกอบที่เป็นปัจจัยสำคัญ ซึ่งมีความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลที่จะนำไปสู่พัฒนาการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการตรวจสอบความตรงของโมเดลที่พัฒนาขึ้น สรุปได้ว่า Chi-square=22.96, df=15, p=0.0849, GFI=0.99, ได้ร้อยละ 78.00 และการบริหารตามหลักกัลยาณธรรม ได้ร้อยละ 99.1 สามารถอธิบายความแปรปรวนในการบริหารได้ทุกองค์ประกอบ 1. ผลลัพธ์ด้านองค์ประกอบหลักด้านการบริหาร (𝜆=0.780) ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1 การบริหารบุคคล (𝜆=0.862) 1.2 การบริหารทั่วไป (𝜆=0.792) 1.3 การบริหารวิชาการ (𝜆=0.761) 1.4 การบริหารงบประมาณ (𝜆=0.705) 2. ผลลัพธ์องค์ประกอบหลักด้านหลักกัลยาณธรรม (𝜆=0.991) ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1 การอดทนต่อถ้อยคำ (𝜆=0.943) 2.2 รู้จักพูดให้เหตุผล (𝜆=0.942) 2.3 ทำตนให้น่ายกย่อง (𝜆=0.933) 2.4 สามารถอธิบายเรื่องล้ำลึก (𝜆=0.871) 2.5 ไม่แนะนำเรื่องเหลวไหล (𝜆=0.820) 2.6 มีความน่ารัก (𝜆=0.741) กับคนรอบตัว และ 2.7 เป็นที่เคารพ (𝜆=0.630) ของนักเรียน ครู และผู้ปกครอง 3.
ผลการประเมินรูปแบบการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (¯x =4.58) ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (¯x =3.51 ขึ้นไป) ส่วนการรับรองรูปแบบพบว่า ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นรับรองร้อยละ 90.80 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 70 ขึ้นไป) จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น
The objectives of this research were: 1) to study the components of educational administration of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration, 2) to develop an educational administration model of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration, and 3) to assess and certify the educational administration model of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected from 402 samples in 67 schools by; 1) structural interviews, 2) rating-scale questionnaire, and 3) assessment form. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, confirmatory analysis, and content analysis. The results of the study were found that: 1. The components of educational administration of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration consist of 2 main components and 11 sub-components. The first main component consists of 4 sub-components; 1) Academic Administration, 2) Budget Administration, 3) Personnel Administration, and 4) General Administration. The second main component consists of 7 sub-components; 1) Lovely, 2) Respectful, 3) Praiseful, 4) Reasonable, 5) Verbal Tolerance, 6) Able to explain complicated topics and 7) To avoid frivolous talk. 2. The results of the development of educational administration of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration by using 7 principles of Kalyana Dhamma as the components had harmony and relevance with empirical data. The model validity can be concluded that Chi-square=22.96, df=15, p=0.0849, GFI=0.99, 78.00% and the administration based on Kalyana Dhamma principles = 99.1%. That can be used to explain every component of administration variance; 1. Results of main components in administration (̧œ†=0.780) consist of 4 sub-components; 1.1 Personnel Administration (̧œ†=0.862) 1.2 General Administration (̧œ†=0.792) 1.3 Academic Administration (̧œ†=0.761) 1.4 Budget Administration (̧œ†=0.705) 2. Results of main components in Kalyana Dhamma principles (̧œ†=0.991) consist of 7 sub-components; 2.1 Verbal Tolerance (̧œ†=0.943), 2.2 Reasonable (̧œ†=0.942), 2.3 Praiseful (̧œ†=0.933), 2.4 Able to explain complicated topics (̧œ†=0.871), 2.5 To avoid frivolous talk (̧œ†=0.820), 2.6 Lovely for colleagues and companions (̧œ†=0.741), and 2.7 Respectful for students, teachers, and parents (̧œ†=0.630). 3. The assessment results of the educational administration model of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration were at the high level overall (℗¯x =4.58) above the set criteria at (℗¯x =3.51+). The model was certified by the experts at 90.80% above the set criteria at 70.00%
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จำนวน 199 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยโรงเรียน และครู จำนวน 732 รูป/คน เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบหลัก11 องค์ประกอบย่อย 89 ตัวแปร 2) รูปแบบที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าสถิติไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีความความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีค่าน้ำหนักขององค์ประกอบหลัก มีค่าระหว่าง 0.86-1.01 องค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.74-0.97 และตัวแปรมีค่าระหว่าง 0.60-0.84 3) ผลประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 รูป/คน พบว่า ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 (X ̅ = 4.41) อยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่กำหนด
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จำนวน 199 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยโรงเรียน และครู จำนวน 732 รูป/คน เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบหลัก11 องค์ประกอบย่อย 89 ตัวแปร 2) รูปแบบที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าสถิติไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีความความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีค่าน้ำหนักขององค์ประกอบหลัก มีค่าระหว่าง 0.86-1.01 องค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.74-0.97 และตัวแปรมีค่าระหว่าง 0.60-0.84 3) ผลประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 รูป/คน พบว่า ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 (X ̅ = 4.41) อยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่กำหนด
The objectives of this research are: 1) to study components of human resource management of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section, 2) to create a model of human resource of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section, and 3) to evaluate and to affirm the model of human resource of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section. The mixed research methodology is used in the study. The data were collected from 732 samples consisting of school directors, vice-directors, and teachers in 199 Phrapariyattidhamma Schools, General Education Section through 5-rating scale questionnaires with reliability at 0.97, semi-structured interviews, and evaluation forms. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and EFA. The results of this research revealed that : 1) The components of human resource management of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section, consist of 4 main components, 11 components and 89 variables. 2) The created model is compatible with empirical data at Chi-square Mean/Degree of Freedom (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), The Goodness of Fit Index (GFI), and The Adjusted Goodness of Fit Index (AGFI) in accordance with the decided criteria, main factor score between 0.86-1.01, minor factor score between 0.74-0.97, and the variable score between 0.60-0.84 3) The evaluation results from 17 experts in propriety, accuracy, feasibility, and utility were at 4.41 level overall that was higher.
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง 2) พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อให้สัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 5 คน โรงเรียนระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง จำนวน 96 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างาน 4 ฝ่าย และครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมจำนวน 486 คน และผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรองรูปแบบ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอ้างอิง ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) และการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytic inductive) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและ ผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยมีสภาพการบริหารจัดการศึกษาด้านเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนใช้แนวทางจากส่วนกลาง ส่วนใหญ่ไม่สอดคล้องกับเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ภาษา และวิถีชีวิตของเด็ก 2) รูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า มี 7 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) บุคลากรของสถานศึกษาและผู้ปกครอง 1.2) การบริหารงานทั่วไป 1.3) การบริหารงานงบประมาณ 1.4) การบริหารงานวิชาการ 1.5) พันธกิจและนโยบายของรัฐ 1.6) การบริหารงานบุคคล และ 1.7) สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมของสถานศึกษา 2) กระบวนการ มี 6 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2.2) การคาดหวังต่อนักเรียนสูง 2.3) การจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่เข้มแข็ง 2.4) การเสริมแรงและจูงใจ 2.5) การใช้หลักธรรมในการบริหารสถานศึกษา (พรหมวิหาร 4) และ 2.6) การสั่งการและควบคุม และ 3) ผลผลิต มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 3.2) ประสิทธิภาพของการบริหารสถานศึกษา และ 3.3) คุณลักษณะและสมรรถนะของผู้เรียน 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบเชิงระบบที่พัฒนาขึ้นมีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ผ่านเกณฑ์ในระดับมากที่สุด ซึ่งถือว่าเป็นอันรับรองรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง 2) พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อให้สัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 5 คน โรงเรียนระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง จำนวน 96 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างาน 4 ฝ่าย และครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมจำนวน 486 คน และผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรองรูปแบบ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอ้างอิง ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) และการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytic inductive) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและ ผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยมีสภาพการบริหารจัดการศึกษาด้านเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนใช้แนวทางจากส่วนกลาง ส่วนใหญ่ไม่สอดคล้องกับเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ภาษา และวิถีชีวิตของเด็ก 2) รูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า มี 7 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) บุคลากรของสถานศึกษาและผู้ปกครอง 1.2) การบริหารงานทั่วไป 1.3) การบริหารงานงบประมาณ 1.4) การบริหารงานวิชาการ 1.5) พันธกิจและนโยบายของรัฐ 1.6) การบริหารงานบุคคล และ 1.7) สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมของสถานศึกษา 2) กระบวนการ มี 6 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2.2) การคาดหวังต่อนักเรียนสูง 2.3) การจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่เข้มแข็ง 2.4) การเสริมแรงและจูงใจ 2.5) การใช้หลักธรรมในการบริหารสถานศึกษา (พรหมวิหาร 4) และ 2.6) การสั่งการและควบคุม และ 3) ผลผลิต มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 3.2) ประสิทธิภาพของการบริหารสถานศึกษา และ 3.3) คุณลักษณะและสมรรถนะของผู้เรียน 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบเชิงระบบที่พัฒนาขึ้นมีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ผ่านเกณฑ์ในระดับมากที่สุด ซึ่งถือว่าเป็นอันรับรองรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ
The objectives of this research were: 1) to study the state of school administration of administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students, 2) to develop an administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students, and 3) to evaluate and certify an administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students. The mixed research methods were used in the study. The quantitative data were collected by questionnaire from 486 samples in 96 schools consisting of school directors/deputy directors, chief of school subdivision and heads of the school department. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 5 experts in school administration. The model was evaluated and certified by 17 educational experts. The data were collected from August 2018 to November 2018 and then analyzed by percentage, mean and standard deviation, confirmatory factor analysis (CFA), content analysis and analytic inductive. The results of research were found that: 1) An administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students consists of 3 main components: inputs, process and output. The state of school administration in learning contents and learning activities is obtained from Ministry of Education which is irrelevant to race, belief, culture, language, and way of life of students. 2) An administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students consists of 3main components: 1) Input, consisting of 1.1) Educational Personnel and students’ parents, 1.2) General administration, 1.3) Budgeting administration, 1.4) Academic administration, 1.5) Mission and State Policy, 1.6) Human Resources administration, and 1.7) School Culture and Environment. 2) Process, consisting of 2.1) Multicultural educational administration, 2.2) High Expectation Teaching, 2.3) Qualified curriculums and Learning, 2.4) Reinforcement and Motivation, 2.5) Educational administration based upon 4 sublime states of mind, and 2.6) Command and Control. 3) Output, consisting of 3.1) Learning achievement, 3.2) Efficiency of School Administration, and 3.3) Desirable Characteristics and Performance of students. 3) The developed system model was evaluated and approved in accuracy, propriety, feasibility, and utility by the experts at the highest average standard level.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาในพระไตรปิฎก ๒) เพื่อศึกษาปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในสมัยปัจจุบัน ๓) เพื่อบูรณาการปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า และ ๔) เพื่อนำเสนอรูปแบบปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ แบบวิจัยเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก รวมทั้งเอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ได้ทำการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเจาะจง ซึ่งประกอบด้วยพระธรรมทูตต่างประเทศ ผู้เชี่ยวชาญด้านการศาสนา และเจ้าหน้าที่สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ จำนวน ๑๓ รูป/คน เมื่อได้ข้อมูลแล้วจึงนำมาจัดหมวดหมู่ วิเคราะห์ และสุดท้ายทำการสังเคราะห์เพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่ โดยใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ๑) ปรัชญาพื้นฐานการเผยแผ่พุทธศาสนาในพระไตรปิฎกไม่ว่ายุคใดสมัยใดก็คือ หลักการ ๓ ประการ อุดมการณ์ ๔ ประการ และวิธีการ ๖ ประการ ซึ่งมาจากคำสอนในเรื่องโอวาทปาฏิโมกข์ หากขาดหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการนี้แล้ว การเผยแผ่พุทธศาสนาจะก่อให้เกิดการปัญหา ไม่เป็นไปเพื่อการสิ้นทุกข์ หลักการ ๓ ได้แก่ (๑) การไม่ทำบาปทั้งปวง (๒) การทำกุศลให้ถึงพร้อม (๓) การทำจิตใจให้บริสุทธิ์, อุดมการณ์ ๔ ได้แก่ (๑) อดทน (๒) ไม่เบียดเบียน (๓) ความสงบ (๔) มุ่งนิพพาน, วิธีการ ๖ ได้แก่ (๑) ไม่ว่าร้าย (๒) ไม่ทำร้าย (๓) สำรวมในปาฏิโมกข์ (๔) รู้จักประมาณในการบริโภค (๕) อยู่ในที่สงบ (๖) ชำระจิตให้สงบ ๒) ปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในสมัยปัจจุบัน ได้ศึกษาถึงปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทใน ๕ ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศศรีลังกา จากการศึกษาพบว่า แต่ละประเทศอาศัยบุคคลและองค์กรในการเผยแผ่ บุคคลและองค์กรที่มีบทบาทในการเผยแผ่พุทธศาสนาตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบันนั้น ได้แก่ พระมหากษัตริย์ ราชวงศ์และราชสกุล ขุนนางหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ราชบัณฑิต พระสงฆ์หรือคณะสงฆ์หรือคณะธรรมทูต มหาวิทยาลัยสงฆ์ รัฐบาล วัดหรือศาสนสถาน ปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในงานเผยแผ่ด้วย ๓) บูรณาการปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ (๑) ส่วนองค์กร มีการกำหนดนโยบายทางสังคมและวัฒนธรรม ด้านการศึกษา ด้านพระธรรมทูตและการเผยแผ่ทางออนไลน์ ด้านการปกครองและกฎหมายให้อยู่ในหลักโอวาทปาฏิโมกข์ (๒) ส่วนบุคคล ควรดำเนินงานด้านการเผยแผ่ด้วยหลักโอวาทปาฏิโมกข์ ได้แก่ หลักการ ๓ อุดมการณ์ ๔ และ วิธีการ ๖ ๔) องค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการวิจัยนี้ชื่อว่า PGV Model เป็นรูปแบบปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้าที่มีความทันสมัยและรองรับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นรูปแบบภายใต้หลักคำสอนดั้งเดิมที่พระพุทธเจ้าทรงมุ่งเน้นสำหรับผู้เผยแผ่พุทธศาสนา ได้แก่ คำสอนเรื่องโอวาทปาฏิโมกข์ ประกอบด้วยหลักการ ๓ อุดมการณ์ ๔ และวิธีการ ๖ แม้ว่าจะเป็นคำสอนดั้งเดิมแต่ก็มีความเป็นสัมพัทธ์ที่สามารถปรับประยุกต์ และบูรณาการให้เข้ากับกระแสของยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปตามกฎอนิจจัง ทั้งยังมีความเป็นสากล และมุ่งต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามเป้าหมายในทศวรรษหน้า
ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาในพระไตรปิฎก ๒) เพื่อศึกษาปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในสมัยปัจจุบัน ๓) เพื่อบูรณาการปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า และ ๔) เพื่อนำเสนอรูปแบบปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ แบบวิจัยเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก รวมทั้งเอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ได้ทำการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเจาะจง ซึ่งประกอบด้วยพระธรรมทูตต่างประเทศ ผู้เชี่ยวชาญด้านการศาสนา และเจ้าหน้าที่สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ จำนวน ๑๓ รูป/คน เมื่อได้ข้อมูลแล้วจึงนำมาจัดหมวดหมู่ วิเคราะห์ และสุดท้ายทำการสังเคราะห์เพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่ โดยใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ๑) ปรัชญาพื้นฐานการเผยแผ่พุทธศาสนาในพระไตรปิฎกไม่ว่ายุคใดสมัยใดก็คือ หลักการ ๓ ประการ อุดมการณ์ ๔ ประการ และวิธีการ ๖ ประการ ซึ่งมาจากคำสอนในเรื่องโอวาทปาฏิโมกข์ หากขาดหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการนี้แล้ว การเผยแผ่พุทธศาสนาจะก่อให้เกิดการปัญหา ไม่เป็นไปเพื่อการสิ้นทุกข์ หลักการ ๓ ได้แก่ (๑) การไม่ทำบาปทั้งปวง (๒) การทำกุศลให้ถึงพร้อม (๓) การทำจิตใจให้บริสุทธิ์, อุดมการณ์ ๔ ได้แก่ (๑) อดทน (๒) ไม่เบียดเบียน (๓) ความสงบ (๔) มุ่งนิพพาน, วิธีการ ๖ ได้แก่ (๑) ไม่ว่าร้าย (๒) ไม่ทำร้าย (๓) สำรวมในปาฏิโมกข์ (๔) รู้จักประมาณในการบริโภค (๕) อยู่ในที่สงบ (๖) ชำระจิตให้สงบ ๒) ปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในสมัยปัจจุบัน ได้ศึกษาถึงปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทใน ๕ ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศศรีลังกา จากการศึกษาพบว่า แต่ละประเทศอาศัยบุคคลและองค์กรในการเผยแผ่ บุคคลและองค์กรที่มีบทบาทในการเผยแผ่พุทธศาสนาตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบันนั้น ได้แก่ พระมหากษัตริย์ ราชวงศ์และราชสกุล ขุนนางหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ราชบัณฑิต พระสงฆ์หรือคณะสงฆ์หรือคณะธรรมทูต มหาวิทยาลัยสงฆ์ รัฐบาล วัดหรือศาสนสถาน ปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในงานเผยแผ่ด้วย ๓) บูรณาการปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ (๑) ส่วนองค์กร มีการกำหนดนโยบายทางสังคมและวัฒนธรรม ด้านการศึกษา ด้านพระธรรมทูตและการเผยแผ่ทางออนไลน์ ด้านการปกครองและกฎหมายให้อยู่ในหลักโอวาทปาฏิโมกข์ (๒) ส่วนบุคคล ควรดำเนินงานด้านการเผยแผ่ด้วยหลักโอวาทปาฏิโมกข์ ได้แก่ หลักการ ๓ อุดมการณ์ ๔ และ วิธีการ ๖ ๔) องค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการวิจัยนี้ชื่อว่า PGV Model เป็นรูปแบบปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้าที่มีความทันสมัยและรองรับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นรูปแบบภายใต้หลักคำสอนดั้งเดิมที่พระพุทธเจ้าทรงมุ่งเน้นสำหรับผู้เผยแผ่พุทธศาสนา ได้แก่ คำสอนเรื่องโอวาทปาฏิโมกข์ ประกอบด้วยหลักการ ๓ อุดมการณ์ ๔ และวิธีการ ๖ แม้ว่าจะเป็นคำสอนดั้งเดิมแต่ก็มีความเป็นสัมพัทธ์ที่สามารถปรับประยุกต์ และบูรณาการให้เข้ากับกระแสของยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปตามกฎอนิจจัง ทั้งยังมีความเป็นสากล และมุ่งต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามเป้าหมายในทศวรรษหน้า
This dissertation has the following objectives;1) to study the propagation philosophy of Buddhism in the Tipitaka, 2) to study the propagation philosophy of Theravada Buddhism in modern times, 3) to integrate the propagation philosophy of Theravada Buddhism in the next decade, and 4) to present the model of Theravada Buddhist propagation philosophy in the next decade. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, documents, research works, and purposive in-depth interviews with 13 key-informants consisting of DhammadutaBhikkhus from foreign countries, Buddhism's experts, and officers of the National Office of Buddhism. The data were analyzed,categorized, synthesized, and presented in adescriptive method. The results of the research showed that; 1) The basic philosophy of Buddhist propagation in the Tipitaka is the 3 principles, the 4 ideologies and the 6 methods which are derived from the Principal Teaching. Without these principles, ideologies, and methods, Buddhist propagation will cause problems and not lead to the end of suffering. The 3 principles are: (1) Not to do any evils, (2) To do good, and (3) To purify the mind. The 4 ideologies are; (1) Patience, (2) Non-violence, (3) Peace, (4) Nibbana orientation, The 6 methods include; (1) not do evil in word, (2) not do evil in body, (3) restraint with regard to the monastic disciplinary code, (4) moderation in eating, (5) residing in a peaceful place, and (6) purifying the mind. 2) The propagation philosophy of Theravada Buddhism in modern timewas studied from the propagation philosophy of Theravada Buddhism in 5 countries; Thailand, Cambodia, Myanmar, Laos, and Sri Lanka. The study found that every country relied on individuals and organizations to propagate Buddhism.From the past to the present,monarchs, royal relatives, nobles, government officials, academics, monks, DhammadutaBhikkhus, Buddhist Universities, government, temples, and religious places had an important role in propagating Buddhism. Nowadays, digital technology is also used in Buddhist propagation. 3) Integrating Theravada Buddhist propagation philosophy in the next decade can be divided into 2 parts; (1) Organization, there should be social, cultural, educational, Dhammaduta monks, online propagation, administrative, and legal policies in line with Ovadapapatimokkha principles, and (2) Individual, the propagation should be based on the 3 principles, the 4 ideologies, and the 6 methods. 4) The new body of knowledge obtained from this research is called the PGV Model.It is a form of the propagation philosophy of Theravada Buddhism in the next decade, derived from the Principal Teaching which consists of 3 principles, 4 ideologies, and 6methods. Even it is the original teaching for Buddhist propagation, but it can be applied and integrated with the changing society because it is universal and life-quality oriented development.
หนังสือ

    การศึกษาวิจัยเรื่อง “กระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบัน” มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑)เพื่อศึกษาบริบทสังคมไทยในอดีตและการปกครองคณะสงฆ์ไทยในอดีต ๒) เพื่อศึกษาบริบทของสังคมไทยยุคปัจจุบันและการปกครองคณะสงฆ์ไทยยุคปัจจุบัน๓) เพื่อศึกษากระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ไทยในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบันและ ๔) เพื่อนำเสนอรูปแบบกระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ไทยในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบันดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้ได้ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพแบบสัมภาษณ์โดยศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิจากพระไตรปิฎกและอรรถกถา รวมทั้งเอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และได้สัมภาษณ์เชิงลึกนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญทางการปกครองคณะสงฆ์พระพุทธศาสนาและปรัชญาจำนวน ๑๔ รูป/คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาเพื่อที่จะหาข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบกระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ไทยในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบัน ผลการวิจัยพบว่า ๑. การเปลี่ยนแปลงบริบทสังคมในอดีตนั้นส่งผลต่อการปกครองคณะสงฆ์ในอดีตเพราะพระสงฆ์นั้นก็เป็นส่วนหนึ่งที่อยู่ในบริบทสังคม จึงจำเป็นจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงตามไปบริบทสังคมด้วย เป็นการอนุวัติตามด้วยการปรับตัวให้เข้ากับบริบทสังคมแต่ไม่ได้ละทิ้งหน้าที่หลักในการธำรงรักษาไว้ซึ่งพระธรรมวินัย ๒. บริบทของสังคมไทยในยุคปัจจุบันนี้มีการการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสังคมไทยจากเหตุปัจจัยทางด้านการเมือง ทางด้านเศรษฐกิจจากโครงสร้างทางสังคมในรูปแบบเดิมที่มีชนชั้นปกครอง ชนชั้นใต้การปกครอง แม้การบริหารประเทศและการเมืองการปกครองที่ถูกผูกขาดโดยกลุ่มเจ้านาย พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เท่านั้นก็ถูกสลายไปทำให้ชนชั้นกลางที่มีการศึกษาเข้ามามีบทบาททางการเมืองการปกครองมากขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นประชาธิปไตยทุกคนในสังคมไทยอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญที่เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศแม้คณะสงฆ์จะมีการปรับเปลี่ยนนอกจากปฏิบัติพระธรรมวินัยแล้วก็มีการตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ขึ้นมาบังคับใช้นับเป็นอนุวัติตามระบอบการปกครองในบริบทสังคมไทยปัจจุบัน ๓. กระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ไทยในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบันจะมีการบริหารจัดการโดยผ่านกิจการคณะสงฆ์ ๖ ด้านมีด้านการปกครอง, ด้านการศาสนศึกษา, ด้านการศึกษาสงเคราะห์, ด้านการเผยแผ่,ด้านการสาธารณูปการ และด้านการสาธารณสงเคราะห์อันเป็นไปตามการปกครองคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ไทย โดยมหาเถรสมาคม ผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองของคณะสงฆ์ไทยปัจจุบัน ๔. องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ“รูปแบบกระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ไทยในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบัน”ในครั้งนี้ได้แก่“SPEE Model”
การศึกษาวิจัยเรื่อง “กระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบัน” มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑)เพื่อศึกษาบริบทสังคมไทยในอดีตและการปกครองคณะสงฆ์ไทยในอดีต ๒) เพื่อศึกษาบริบทของสังคมไทยยุคปัจจุบันและการปกครองคณะสงฆ์ไทยยุคปัจจุบัน๓) เพื่อศึกษากระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ไทยในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบันและ ๔) เพื่อนำเสนอรูปแบบกระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ไทยในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบันดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้ได้ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพแบบสัมภาษณ์โดยศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิจากพระไตรปิฎกและอรรถกถา รวมทั้งเอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และได้สัมภาษณ์เชิงลึกนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญทางการปกครองคณะสงฆ์พระพุทธศาสนาและปรัชญาจำนวน ๑๔ รูป/คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาเพื่อที่จะหาข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบกระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ไทยในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบัน ผลการวิจัยพบว่า ๑. การเปลี่ยนแปลงบริบทสังคมในอดีตนั้นส่งผลต่อการปกครองคณะสงฆ์ในอดีตเพราะพระสงฆ์นั้นก็เป็นส่วนหนึ่งที่อยู่ในบริบทสังคม จึงจำเป็นจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงตามไปบริบทสังคมด้วย เป็นการอนุวัติตามด้วยการปรับตัวให้เข้ากับบริบทสังคมแต่ไม่ได้ละทิ้งหน้าที่หลักในการธำรงรักษาไว้ซึ่งพระธรรมวินัย ๒. บริบทของสังคมไทยในยุคปัจจุบันนี้มีการการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสังคมไทยจากเหตุปัจจัยทางด้านการเมือง ทางด้านเศรษฐกิจจากโครงสร้างทางสังคมในรูปแบบเดิมที่มีชนชั้นปกครอง ชนชั้นใต้การปกครอง แม้การบริหารประเทศและการเมืองการปกครองที่ถูกผูกขาดโดยกลุ่มเจ้านาย พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เท่านั้นก็ถูกสลายไปทำให้ชนชั้นกลางที่มีการศึกษาเข้ามามีบทบาททางการเมืองการปกครองมากขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นประชาธิปไตยทุกคนในสังคมไทยอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญที่เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศแม้คณะสงฆ์จะมีการปรับเปลี่ยนนอกจากปฏิบัติพระธรรมวินัยแล้วก็มีการตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ขึ้นมาบังคับใช้นับเป็นอนุวัติตามระบอบการปกครองในบริบทสังคมไทยปัจจุบัน ๓. กระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ไทยในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบันจะมีการบริหารจัดการโดยผ่านกิจการคณะสงฆ์ ๖ ด้านมีด้านการปกครอง, ด้านการศาสนศึกษา, ด้านการศึกษาสงเคราะห์, ด้านการเผยแผ่,ด้านการสาธารณูปการ และด้านการสาธารณสงเคราะห์อันเป็นไปตามการปกครองคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ไทย โดยมหาเถรสมาคม ผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองของคณะสงฆ์ไทยปัจจุบัน ๔. องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ“รูปแบบกระบวนทัศน์การปกครองคณะสงฆ์ไทยในบริบทสังคมไทยยุคปัจจุบัน”ในครั้งนี้ได้แก่“SPEE Model”
The objectives of this dissertation were as follows: 1) to study the context of the Thai society in the past and the Thai Sangha administration in the past, 2) to study the context of modern Thai society and the Thai Sangha administration, 3) to study the paradigm of the Thai Sangha administration in the context of modern Thai society, and 4) to present the model of the paradigm of the Thai Sangha administration in the context of modern Thai society. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, academic documents and in-depth interviews with 14 experts. The data were analyzed and synthesized in order to obtain the paradigm model of the Thai Sangha administration in the context of modern Thai society. The results of the study indicated as follows:- 1. Changes in social contexts in the past influenced the Sangha administration in the past because monkswere a part of the social context and they had to adjust themselves in accordance with the social context as well, but they still maintained their main duty in observing the Dhamma and Vinaya. 2. The context of modern Thai society had changes in social, political, and economical structures. Feudalism was declined and replaced by educated middle class and democracy. Thai people were under the constitution. The changes also had impacts to the Sangha administration. Other than to follow the principles of Dhamma and Vinaya, monks had to follow the Sangha Act. This practice was to follow the current Thai social context. 3. Paradigm of the Thai Sangha administration in the context of modern Thai society was through 6 Sangha affairs; government, religious studies, educational welfare, propagation, public facilities, and the public welfare. The paradigm of the Thai Sangha administrationwas in accordance withthe Thai Sangha Act with the implementation of the Supreme Sangha Council. 4. The new knowledge about “Paradigm model of the Thai Sangha administration in the context of modern Thai society” is “SPEE Model”.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 2) พัฒนารูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 3 ดาว ที่มีคุณสมบัติเข้ารับการพิจารณายกระดับคุณภาพโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 4 ดาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจำนวน 135 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างาน ครูผู้รับผิดชอบโครงการ และครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 540 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 2)แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .89 3) แบบบันทึกข้อเสนอแนะ และ 4) แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 10 องค์ประกอบย่อย 2. รูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เป็นรูปแบบที่มีชื่อว่า “MSMM Model” โดยเป็นรูปแบบที่มีโครงสร้างและวิธีการบริหารงานตามขอบข่ายและภารกิจด้านการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรม ตามแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม หลักโลกบาลธรรม และการบริหารโรงเรียน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 10 องค์ประกอบย่อย โดยเรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลัก คือ แนวคิดโรงเรียนคุณธรรม หลักโลกบาลธรรม และการบริหารโรงเรียน 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.67 ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่กำหนดไว้ จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่พัฒนาขึ้น
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 2) พัฒนารูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 3 ดาว ที่มีคุณสมบัติเข้ารับการพิจารณายกระดับคุณภาพโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 4 ดาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจำนวน 135 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างาน ครูผู้รับผิดชอบโครงการ และครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 540 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 2)แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .89 3) แบบบันทึกข้อเสนอแนะ และ 4) แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 10 องค์ประกอบย่อย 2. รูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เป็นรูปแบบที่มีชื่อว่า “MSMM Model” โดยเป็นรูปแบบที่มีโครงสร้างและวิธีการบริหารงานตามขอบข่ายและภารกิจด้านการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรม ตามแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม หลักโลกบาลธรรม และการบริหารโรงเรียน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 10 องค์ประกอบย่อย โดยเรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลัก คือ แนวคิดโรงเรียนคุณธรรม หลักโลกบาลธรรม และการบริหารโรงเรียน 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.67 ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่กำหนดไว้ จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่พัฒนาขึ้น
The objectives of this research were: 1) to study components of moral school management for school administrators under the primary educational service area office, 2) to create a model of moral school management for school administrators under the primary educational service area office, and 3) to evaluate and to affirm the moral school management model for school administrators under the primary educational service area office. The mixed research methodology is used in the study. The data were collected from 540 samples consisting of school directors, heads of department, the teachers responsible for the project, and teachers in 135 moral schools with 3- star level. The research instrument consisted of : 1) semi-structured interviews, 2) 5-rating scale questionnaires with reliability at 0.89, 3) recording form for suggestions, and 4) evaluation forms. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and CFA. The results of this research revealed that: 1) The components of moral school management for school administrators under the primary educational service area office consisted of 3 main components and 10 minor components. 2) A model of moral school management for school administrators under the primary educational service area office was known as “MSMM Model.” It was an administrative form and method based on scope and mission of moral school administration concept, Lokapàla-dhamma, and school administration. The moral school administration consisted of 3 main components and 10 minor components. The component weight values in descending order started with Moral School Concepts, followed by Lokapàla-dhamma, and School Administration. 3) The evaluation results of model of moral school management for school administrators under the primary educational service area office in propriety, accuracy, feasibility and utility were at 4.67 level overall that was higher than the evaluation criteria. The model was affirmed by the experts.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบ สร้างรูปแบบและประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยออกแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนสุจริตต้นแบบระดับประถมศึกษา จำนวน 127โรงเรียนโดยมีผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 508 คนเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 ชุด ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ .837 และ 3) แบบประเมิน ใช้เก็บข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักและ11 องค์ประกอบย่อย 2) รูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นรูปแบบที่มีชื่อว่า “SPG Model”โดยเป็นรูปแบบเชิงบูรณาการตามแนวคิดมาตรฐานโรงเรียนสุจริต แนวคิดการบริหารงานโรงเรียนแบบ PIE Cycle และหลักสุจริต ซึ่งมีโครงสร้างความเกี่ยวข้องระหว่างองค์ประกอบที่สำคัญในเชิงความสัมพันธ์หรือเหตุผลซึ่งกันและกัน เพื่อช่วยให้เข้าใจข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ในการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 11 องค์ประกอบย่อย โดยเรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลัก คือ มาตรฐานโรงเรียนสุจริต การบริหารโรงเรียนแบบ PIE Cycle และหลักสุจริต 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา ในด้านความถูกต้องความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ได้กำหนด จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบ สร้างรูปแบบและประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยออกแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนสุจริตต้นแบบระดับประถมศึกษา จำนวน 127โรงเรียนโดยมีผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 508 คนเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 ชุด ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ .837 และ 3) แบบประเมิน ใช้เก็บข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักและ11 องค์ประกอบย่อย 2) รูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นรูปแบบที่มีชื่อว่า “SPG Model”โดยเป็นรูปแบบเชิงบูรณาการตามแนวคิดมาตรฐานโรงเรียนสุจริต แนวคิดการบริหารงานโรงเรียนแบบ PIE Cycle และหลักสุจริต ซึ่งมีโครงสร้างความเกี่ยวข้องระหว่างองค์ประกอบที่สำคัญในเชิงความสัมพันธ์หรือเหตุผลซึ่งกันและกัน เพื่อช่วยให้เข้าใจข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ในการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 11 องค์ประกอบย่อย โดยเรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลัก คือ มาตรฐานโรงเรียนสุจริต การบริหารโรงเรียนแบบ PIE Cycle และหลักสุจริต 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา ในด้านความถูกต้องความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ได้กำหนด จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
The objectives of this research were to study components, create a model, and evaluate and affirm an Upright School Management Model for the primary schools under the Office of the Basic Education Commission. The data of this mixed method research were collected from 508 samples in 127 upright schools. The research instruments were 1) structured interview form, 2) questionnaire (with reliability at 0.84), and 3) evaluation form. The data were collected in 2019, and then analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, confirmatory factor analysis: CFA by using statistical package, and content analysis. The results of the research found that: 1) The components of Upright School Management of the primary school administrators under Office of the Basic Education Commission were composed of 3 main components and 11 sub-components. 2) The model of the Upright School Management for the primary school administrators under the Office of the Basic Education Commission was called “SPG Model”. It was the integrative model based on the concept of upright school standard, PIE Cycle School Administration Principles, and Good Conduct Principles. The structure of component relation in upright school administration consisted of 3 main components and 11 minor components. The component weight values in descending order started with Upright School standard, followed by PIE Cycle School Administration, and Good Conduct Principles. 3) The evaluation and affirmation results of the moral school management model for upright school administration of primary school administrators in propriety, accuracy, feasibility and utility were at 4.80 level overall that was higher than the evaluation criteria. The model was approved by the experts.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง มนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการแก้ปัญหาสิทธิมนุษยชน มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดมนุษยนิยม 2) เพื่อศึกษาแนวคิดมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อบูรณาการมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการแก้ปัญหาสิทธิมนุษยชน 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง “มนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการแก้ปัญหาสิทธิมนุษยชน” ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ บูรณาการระหว่างคุณภาพแบบวิจัยเอกสาร และ คุณภาพแบบสัมภาษณ์ โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ เอกสารต่าง ๆ ทั้งที่เป็นปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ รวมทั้งเอกสารอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง และ บทสัมภาษณ์ โดยศึกษาการบูรณาการแนวคิด มนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาท กับการแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน 4 ประเด็นคือ 1)คุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 2) สิทธิเสรีภาพ 3) ความเสมอภาค 4) ภราดรภาพ เพื่อส่งผลให้เกิดคุณค่าทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ของมนุษยชาติที่อยู่ร่วมกันในสังคม ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิด มนุษยนิยม เป็นแนวคิด ที่ให้มนุษย์ยอมรับ เคารพนับถือในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้อยู่เหนือกว่าและมีความสำคัญกว่าสิ่งอื่นใดเป็นทัศนะ และ ความรู้สึกสำนึกของจิตใจที่มีจุดสูงสุดอยู่ที่มนุษย์ และ ผลประโยชน์ของมนุษย์ ที่ถือเป็นหลักการของแนวคิดในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนด้วย 2.แนวคิดมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทนำเสนอแนวคิดในเรื่องที่เน้นให้มนุษย์ได้ตระหนักรู้ในตนเองในการกระทำของมนุษย์แต่ละคนมนุษย์จึงสามารถกำหนดชะตาชีวิตตามเจตจำนงเสรีของตนเอง กฏแห่งกรรม หรือกฎแห่งการกระทำ จึงเป็นอำนาจที่มนุษย์กำหนดได้เองและเป็นเรื่องของปัจเจกบุคคลที่ต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเอง 3.ผลของการนำหลักแนวคิดมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาท มาบูรณาการเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ใน 4 ประเด็น คือ 1. ประเด็นคุณค่า และ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 2. ประเด็นสิทธิเสรีภาพ 3. ประเด็นความเสมอภาค 4. ประเด็นภราดรภาพ ทำให้เกิดให้เกิดคุณค่าในทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ของมนุษยชาติ ทำให้มนุษยชาติ มีแนวทางในการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม โดยมีการเคารพ ในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เคารพในสิทธิเสรีภาพ เคารพในความเสมอภาค และมีภราดรภาพ มาใช้เป็นหลักแนวทางในการดำเนินชีวิตในสังคมของมนุษยชาติที่มีความเป็นพหุวัฒนธรรม 4. แนวทาง และ การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการแนวคิดมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการแก้ปัญหาสิทธิมนุษยชน”คือ รูปแบบ (Model) K N R D U อนึ่ง การนำรูปแบบ (Model) K N R D U นี้ไปใช้ในการแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในระดับปฏิบัติการ หมายถึง การเริ่มต้นการปฏิบัติที่ระดับของปัจเจกบุคลก่อนจะนำไปสู่การปฏิบัติที่ระดับ ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และ ระดับสหประชาชาติในที่สุด
ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง มนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการแก้ปัญหาสิทธิมนุษยชน มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดมนุษยนิยม 2) เพื่อศึกษาแนวคิดมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อบูรณาการมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการแก้ปัญหาสิทธิมนุษยชน 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง “มนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการแก้ปัญหาสิทธิมนุษยชน” ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ บูรณาการระหว่างคุณภาพแบบวิจัยเอกสาร และ คุณภาพแบบสัมภาษณ์ โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ เอกสารต่าง ๆ ทั้งที่เป็นปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ รวมทั้งเอกสารอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง และ บทสัมภาษณ์ โดยศึกษาการบูรณาการแนวคิด มนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาท กับการแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน 4 ประเด็นคือ 1)คุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 2) สิทธิเสรีภาพ 3) ความเสมอภาค 4) ภราดรภาพ เพื่อส่งผลให้เกิดคุณค่าทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ของมนุษยชาติที่อยู่ร่วมกันในสังคม ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิด มนุษยนิยม เป็นแนวคิด ที่ให้มนุษย์ยอมรับ เคารพนับถือในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้อยู่เหนือกว่าและมีความสำคัญกว่าสิ่งอื่นใดเป็นทัศนะ และ ความรู้สึกสำนึกของจิตใจที่มีจุดสูงสุดอยู่ที่มนุษย์ และ ผลประโยชน์ของมนุษย์ ที่ถือเป็นหลักการของแนวคิดในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนด้วย 2.แนวคิดมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทนำเสนอแนวคิดในเรื่องที่เน้นให้มนุษย์ได้ตระหนักรู้ในตนเองในการกระทำของมนุษย์แต่ละคนมนุษย์จึงสามารถกำหนดชะตาชีวิตตามเจตจำนงเสรีของตนเอง กฏแห่งกรรม หรือกฎแห่งการกระทำ จึงเป็นอำนาจที่มนุษย์กำหนดได้เองและเป็นเรื่องของปัจเจกบุคคลที่ต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเอง 3.ผลของการนำหลักแนวคิดมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาท มาบูรณาการเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ใน 4 ประเด็น คือ 1. ประเด็นคุณค่า และ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 2. ประเด็นสิทธิเสรีภาพ 3. ประเด็นความเสมอภาค 4. ประเด็นภราดรภาพ ทำให้เกิดให้เกิดคุณค่าในทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ของมนุษยชาติ ทำให้มนุษยชาติ มีแนวทางในการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม โดยมีการเคารพ ในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เคารพในสิทธิเสรีภาพ เคารพในความเสมอภาค และมีภราดรภาพ มาใช้เป็นหลักแนวทางในการดำเนินชีวิตในสังคมของมนุษยชาติที่มีความเป็นพหุวัฒนธรรม 4. แนวทาง และ การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการแนวคิดมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการแก้ปัญหาสิทธิมนุษยชน”คือ รูปแบบ (Model) K N R D U อนึ่ง การนำรูปแบบ (Model) K N R D U นี้ไปใช้ในการแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในระดับปฏิบัติการ หมายถึง การเริ่มต้นการปฏิบัติที่ระดับของปัจเจกบุคลก่อนจะนำไปสู่การปฏิบัติที่ระดับ ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และ ระดับสหประชาชาติในที่สุด
Dissertation title Humanistic Buddhism's philosophy in solving human rights problems. The objectives of the study were 1) to study the concept of humanism and 2) to study the concept of humanism in Theravada Buddhist Philosophy 3) integrated humanism in Buddhism's philosophy to solve human rights problems 4) to present the opinion. know about "Humanistic Buddhism's philosophy in solving human rights problems" This dissertation is a qualitative research. Integration between quality research and documentation, qualitative interviews. The instrument used in the research is to document both the primary and secondary as well as other documents. Related studies and interviews by integrating concepts. Buddhism's philosophy of humanism the solution to the human rights violations in four issues: 1) the value and dignity 2) freedom 3) equal to 4) to the Brotherhood resulted in valuable social, economic, political. Of humanity who live together in society. The results showedthat 1.Humanism is a concept that is accepted by humans. Respect for human values and dignity to be superior to and to be more important than anything else, it is the view and sense of the mind that is at its highest on human and human interests. Which is also a principle of the concept of the Universal Declaration of Human Rights 2. Humanism in Theravada Buddhist Philosophy presents the concept of self-awareness among human beings. In the actions of each human being Human beings can determine their destiny. According to one's free will, the law of karma or the law of action It is an autonomous power and that of the individual being responsible for his or her actions. 3.Effects of the application of humanism in Theravada Buddhist philosophy. To be integrated to solve problems of human rights violations in 4 issues: 1. Value and human dignity issues 2. Issues of rights and freedom 3. Equality issues 4. Brotherhood issues Cause values in the social, economic, political, governance of humanity. There are guidelines for living together in society. With respect for human values and dignity Respect the rights and freedoms Respect for equality and fraternity as a guide to life in a multicultural society of mankind 4.guidance and knowledge about. “Format, integrating the concept of humanism in Buddhism's philosophy to solve the problem of human rights” is a model K N RD U leadership model K N RD U use this to solve the problem of human rights violations. In a class action meant to start operating at the level of individual persons will be brought into action at the level of family, community, society and the United Nations.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับคนพิการในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับคนพิการในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับคนพิการในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนการศึกษาพิเศษ จำนวน 125 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน ครู และเจ้าหน้าที่ จำนวน 340 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับคนพิการในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ จากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวกับบรรยากาศองค์การ และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ แล้ววิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) ได้ 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การกำหนดแผนเชิงกลยุทธ์ 2) การวิเคราะห์แผนเชิงกลยุทธ์ 3) การนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 4) การควบคุมตามแผนกลยุทธ์ และ 5) การประเมินแผนกลยุทธ์ 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับคนพิการในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (Factor Loading) ตั้งแต่ 0.89-1.00 โดยเรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านการนำแผนเชิงกลยุทธ์ไปปฏิบัติ เท่ากับ 1.00 2) ด้านการวิเคราะห์แผนเชิงกลยุทธ์ เท่ากับ 0.99 3) ด้านการควบคุมตามแผนกลยุทธ์ เท่ากับ 0.96 4) ด้านการประเมินและรับรอง เท่ากับ 0.90 และ 5) ด้านการกำหนดแผนเชิงกลยุทธ์ เท่ากับ 0.89 ซึ่งรูปแบบที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. ผลการประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 คน พบว่า มีการประเมินในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.27 ( = 4.27) อยู่ในระดับมาก จึงสรุปได้ว่าผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับคนพิการในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับคนพิการในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับคนพิการในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนการศึกษาพิเศษ จำนวน 125 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน ครู และเจ้าหน้าที่ จำนวน 340 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับคนพิการในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ จากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวกับบรรยากาศองค์การ และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ แล้ววิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) ได้ 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การกำหนดแผนเชิงกลยุทธ์ 2) การวิเคราะห์แผนเชิงกลยุทธ์ 3) การนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 4) การควบคุมตามแผนกลยุทธ์ และ 5) การประเมินแผนกลยุทธ์ 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับคนพิการในโรงเรียนการศึกษาพิเศษ จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (Factor Loading) ตั้งแต่ 0.89-1.00 โดยเรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านการนำแผนเชิงกลยุทธ์ไปปฏิบัติ เท่ากับ 1.00 2) ด้านการวิเคราะห์แผนเชิงกลยุทธ์ เท่ากับ 0.99 3) ด้านการควบคุมตามแผนกลยุทธ์ เท่ากับ 0.96 4) ด้านการประเมินและรับรอง เท่ากับ 0.90 และ 5) ด้านการกำหนดแผนเชิงกลยุทธ์ เท่ากับ 0.89 ซึ่งรูปแบบที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. ผลการประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 คน พบว่า มีการประเมินในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.27 ( = 4.27) อยู่ในระดับมาก จึงสรุปได้ว่าผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ
The purposes of this research were: 1) to study the elements of strategic management for the disabled in special education schools, 2) to establish a strategic management model for the disabled in special education schools, and 3) to assess and certify the strategic management model for the disabled in special education schools. The mixed research method was used in the study. The data were collected from 340 samples of 125 special education schools. The samples consisted of school directors, deputy directors and officials. The research instrument was a 5-level semi-structured questionnaire with confidential level at 0.98. The data were analyzed by descriptive statistics including frequency distribution, percentage, arithmetic mean, standard deviation, exploratory factor analysis (EFA) and confirmatory factor analysis (CFA) through statistical computer package. The results of this research revealed that: 1.The elements of strategic management for the disabled in special education schools collected from concepts, theories, papers, texts, research works and related sources and then analyzed by Exploratory Factor Analysis (EFA) could be concluded into five main components; 1) strategic planning, 2) strategic plan analysis, 3) implementation of the strategic plan, 4) control of the strategic plan, and 5) evaluation of the strategic plan. 2. The results of establishing a strategic management model for the disabled in special education schools analyzed by Confirmatory Factor Analysis (CFA) found that the factor loading was 0.89-1.00, in descending order of element weight: 1) the implementation of the strategic plan was 1.00, 2) the strategic plan analysis was 0.99, 3) strategic plan control was 0.96, 4) evaluation and certification was 0.90, and 5) strategic planning was 0.89 respectively. The established model was consistent with the empirical data. 3. The results of assessment and approval of the model in terms of accuracy, suitability, possibility and benefits from 17 experts were at a high level with a figure at 4.27 (= 4.27). It could be concluded that the model was above the specified criteria and approved.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาความหมาย แนวคิด หลักการและ วิธีการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติ 2) เพื่อศึกษาความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติและ 3) เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย การดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติจากเอกสารและสำรวจ พร้อมด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้องจากตัวอย่างมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ 6 แห่งที่ประสบความสำเร็จในการบริหารหลักสูตรนานาชาติ 2) สำรวจความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติ โดยการศึกษาเอกสารหลักสูตร และการบริหารมหาวิทยาลัยพร้อมกับสัมภาษณ์ผู้บริหาร จำนวน 11 ท่าน และจัดสัมมนาผู้เชี่ยวชาญ 16 ท่านเพื่อวิเคราะห์สภาพความพร้อมและ 3) ผู้วิจัยยกร่างข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย และให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารมหาวิทยาลัยนานาชาติ 5 ท่านตรวจสอบรับรองข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ผลการวิจัย พบว่า 1. วิธีการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติ มีลักษณะ 6 ประการ คือ 1) การบริหารจัดการแบบเบ็ดเสร็จ 2) เปิดหลักสูตรซึ่งเป็นที่ยอมรับของชุมชนระดับสากล 3) รับนักศึกษาหลายเชื้อชาติ 4) ผู้สอนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติต้องมีความรู้ความสามารถและทักษะการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานสากล 5) กิจกรรมการเรียนรู้ต้องเป็นสากลเชื่อมโยงกับเครือข่ายนานาชาติได้และ 6) ทรัพยากรสนับสนุนการศึกษาต้องมาจากการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 2. ความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ด้านการผลิตบัณฑิต และด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมตามลำดับ และผลการสำรวจความพร้อมในการบริหารการศึกษานานาชาติในระดับปฏิบัติการ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารงานทั่วไป ด้านการบริหารหลักสูตร ด้านนักศึกษา ด้านกิจกรรมนานาชาติและด้านผู้สอนตามลำดับ 3.
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาความหมาย แนวคิด หลักการและ วิธีการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติ 2) เพื่อศึกษาความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติและ 3) เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย การดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติจากเอกสารและสำรวจ พร้อมด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้องจากตัวอย่างมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ 6 แห่งที่ประสบความสำเร็จในการบริหารหลักสูตรนานาชาติ 2) สำรวจความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติ โดยการศึกษาเอกสารหลักสูตร และการบริหารมหาวิทยาลัยพร้อมกับสัมภาษณ์ผู้บริหาร จำนวน 11 ท่าน และจัดสัมมนาผู้เชี่ยวชาญ 16 ท่านเพื่อวิเคราะห์สภาพความพร้อมและ 3) ผู้วิจัยยกร่างข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย และให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารมหาวิทยาลัยนานาชาติ 5 ท่านตรวจสอบรับรองข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ผลการวิจัย พบว่า 1. วิธีการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติ มีลักษณะ 6 ประการ คือ 1) การบริหารจัดการแบบเบ็ดเสร็จ 2) เปิดหลักสูตรซึ่งเป็นที่ยอมรับของชุมชนระดับสากล 3) รับนักศึกษาหลายเชื้อชาติ 4) ผู้สอนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติต้องมีความรู้ความสามารถและทักษะการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานสากล 5) กิจกรรมการเรียนรู้ต้องเป็นสากลเชื่อมโยงกับเครือข่ายนานาชาติได้และ 6) ทรัพยากรสนับสนุนการศึกษาต้องมาจากการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 2. ความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ด้านการผลิตบัณฑิต และด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมตามลำดับ และผลการสำรวจความพร้อมในการบริหารการศึกษานานาชาติในระดับปฏิบัติการ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารงานทั่วไป ด้านการบริหารหลักสูตร ด้านนักศึกษา ด้านกิจกรรมนานาชาติและด้านผู้สอนตามลำดับ 3.
ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การจัดการตามหน้าที่ของมหาวิทยาลัยสู่ความเป็นนานาชาติ มี 6 ด้าน คือ (1.1) รายละเอียดนโยบายของมหาวิทยาลัย มี 7 ประการ (1.2) การผลิตบัณฑิต มี 9 ประการ (1.3) การบริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคม มี 6 ประการ (1.4) การวิจัยของสถาบัน มี 5 ประการ (1.5) การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มี 4 ประการ และ (1.6) การบริหารจัดการงานทั่วไป มี 10 ประการ ส่วนที่ 2 การบริหารการศึกษานานาชาติ มี 5 ด้าน คือ (2.1) การบริหารหลักสูตร มี 5 ประการ (2.2) การบริหารงานทั่วไปนานาชาติ มี 5 ประการ (2.3) ด้านนักศึกษา มี 4 ประการ (2.4) ด้านผู้สอน และ (2.5) ด้านกิจกรรมนานาชาติ มี 5 ประการ ผลการตรวจสอบให้การรับรองข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ฉบับนี้ มีความถูกต้อง มีความเป็นไปได้ มีความเหมาะสม และมีประโยชน์ในการนำไปใช้งานได้จริง ฯ
The objectives of this dissertation were: 1) to study meanings, concepts, principles and methods of international education administration, 2) to study the readiness of Mahamakut Buddhist University to open an international program, and 3) to make a policy proposal for International Education Administration at Mahamakut Buddhist University. The research had 3 steps: 1) to Study the criteria of the Office of the Higher Education Commission regarding the international education administration from documents and surveys along with in-depth interviews with experts and relevant people from 6 national and international universities having achievement in international program management, 2) to explore the readiness of Mahamakut Buddhist University in opening an international program by studying curriculum documents and university administration, along with interviewing 11 executives and group discussions with 16 experts, and 3) to draft the policy proposal for international education administration of Mahamakut Buddhist University and then the drafted proposal was examined and approved by 5 experts in international education administration. The results of the study were as follows: 1. The international educational management system consists of 6 aspects: 1) Integrated Management, 2) The curriculum accepted by the international community, 3) Enrollment of multi-racial students, 4) Knowledge and skills in learning management according to international standards of both Thai and foreign teachers, 5) The link of learning activities to international networks, and 6) Involvement of all parties for learning support resources. 2. The readiness of Mahamakut Buddhist University to open the international program was at a moderate level overall and in each aspect. The descending order was as follows: education management, research, social academic service, graduate production, and art and culture conservation respectively. The readiness in the operational level was at a moderate level totally and in all aspects. The highest level was on general administration, followed by curriculum administration, students, international activities, and instructors respectively. 3. The policy proposal for international education administration of Mahamakut Buddhist University consists of 2 parts; Part 1: The university duty management to internationalization has 6 areas; (1.1) details of the university policy in 7 aspects, (1.2) graduate production with 9 aspects, (1.3) Buddhist academic services to society in 6 aspects, (1.4) institutional research in 5 aspects, (1.5) art and culture conservation in 4 aspects, and (1.6) general management in 10 aspects. Part 2: International Education Administration has 5 aspects; (2.1) Curriculum Administration in 5 aspects, (2.2) International General Administration in 5 aspects, (2.3) Students in 4 aspects, (2.4) Teachers, and (2.5) international activities in 5 aspects. The examination results confirm the policy proposal of the International Education Administration of Mahamakut Buddhist University with correctness, possibility, appropriateness, and implementation.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาหลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมเกี่ยวกับหลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ 3) เพื่อบูรณาการหลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทาง และการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการหลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม” ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed Methods Designs) โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งมีแบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นหลัก ด้านวิจัยคุณภาพไปทำการสัมภาษณ์แบบโครงสร้าง ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 9 รูปคน (Structure In - depth Interview) และเสวนากลุ่มจำนวน 10 คน (Focus Group) ผลการวิจัยพบว่า 1.หลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ พบว่า ด้านการวางแผนปฏิบัติงาน พบว่า ผู้ปฏิบัติงานด้านไฟฟ้า หลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงไปหาต่ำ พบว่า ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ “มีการประชุมวางแผนปฏิบัติงาน” รองลงมาได้แก่ “มีการกำหนดเป้าหมายงานที่ชัดเจน” และที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ “ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง” ด้านการปฏิบัติงาน พบว่า หลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงไปหาต่ำ พบว่า ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ “ขณะปฏิบัติงานมีความระมัดระวังในการทำงาน” รองลงมาได้แก่ “ปฏิบัติงานตามหน้าที่ได้รับมอบหมาย” และที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่ “ประชุมกลุ่มรับฟังปัญหาหลังจากปฏิบัติงานแล้วเสร็จ” 2. หลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม ด้านสติสัมปชัญญะค่าเฉลี่ย สูงที่สุด คือ การมีสติ สัมปชัญญะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน ด้านอัปปมาทธรรม มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือตระหนักถึงอันตรายต่อตนเอง และเพื่อนร่วมงานขณะปฏิบัติงานอยู่เสมอ ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ คือการมีศีลในการปฏิบัติงาน คือมีระเบียบการปฏิบัติ มีสติทั้งการสำรวจงาน ความพร้อมเครื่องมือ ทั้งสภาพร่างกาย สภาพจิตใจ สภาพของภาระงาน เครื่องมืออุปกรณ์ในการปฏิบัติงานการประเมินสถานการณ์ ทั้ง คน อุปกรณ์ เครื่องสนับสนุนการปฏิบัติงาน วางแผนการปฏิบัติงานอย่างรัดกุม ผู้ปฏิบัติหน้าที่ อย่างน้อยต้องมีความรู้ ทักษะประสบการณ์ตั้งอยู่ในศีลธรรมเวลาทำการก็มีสติ มีสมาธิใจจดจ่อต่อภาระหน้าที่ใจ ไม่ฟุ้งซ่านหรือหม่นหมอง มีสติสัมปชัญญะทำให้เกิดความระมัดระวังและรู้ว่ากำลังทำอะไรอยู่ มีความรู้สึกระลึกได้ และต้องประกอบไปด้วยปัญญา 3.
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาหลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมเกี่ยวกับหลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ 3) เพื่อบูรณาการหลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทาง และการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการหลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม” ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed Methods Designs) โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งมีแบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นหลัก ด้านวิจัยคุณภาพไปทำการสัมภาษณ์แบบโครงสร้าง ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 9 รูปคน (Structure In - depth Interview) และเสวนากลุ่มจำนวน 10 คน (Focus Group) ผลการวิจัยพบว่า 1.หลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ พบว่า ด้านการวางแผนปฏิบัติงาน พบว่า ผู้ปฏิบัติงานด้านไฟฟ้า หลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงไปหาต่ำ พบว่า ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ “มีการประชุมวางแผนปฏิบัติงาน” รองลงมาได้แก่ “มีการกำหนดเป้าหมายงานที่ชัดเจน” และที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ “ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง” ด้านการปฏิบัติงาน พบว่า หลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงไปหาต่ำ พบว่า ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ “ขณะปฏิบัติงานมีความระมัดระวังในการทำงาน” รองลงมาได้แก่ “ปฏิบัติงานตามหน้าที่ได้รับมอบหมาย” และที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่ “ประชุมกลุ่มรับฟังปัญหาหลังจากปฏิบัติงานแล้วเสร็จ” 2. หลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม ด้านสติสัมปชัญญะค่าเฉลี่ย สูงที่สุด คือ การมีสติ สัมปชัญญะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน ด้านอัปปมาทธรรม มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือตระหนักถึงอันตรายต่อตนเอง และเพื่อนร่วมงานขณะปฏิบัติงานอยู่เสมอ ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ คือการมีศีลในการปฏิบัติงาน คือมีระเบียบการปฏิบัติ มีสติทั้งการสำรวจงาน ความพร้อมเครื่องมือ ทั้งสภาพร่างกาย สภาพจิตใจ สภาพของภาระงาน เครื่องมืออุปกรณ์ในการปฏิบัติงานการประเมินสถานการณ์ ทั้ง คน อุปกรณ์ เครื่องสนับสนุนการปฏิบัติงาน วางแผนการปฏิบัติงานอย่างรัดกุม ผู้ปฏิบัติหน้าที่ อย่างน้อยต้องมีความรู้ ทักษะประสบการณ์ตั้งอยู่ในศีลธรรมเวลาทำการก็มีสติ มีสมาธิใจจดจ่อต่อภาระหน้าที่ใจ ไม่ฟุ้งซ่านหรือหม่นหมอง มีสติสัมปชัญญะทำให้เกิดความระมัดระวังและรู้ว่ากำลังทำอะไรอยู่ มีความรู้สึกระลึกได้ และต้องประกอบไปด้วยปัญญา 3.
บูรณาการหลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม เป็นหลักธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงคือ การปฏิบัติงานที่ดีต้องอาศัยสติสัมปชัญญะ ความไม่ประมาทมีสติอยู่ตลอดขณะปฏิบัติหน้าที่และมีความรู้ในงานนั้น ๆ ด้วยการมีระเบียบวินัยต่อการปฏิบัติงานและแสดงออกด้วยความจริงใจด้วยคำพูดที่ดีการปฏิบัติที่ถูกต้อง มีหลักศีล 5 เป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิต มีการพัฒนาศักยภาพพนักงานด้วยการจัดอบรมปฏิบัติธรรมอยู่เนือง ๆ สติและความไม่ประมาท หลักสติและความไม่ประมาทเป็นหลักธรรมคู่กัน ต่อการปฏิบัติหน้าที่การทำงานจะต้องมีสติไม่ประมาท คนที่มีความรู้แต่ประมาท อุปกรณ์ดีมีความพร้อมแต่ประมาท เพราะขาดสติสัมปชัญญะ ขาดความรอบรู้ในงานหน้าที่ ส่งผลเกิดอุบัติเหตุ ผลตามมาคือ ทางร่างกาย ทรัพย์สินรวมถึงคนรอบข้างมีครอบครัว เพื่อน สังคม 4. รูปแบบบูรณาการหลักประกันความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพุทธธรรม เป็นทฤษฎี “HSPP Security Watch Model” H = Heedfulness/Heart หมายถึง เป็นหลักพุทธธรรมที่มีอยู่เป็นส่วนหนึ่งของจิตวิญญาณด้วยสามัญสำนึกให้ตั้งอยู่กับสมาธิ มีสติ และสัมปชัญญะขณะปฏิบัติหน้าที่ S = Scan/Security หมายถึง ปฏิบัติงานที่มีจิตใจมั่นคงในการปฏิบัติงานรู้ตนเองเสมอสามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อมีสติ สัมปชัญญะ P = Plan หมายถึง ศึกษาและวางแผนงานให้รัดกุมทำการทบทวนขั้นตอนก่อนการปฏิบัติ พร้อมกับศึกษาสภาพสิ่งแวดล้อมที่ปฏิบัติงานเป็นอย่างดี P = Practice หมายถึง มีการกำหนดเป้าหมายงานที่ชัดเจน มีการประชุมวางแผนปฏิบัติงาน รับฟังความคิดเห็นจากผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์
The objectives of this dissertation were as follows; 1) to study the risk security in duty performance, 2) to study the principles of Buddhism regarding the risk security in duty performance, 3) to integrate the risk security in duty performance according to the principles of Buddhism, and 4) to present guidelines and knowledge regarding risk security in duty performance according to Buddhist principles. The mixed research methodology between the quantitative method and the qualitative method was used. The type of research is Research and Development or R&D. The data were collected by questionnaires, in-depth interviews with 9 experts and focus group discussions with 10 key-informants. The results of research were found that: 1. In risk security in duty performance, the electrical duty officers followed the Buddhist principles at a high level in their operation planning. In details, the highest level was on operation meeting and planning, followed by work targeting, and cooperation with other units respectively. In duty performance, the risk security in duty performance according to Buddhist principles was at a high level. Sorting by the mean value, the highest level was on carefulness while doing the duty, followed by doing work as assigned, and group discussion for the feedback. 2. The risk security in duty performance according to Buddhist principles, mindfulness clear comprehension has the highest mean because they directly result to the work efficiency. Carefulness has the highest mean because it creates awareness of dangers to oneself and others at all time. According to the experts, the precepts help work operators keep in order and to be mindful on work, equipment, body, mind, plan, and situation. When the work operators have precepts or order, they will have mindfulness and concentration on duty performance based on wisdom. 3. The risk security in duty performance integrated with the Buddhist principles consists of precept, concentration, mindfulness and clear comprehension, and carefulness. Precepts are discipline in living a life. While doing the duty performance, mindfulness and clear comprehension integrated with skills in planning and work operation can help fix the mind concentrating on the work, and mindfulness and clear comprehension creates carefulness in the work process from beginning until the end. Skills, knowledge and work experiences without mindfulness and carefulness can cause accidents and unsatisfying results. 4. The model of integrated model of risk security in duty performance according to the Buddhist principles is HSPP Security Watch MODEL, consisting of Heedfulness/Heart, Scan/Security, Plan, and Practice.
หนังสือ

    การศึกษาวิจัยเรื่อง เทคนิคการเสริมพลังการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยหลักพุทธธรรม มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานตามเทคนิคการเสริมพลัง 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมในการเสริมพลังดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน 3) เพื่อบูรณาการเทคนิคการเสริมพลังในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยหลักพุทธธรรม และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทาง และสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการเทคนิคการเสริมพลังในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยหลักพุทธธรรม” ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยวิธีวิจัยเชิงปริมาณจากการสำรวจผู้ป่วยโรค เบาหวาน จำนวน 118 คน และวิธีวิจัยเชิงคุณภาพจากการศึกษาข้อมูลเอกสารด้านโรคเบาหวาน ด้านการเสริมพลัง และหลักพุทธธรรม การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 20 คน การสัมภาษณ์ทีมรักษาพยาบาล จำนวน 6 คน สนทนากลุ่มทีมเสริมพลังในโรงพยาบาล จำนวน 6 คน และทีมในโรงพยาบาลรวมเครือข่าย จำนวน 37 คน และนำข้อมูลวิเคราะห์มาสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิด้านพระพุทธศาสนา ด้านการเสริมพลัง และด้านการรักษาพยาบาล จำนวน 10 ท่าน จากนั้นจึงนำข้อมูลผลการวิจัยมาบูรณาการเป็นรูปแบบใหม่เพื่อตอบวัตถุประสงค์ ผลการวิจัยพบว่า การเสริมพลังเพื่อการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่องของผู้ป่วยโรคเบาหวาน มี 6 ด้าน คือ ด้านความร่วมมือ ความจริงของโรค การคิดอย่างไตร่ตรอง การสนับสนุน การดำเนิน การด้วยตนเอง และการปรับเปลี่ยนและคงไว้ โดยเน้น 4 เรื่องสำคัญ คือ การรู้สภาพจริงของตน การเห็นตัวแบบไม่ดี การมีบุคคลสำคัญเป็นเป้าหมาย การสนับสนุนด้วยทีมหรือครอบครัว และการใช้สื่อทันสมัยพอเหมาะต่อบุคคล หลักพุทธธรรมที่เหมาะสมเพื่อเป็นเทคนิคการเสริมพลังการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรค เบาหวาน คือ สัปปุริสธรรม 7 เน้นการรู้ตน รู้ผล รู้ประมาณ และรู้บุคคลจะทำให้เกิดผลดีมากขึ้น นอกจากนั้นควรมีหลักธรรมสนับสนุน คือ กัลยาณมิตรธรรม พละ สัปปายะ และมัชฌิมาปฏิปทา การบูรณาการเทคนิคการเสริมพลังในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยหลักพุทธธรรม เป็นหลัก 3 ด้าน คือ หลักตน หลักความรู้ และหลักสิ่งแวดล้อม สามารถสังเคราะห์รูปแบบเทคนิคการเสริมพลังในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยหลักพุทธธรรม เรียกว่า “KIE Model”หรือ “พุทธพลัง” โดยการรู้ตนและรู้ด้านต่าง ๆ ของสัปปุริสธรรมควบคู่กับหลักการเสริมพลัง เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีพลังดูแลตนเองต่อเนื่อง ชะลอภาวะแทรกซ้อน และมีชีวิตป่วยอย่างเป็นสุข
การศึกษาวิจัยเรื่อง เทคนิคการเสริมพลังการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยหลักพุทธธรรม มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานตามเทคนิคการเสริมพลัง 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมในการเสริมพลังดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน 3) เพื่อบูรณาการเทคนิคการเสริมพลังในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยหลักพุทธธรรม และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทาง และสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการเทคนิคการเสริมพลังในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยหลักพุทธธรรม” ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยวิธีวิจัยเชิงปริมาณจากการสำรวจผู้ป่วยโรค เบาหวาน จำนวน 118 คน และวิธีวิจัยเชิงคุณภาพจากการศึกษาข้อมูลเอกสารด้านโรคเบาหวาน ด้านการเสริมพลัง และหลักพุทธธรรม การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 20 คน การสัมภาษณ์ทีมรักษาพยาบาล จำนวน 6 คน สนทนากลุ่มทีมเสริมพลังในโรงพยาบาล จำนวน 6 คน และทีมในโรงพยาบาลรวมเครือข่าย จำนวน 37 คน และนำข้อมูลวิเคราะห์มาสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิด้านพระพุทธศาสนา ด้านการเสริมพลัง และด้านการรักษาพยาบาล จำนวน 10 ท่าน จากนั้นจึงนำข้อมูลผลการวิจัยมาบูรณาการเป็นรูปแบบใหม่เพื่อตอบวัตถุประสงค์ ผลการวิจัยพบว่า การเสริมพลังเพื่อการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่องของผู้ป่วยโรคเบาหวาน มี 6 ด้าน คือ ด้านความร่วมมือ ความจริงของโรค การคิดอย่างไตร่ตรอง การสนับสนุน การดำเนิน การด้วยตนเอง และการปรับเปลี่ยนและคงไว้ โดยเน้น 4 เรื่องสำคัญ คือ การรู้สภาพจริงของตน การเห็นตัวแบบไม่ดี การมีบุคคลสำคัญเป็นเป้าหมาย การสนับสนุนด้วยทีมหรือครอบครัว และการใช้สื่อทันสมัยพอเหมาะต่อบุคคล หลักพุทธธรรมที่เหมาะสมเพื่อเป็นเทคนิคการเสริมพลังการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรค เบาหวาน คือ สัปปุริสธรรม 7 เน้นการรู้ตน รู้ผล รู้ประมาณ และรู้บุคคลจะทำให้เกิดผลดีมากขึ้น นอกจากนั้นควรมีหลักธรรมสนับสนุน คือ กัลยาณมิตรธรรม พละ สัปปายะ และมัชฌิมาปฏิปทา การบูรณาการเทคนิคการเสริมพลังในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยหลักพุทธธรรม เป็นหลัก 3 ด้าน คือ หลักตน หลักความรู้ และหลักสิ่งแวดล้อม สามารถสังเคราะห์รูปแบบเทคนิคการเสริมพลังในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยหลักพุทธธรรม เรียกว่า “KIE Model”หรือ “พุทธพลัง” โดยการรู้ตนและรู้ด้านต่าง ๆ ของสัปปุริสธรรมควบคู่กับหลักการเสริมพลัง เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีพลังดูแลตนเองต่อเนื่อง ชะลอภาวะแทรกซ้อน และมีชีวิตป่วยอย่างเป็นสุข
The objectives of this thesis were as follows: 1) to study the self-care of diabetic patients by empowerment technique, 2) to study Buddhadhamma for self-care empowerment in diabetic patients, 3) to integrate empowerment technique of self-care in diabetic patients with Buddhadhamma, and 4) to propose the guideline and the new body of knowledge about “The integrated model of empowerment technique of self-care in diabetic patients with Buddhadhamma.” The mixed research methodology was used in the study. The quantitative data were collected from 118 diabetic patients, and the qualitative data were obtained from documents and in-depth interviews with 20 diabetic patients, 6 nurses, and 10 key informants in Buddhism, empowerment and nursing, and group discussions with 6 members of empowerment group in the hospital and 37 members in network hospitals. The data were analyzed and integrated to answer the study objectives. The results of the research could be summarized as follows: Self-care of diabetic patients by empowerment consisted of 6 factors; collaboration, present sign reflective, critical thinking, support, self operation, and adjustment and maintaining. It was focused on 4 main subjects; self-realization, negative model vision, having distinguished individual as a model, team-support or family-support, and using suitable media. The Buddhamma suitable for the empowerment technique of self-care in diabetic patients are Sappurisadhamma, Kalayanamittadhamma, Bala, Sappaya, and the Middle Path. The integrated empowerment technique of self-care in diabetic patients with Buddhadhamma consists of 3 aspects; Oneself, Knowledge, and Environment. The empowerment technique of self-care in diabetic patients integrated with Buddhadhamma could be synthesized into “KIE Model”or “Buddha-Power” by knowing oneself, principles of Sappurisadhamma and empowerment techniques in helping diabetic patients have self-care empowerment, reduce complication, and live their life with happiness.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง การสอนพระพุทธศาสนาตามแนวนวังคสัตถุศาสน์ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการสอน ๒) เพื่อศึกษานวังคสัตถุศาสน์ ๓) เพื่อบูรณาการ การสอนพระพุทธศาสนาตามแนวนวังคสัตถุศาสน์ ๔) เพื่อนำเสนอแนวทางและองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการสอนพระพุทธศาสนาตามแนวนวังคสัตถุศาสน์” ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสาร (Documentary Qualitative Research) ศึกษาจากเอกสารชั้นปฐมภูมิ คือ พระไตรปิฎกและอรรถกถา และเอกสารชั้นทุติยภูมิอื่น ๆ มีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญทั้งด้านการสอนและด้านพระพุทธศาสนา จำนวน ๑๗ รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการสอนทางการศึกษาในโลกโดยมากใช้รูปแบบอนุกรมวิธานของบลูม (Bloom’s Taxonomy) เป็นฐานจิตวิทยาการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียน ๓ ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสามารถทางปัญญา ๖ ระดับ ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า ด้านจิตพิสัย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถทางใจ ๕ ระดับ ได้แก่ การรับรู้ การตอบสนอง การสร้างค่านิยม การจัดรวบรวม และการสร้างลักษณะนิสัย ด้านทักษะพิสัย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ ๕ ระดับ ได้แก่ การเลียนแบบ การทำตามข้อกำหนด การทำอย่างมีคุณภาพ การผสมผสาน และการปรับตัว ปัจจุบันได้มีปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็นทักษะการเรียนในศตวรรษที่ ๒๑ มุ่งพัฒนาทักษะผู้เรียน ๕ ด้าน คือ การรู้หนังสือ การคิด การทำงาน การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ และการใช้ชีวิต เนื้อหาทางการศึกษาเรียนรู้พระพุทธศาสนาทั้งระบบ เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์ เป็นลักษณะการเรียนรู้คำสอนของพระพุทธเจ้าทั้ง ๙ ประการ คือ สุตตะ (บรรยาย) เคยยะ (ท่วงทำนอง) เวยยากรณะ (แจกแจง) คาถา (กวี) อุทานะ (เปล่งออกมาจากความรู้สึก) อิติวุตตกะ (อ้างอิง) ชาตกะ (อดีตชาติ) อัพภูตธรรมะ (อัศจรรย์) และเวทัลละ (ถามตอบ) แต่ละลักษณะมุ่งให้ผู้เรียนเข้าใจรูปแบบ เนื้อหา ถ้อยคำการสื่อสาร และความพร้อมของผู้เรียนที่เกี่ยวกับบุคคล เวลา และสถานที่ การสอน ในพระพุทธศาสนามุ่งให้ผู้เรียนได้เข้าใจและเกิดการเปลี่ยนแปลงจากภายใน การบูรณาการการสอนพระพุทธศาสนาตามแนวนวังคสัตถุศาสน์ สามารถบูรณาการใน ๔ มิติ คือ ๑) โครงสร้างองค์รวม เป็นการเรียนรู้คำสอนเชิงโครงสร้างแบบบรรยาย บรรยายประกอบกวี และบทกวี เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะทั้งการบรรยายและกวี ๒) สารัตถธรรม เป็นการเรียนรู้เนื้อหาคำสอน ที่มุ่งให้ผู้เรียนเกื้อกูลกันในสังคม รักษากฎเกณฑ์ทางสังคม ฝึกฝนอบรมจิตใจให้เข้มแข็งและรอบรู้ทันต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรอบตัว ๓) นิรุกติศาสตร์ เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะทางภาษาและ การสื่อสาร รู้จักวิธีตีความคำสอนให้เป็นไปตามนัยที่พระพุทธเจ้ามุ่งหมายและเป็นการใช้ภาษา ให้เหมาะกับบุคคลและกาลเทศะ ๔) ความพร้อมของบุคคล เป็นการพัฒนาให้รู้จักสังเกตความพร้อมของผู้เรียนทั้งปัจจัยภายใน คือ ความเชื่อมั่น ขยัน สนใจ ตั้งใจ และตื่นตัว และปัจจัยภายนอก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ที่พร้อมทำงานเต็มที่ จากการบูรณาการทั้ง ๔ ด้านนี้ย่อมสร้างความสมดุล ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถทั้งด้านศาสตร์ คือ ความรู้ในหลักวิชาและหลักปฏิบัติ (มัชเฌนธรรมและมัชฌิมาปฏิปทา) ด้านศิลป์ คือ ความรู้สึกและความประพฤติที่งดงาม (สันติธรรมและสุนทรียธรรม)
ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง การสอนพระพุทธศาสนาตามแนวนวังคสัตถุศาสน์ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการสอน ๒) เพื่อศึกษานวังคสัตถุศาสน์ ๓) เพื่อบูรณาการ การสอนพระพุทธศาสนาตามแนวนวังคสัตถุศาสน์ ๔) เพื่อนำเสนอแนวทางและองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการสอนพระพุทธศาสนาตามแนวนวังคสัตถุศาสน์” ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสาร (Documentary Qualitative Research) ศึกษาจากเอกสารชั้นปฐมภูมิ คือ พระไตรปิฎกและอรรถกถา และเอกสารชั้นทุติยภูมิอื่น ๆ มีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญทั้งด้านการสอนและด้านพระพุทธศาสนา จำนวน ๑๗ รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการสอนทางการศึกษาในโลกโดยมากใช้รูปแบบอนุกรมวิธานของบลูม (Bloom’s Taxonomy) เป็นฐานจิตวิทยาการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียน ๓ ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสามารถทางปัญญา ๖ ระดับ ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า ด้านจิตพิสัย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถทางใจ ๕ ระดับ ได้แก่ การรับรู้ การตอบสนอง การสร้างค่านิยม การจัดรวบรวม และการสร้างลักษณะนิสัย ด้านทักษะพิสัย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ ๕ ระดับ ได้แก่ การเลียนแบบ การทำตามข้อกำหนด การทำอย่างมีคุณภาพ การผสมผสาน และการปรับตัว ปัจจุบันได้มีปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็นทักษะการเรียนในศตวรรษที่ ๒๑ มุ่งพัฒนาทักษะผู้เรียน ๕ ด้าน คือ การรู้หนังสือ การคิด การทำงาน การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ และการใช้ชีวิต เนื้อหาทางการศึกษาเรียนรู้พระพุทธศาสนาทั้งระบบ เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์ เป็นลักษณะการเรียนรู้คำสอนของพระพุทธเจ้าทั้ง ๙ ประการ คือ สุตตะ (บรรยาย) เคยยะ (ท่วงทำนอง) เวยยากรณะ (แจกแจง) คาถา (กวี) อุทานะ (เปล่งออกมาจากความรู้สึก) อิติวุตตกะ (อ้างอิง) ชาตกะ (อดีตชาติ) อัพภูตธรรมะ (อัศจรรย์) และเวทัลละ (ถามตอบ) แต่ละลักษณะมุ่งให้ผู้เรียนเข้าใจรูปแบบ เนื้อหา ถ้อยคำการสื่อสาร และความพร้อมของผู้เรียนที่เกี่ยวกับบุคคล เวลา และสถานที่ การสอน ในพระพุทธศาสนามุ่งให้ผู้เรียนได้เข้าใจและเกิดการเปลี่ยนแปลงจากภายใน การบูรณาการการสอนพระพุทธศาสนาตามแนวนวังคสัตถุศาสน์ สามารถบูรณาการใน ๔ มิติ คือ ๑) โครงสร้างองค์รวม เป็นการเรียนรู้คำสอนเชิงโครงสร้างแบบบรรยาย บรรยายประกอบกวี และบทกวี เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะทั้งการบรรยายและกวี ๒) สารัตถธรรม เป็นการเรียนรู้เนื้อหาคำสอน ที่มุ่งให้ผู้เรียนเกื้อกูลกันในสังคม รักษากฎเกณฑ์ทางสังคม ฝึกฝนอบรมจิตใจให้เข้มแข็งและรอบรู้ทันต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรอบตัว ๓) นิรุกติศาสตร์ เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะทางภาษาและ การสื่อสาร รู้จักวิธีตีความคำสอนให้เป็นไปตามนัยที่พระพุทธเจ้ามุ่งหมายและเป็นการใช้ภาษา ให้เหมาะกับบุคคลและกาลเทศะ ๔) ความพร้อมของบุคคล เป็นการพัฒนาให้รู้จักสังเกตความพร้อมของผู้เรียนทั้งปัจจัยภายใน คือ ความเชื่อมั่น ขยัน สนใจ ตั้งใจ และตื่นตัว และปัจจัยภายนอก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ที่พร้อมทำงานเต็มที่ จากการบูรณาการทั้ง ๔ ด้านนี้ย่อมสร้างความสมดุล ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถทั้งด้านศาสตร์ คือ ความรู้ในหลักวิชาและหลักปฏิบัติ (มัชเฌนธรรมและมัชฌิมาปฏิปทา) ด้านศิลป์ คือ ความรู้สึกและความประพฤติที่งดงาม (สันติธรรมและสุนทรียธรรม)
ทั้งนี้ต้องอาศัยรูปแบบทางนวัตกรรมทางการศึกษาและการรวมลงสู่ความไม่ยึดมั่นถือมั่น เพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญารู้ทันและรู้แก้ปัญหาในชีวิต จากการสังเคราะห์ผลวิจัยจึงได้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับรูปแบบบูรณาการการสอนพระพุทธศาสนาตามแนวนวังคสัตถุศาสน์ คือ การเรียนการสอนพระพุทธศาสนาที่สร้างทักษะทางศาสตร์และศิลป์ อาศัยนวัตกรรมและการปล่อยวางเพื่อความสุขในชีวิต เรียกว่า SAINP Model
The objectives of the dissertation entitled “Buddhist Teaching Methods according to Navangasatthussana” were as follows: 1) to study the concept and theory of teaching, 2) to study Navangasatthussana, 3) to integrate the teaching methods according to Navangasatthussana, and 4) to propose a guideline in building the new body of knowledge regarding the model of integrating the Buddhist teaching method according to Navangasatthussana”. The research employed the documentary qualitative methodology collecting data from the primary source, Tipitaka and Commentaries, other related secondary sources, and in-depth interviews with 17 key-informants in teaching and in Buddhism. The research results found that: Bloom’s Taxonomy model was used in most teaching methods as a learning psychological base with the focus on the development of learners’ three domains; cognitive domain to develop learners’ intellectual abilities in six skills including knowledge, understanding, implementation, analysis, synthesis and evaluation, affective domain to develop learners’ mental abilities in five skills including perception, response, creating values, organizing and creating character traits, and psychomotor domain to develop learners’ skills in five levels including imitation, following the requirements, quality doing, integration and adjustment. Nowadays the teaching model has been changed to learning skills in the 21st century with the aim to develop learners’skills in five areas: literacy, thinking, working, information technology, and living. Navangasatthussana is a characteristic of learning the Buddha’s teachings in nine aspects; Sutta (descriptive), Geyya (melody), Veyykarana (enumerating), Gth (poem), Udna (proclaiming by deep feeling), Itivuttaka (reference), Jtaka (previous birth), Abbhtadhamma (miracle), and Vedalla (question and answer). Each characteristic aims at understanding the form, content, words, communication, and readiness of the learners regarding person, time and place. Buddhist teaching focuses on learners’ understanding and internal change. Integration of Buddhist teaching in accordance with Navangasatthussana could be done in four dimensions; 1) the holistic structure, learning in the descriptive, descriptive and poetry, and the poetry structure in order to improve learners’ skills in both description and poetry, 2) the essence of Dhamma, learning the Buddhist contents for helping each other in society, preserving social rules, training mind to control defilements, and being aware of events occurring around, 3)hermeneutics, to develop learners with skills in languages and communication, interpreting the Buddha’s teachings correctly, and using language suitable to person, space and time, and 4) the readiness of the person, developing and observing the readiness of the learners in both internal factors; confidence, diligence, interest, intention and alertness, and external factors; eyes, ears, nose, tongue, and body. The integration of the four aspects will create a balance in the development of learners’ ability in both science or knowledge in both principles and practices (Majjhenadhamma and Majjhimpatipadh), and arts or good feeling and good behaviors (Santidhamma and Sundhariyadhamma). Both sides need to gain encouragement from an education innovation and non-attachment in order to accomplish the wisdom and solution of life problems. The new body of knowledge about Buddhist teaching methods according to Navangasatthussana synthesized from the study is to learn and teach Buddhism for creating skills in arts and science through educational innovation and non-attachment for happiness in life, and that can be concluded into a SAINP Model.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความเหมาะสมของตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้าง 2) เพื่อทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับพฤติกรรมตัวบ่งชี้ของแต่ละตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับตัวบ่งชี้ของแต่ละองค์ประกอบย่อย และโมเดลในระดับองค์ประกอบย่อยของวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง 3) เพื่อระบุองค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง และ 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้มาตรประเมินค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.96 จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 640 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1.ตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อย 12 ตัวบ่งชี้ และ 48 พฤติกรรมตัวบ่งชี้ จำแนกได้ดังนี้ องค์ประกอบย่อยของการคิดสร้างสรรค์ มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การคิดแก้ปัญหา 2) มีจินตนาการ 3) มีความคิดเชื่อมโยง องค์ประกอบย่อยของธรรมาภิบาล มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ความโปร่งใส 2) ความรับผิดชอบ 3) การมีส่วนร่วม องค์ประกอบย่อยของการทำงานเป็นทีม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) รับผิดชอบร่วมกัน 2) มีเป้าหมายเดียวกัน 3) มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน องค์ประกอบย่อยของนวัตกรรม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลง 2) การคิดค้น 3) การทดลอง โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยที่เหมาะสมตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 2.โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (2 ) เท่ากับ 82.18 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 42 ("χ" ^"2" /df =1.95) และค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.98 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.96 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.039 3.องค์ประกอบย่อยมีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้มีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมบ่งชี้ 4.นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มาบูรณาการเข้ากับศาสตร์สมัยไหม่ พร้อมกับยึดคติพจน์ของมหาวิทยาลัย คือ ระเบียบ สามัคคี บำเพ็ญประโยชน์ มาเป็นกรอบในการพัฒนา
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความเหมาะสมของตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้าง 2) เพื่อทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับพฤติกรรมตัวบ่งชี้ของแต่ละตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับตัวบ่งชี้ของแต่ละองค์ประกอบย่อย และโมเดลในระดับองค์ประกอบย่อยของวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง 3) เพื่อระบุองค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง และ 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้มาตรประเมินค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.96 จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 640 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1.ตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อย 12 ตัวบ่งชี้ และ 48 พฤติกรรมตัวบ่งชี้ จำแนกได้ดังนี้ องค์ประกอบย่อยของการคิดสร้างสรรค์ มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การคิดแก้ปัญหา 2) มีจินตนาการ 3) มีความคิดเชื่อมโยง องค์ประกอบย่อยของธรรมาภิบาล มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ความโปร่งใส 2) ความรับผิดชอบ 3) การมีส่วนร่วม องค์ประกอบย่อยของการทำงานเป็นทีม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) รับผิดชอบร่วมกัน 2) มีเป้าหมายเดียวกัน 3) มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน องค์ประกอบย่อยของนวัตกรรม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลง 2) การคิดค้น 3) การทดลอง โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยที่เหมาะสมตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 2.โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (2 ) เท่ากับ 82.18 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 42 ("χ" ^"2" /df =1.95) และค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.98 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.96 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.039 3.องค์ประกอบย่อยมีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้มีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมบ่งชี้ 4.นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มาบูรณาการเข้ากับศาสตร์สมัยไหม่ พร้อมกับยึดคติพจน์ของมหาวิทยาลัย คือ ระเบียบ สามัคคี บำเพ็ญประโยชน์ มาเป็นกรอบในการพัฒนา
The objectives of this research were as follows: 1) to study the appropriate level of Indicators of organizational culture for personnel under Mahamakut Buddhist University for selecting as structural relationship model, 2) to test the congruence of developed model, and empirical data as specified criterion, 3) to indicate the minor factor, indicator and behavioral indicator having structural accuracy, and 4) to study the guidelines for the development of organizational culture for personnel under Mahamakut Buddhist University. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected by 5-level rating scale questionnaire with reliability coefficient 0.96 from 640 samples under Mahamakut Buddhist University obtained by stratified random sampling. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation (SD), and confirmatory factor analysis by instant statistical software. The research findings were as follows 1.The indicators of organizational culture for personnel under Mahamakut Buddhist University consisted of 4 minor factors, 12 indicators, and 48 behavioral indicators. The minor factors of creative thinking had 3 indicators; 1) problem solving, 2) imagination, and 3) linking idea. The minor factors of good governance had 3 indicators; 1) transparency, 2) responsibility, and 3) collaboration. The minor factors of teamwork had 3 indicators; 1) co-responsibility, 2) unity target, and 3) interaction. The minor factors of innovation had 3 indicators; 1) transformation, 2) invention, and 3) experiment. The average value and distribution coefficient for selecting the structural model of organizational culture indicators for personnel under Mahamakut Buddhist University was equal to or more than 3.00. 2. The elements of the model were consistent with empirical data with the Chi - Square ("χ" ^"2" ) value equaled to 82.18, the degrees of freedom (df) equaled to 42 ("χ" ^"2" /df =1.95), the goodness of fit index (GFI) was 0.98, the adjusted goodness of fit index (AGFI) was 0.96, and the Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA) was 0.039. 3.The minor factor had factor loading higher than 0.50 in very indicator. The behavioral factor had factor loading in higher level than the criterion at 0.30 in every indicator and behavioral indicator. 4.The application of Buddhist principles to integrate with modern science and also adhering to the university motto, namely regulations, unity, rendering services.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ 3) เพื่อบูรณาการการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ด้วยการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ด้วยการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่” ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Oualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth-interview) เป็นเครื่องมือใน การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระสงฆ์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ โดยเป็นวัดที่ได้รับการประกาศเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น จากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ย้อนหลัง 3 ปี พ.ศ. 2558 ถึง 2560 กระจายทุกภาคของประเทศ ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 79 วัด/จำนวน 474 รูป/คน, สัมภาษณ์ พระสังฆาธิการ จำนวน 9 รูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารจัดการงานสาธารณูปการของคณะสงฆ์ เป็นงานก่อสร้างซ่อมแซมและงานบูรณปฏิสังขรณ์ วางแผนปรับปรุง การพัฒนารวมไปถึงการทําวัดให้สะอาดร่มรื่นสะดวกสบาย ดูสวยงามให้สบายตาเป็นศาสนสถานที่สัปปายะ ปัญหาที่พบ 1) ระเบียบวิธีการบริหารจัดการงบประมาณมีปัญหา 2) ระบบการบริหารจัดการสาธารณูปการ ทั้งศาสนวัตถุศาสนสถาน ศาสนบุคคลที่สามารถตรวจสอบหรือถ่วงดุลอำนาจกันได้ให้ดำเนินงานไปมีประสิทธิภาพ 3) วัสดุอุปกรณ์สิ่งปลูกสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ในแต่ละวัดยังมีสภาพไม่พร้อม ไม่เหมาะสม ไม่เป็นที่สัปปายะ ไม่สะอาด ไม่เป็นระเบียบ 4) การจัดการของพระสังฆาธิการอาจจะขาดการวางแผน ขาดการจัดทีมงานทั้งพระสงฆ์และฆราวาส ขาดผู้ให้การสนับสนุนการก่อสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ 5) การบูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์ โบสถ์ กุฏิเสนาสนะ ศาลาการเปรียญ ที่ผิดจากรูปแบบดั้งเดิม 2. การบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ : บุคลากรเป็นปัจจัยสำคัญและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเน้นการวิเคราะห์องค์การเชิงระบบ มีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ตัวป้อน กระบวน การ ผลผลิต ผลกระทบ และสิ่งแวดล้อม องค์การปรับรูปแบบได้ทุกสภาวะแวดล้อม ใช้ 3 ทักษะ เพื่อการบริหารจัดการ คือ 1) ทักษะเชิงเทคนิค (การจัดการ) 2) ทักษะเชิงมนุษย์ (มนุษยสัมพันธ์ )และ 3) ทักษะเชิงมโนมติ (วิสัยทัศน์) ผลดี 1) มีคุณภาพด้วยการกระจายอำนาจ 2) ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน เพื่อการพัฒนาการสาธารณูปการเป็นอย่างดี 3) มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ 4) มีการจัดผังวัดตามระเบียบแบบแผน 5) มีการดูแลบำรุงรักษา หรือซ่อมแซมบูรณปฏิสังขรณ์ ที่ทันกาล 6) มีเครือข่ายประสานความร่วมมือช่วยเหลือกัน 7) มีกองทุนมูลนิธิสนับสนุนการบูรณปฏิสังขรณ์ 8) มีการดูแลสุขพลานามัยด้วยกิจกรรม 5 ส 9) มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติจากนิเวศวิทยาแนวลึก 10) มีการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมอย่างเป็นระบบด้วยภูมิสถาปัตยกรรม 11) การพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและการเรียนรู้ด้วยการจัดพิพิธภัณฑ์ในวัด 3.
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ 3) เพื่อบูรณาการการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ด้วยการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ด้วยการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่” ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Oualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth-interview) เป็นเครื่องมือใน การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระสงฆ์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ โดยเป็นวัดที่ได้รับการประกาศเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น จากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ย้อนหลัง 3 ปี พ.ศ. 2558 ถึง 2560 กระจายทุกภาคของประเทศ ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 79 วัด/จำนวน 474 รูป/คน, สัมภาษณ์ พระสังฆาธิการ จำนวน 9 รูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารจัดการงานสาธารณูปการของคณะสงฆ์ เป็นงานก่อสร้างซ่อมแซมและงานบูรณปฏิสังขรณ์ วางแผนปรับปรุง การพัฒนารวมไปถึงการทําวัดให้สะอาดร่มรื่นสะดวกสบาย ดูสวยงามให้สบายตาเป็นศาสนสถานที่สัปปายะ ปัญหาที่พบ 1) ระเบียบวิธีการบริหารจัดการงบประมาณมีปัญหา 2) ระบบการบริหารจัดการสาธารณูปการ ทั้งศาสนวัตถุศาสนสถาน ศาสนบุคคลที่สามารถตรวจสอบหรือถ่วงดุลอำนาจกันได้ให้ดำเนินงานไปมีประสิทธิภาพ 3) วัสดุอุปกรณ์สิ่งปลูกสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ในแต่ละวัดยังมีสภาพไม่พร้อม ไม่เหมาะสม ไม่เป็นที่สัปปายะ ไม่สะอาด ไม่เป็นระเบียบ 4) การจัดการของพระสังฆาธิการอาจจะขาดการวางแผน ขาดการจัดทีมงานทั้งพระสงฆ์และฆราวาส ขาดผู้ให้การสนับสนุนการก่อสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ 5) การบูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์ โบสถ์ กุฏิเสนาสนะ ศาลาการเปรียญ ที่ผิดจากรูปแบบดั้งเดิม 2. การบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ : บุคลากรเป็นปัจจัยสำคัญและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเน้นการวิเคราะห์องค์การเชิงระบบ มีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ตัวป้อน กระบวน การ ผลผลิต ผลกระทบ และสิ่งแวดล้อม องค์การปรับรูปแบบได้ทุกสภาวะแวดล้อม ใช้ 3 ทักษะ เพื่อการบริหารจัดการ คือ 1) ทักษะเชิงเทคนิค (การจัดการ) 2) ทักษะเชิงมนุษย์ (มนุษยสัมพันธ์ )และ 3) ทักษะเชิงมโนมติ (วิสัยทัศน์) ผลดี 1) มีคุณภาพด้วยการกระจายอำนาจ 2) ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน เพื่อการพัฒนาการสาธารณูปการเป็นอย่างดี 3) มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ 4) มีการจัดผังวัดตามระเบียบแบบแผน 5) มีการดูแลบำรุงรักษา หรือซ่อมแซมบูรณปฏิสังขรณ์ ที่ทันกาล 6) มีเครือข่ายประสานความร่วมมือช่วยเหลือกัน 7) มีกองทุนมูลนิธิสนับสนุนการบูรณปฏิสังขรณ์ 8) มีการดูแลสุขพลานามัยด้วยกิจกรรม 5 ส 9) มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติจากนิเวศวิทยาแนวลึก 10) มีการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมอย่างเป็นระบบด้วยภูมิสถาปัตยกรรม 11) การพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและการเรียนรู้ด้วยการจัดพิพิธภัณฑ์ในวัด 3.
บูรณาการการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ด้วยการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ เป็นการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์และพัฒนาการบริหารจัดการด้วยข้อดีของการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ ที่เน้นบุคลากร การวิเคราะห์องค์การเชิงระบบ มีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต ผลกระทบ และสิ่งแวดล้อม องค์การปรับรูปแบบได้ทุกสภาวะแวดล้อม 4. รูปแบบบูรณาการการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่เป็นทฤษฎี PSDH MODEL ได้แก่ Population หมายถึงคนหรือมนุษย์ System หมายถึงระบบองค์ความรู้เพื่อดำเนินงาน Doing หมายถึงการลงมือกระทำด้วยการใช้ความรู้ความสามารถพร้อมกับการพัฒนาองค์ความรู้ของภาระงาน Harmony ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกลมเกลียวขององค์กร ซึ่งได้จากบูรณาการปัญหาการบริหารจัดการ 4 ด้าน คือ 1. การวางแผน (Planning) 2. การจัดการองค์การ (Organizing) 3. ภาวะผู้นำ (Leader) 4. การติดตามและประเมินผล (Monitoring & Evaluation) กับข้อดีจากทักษะการบริหาร เชิงเทคนิค เชิงมนุษย์ และเชิงมโนมติ
The objectives of this dissertation were as follows; 1) to study the state of Buddhist infrastructure management of the Sangha, 2) to study the modern infrastructure management, 3) to integrate the Buddhist infrastructure management of the Sangha integrated by the modern infrastructure management, and 4) to create and propose a guideline and knowledge about the Buddhist infrastructure management of the Thai Sangha integrated by modern infrastructure management. The Research is Qualitative Research by In-Depth interview with Key Informant and to observe and participate in manual activities as tools to analyze the data collected by the application in accordance. The samples used in the study were monks and personnel who involved with public assistance management of the Sangha in 79 developed and outstanding performance temples declared by Office of National Buddhism from 2558 to 2560 nationwide. The Sample number are 474 monks/people. The results of research were found that 1. Buddhist infrastructure manage of the Thai Sangha is construction, renovation, restoration, planning, improving the temple areas and buildings into good and pleasurable conditions. The problems encountered were; 1) Budget management was unsystematic, 2) Infractructure system of religious place and religious personnel was not related by effectively check and balance system, 3) Renovation and restoration were not in order and comfortable, 4) The administrative monks lacked of management skills planning, teamwork, and the renovation was failed, and 5) The restoration of the Pagoda, Chapel, Pavilion at a temple wrong from the traditional style. 2. In modern infrastructure management, personnel are important factors and influence the development. It focuses on organizational systematic analysis. There is a relationship between different parts, the input elements, processes, outputs, impacts, and environment. The organization can be adjusted according to environment. The management is based on 3 skills; 1) Technical skills (management), 2) Human skills (Human relations), and 3) Conceptual skills (vision). The positive results are; 1) Quality by decentralization, 2) Get help from all organization for devennlopment infrastructure, 3) Systematic planning, 4) Placing area on temple master plans, 5) Religious places are maintained and repaired timely, 6) There is a network to coordinate and help each other, 7) There is a foundation and fund for the restoration of religious places, 8) Taking care of the public health in community with 5 S activities, 9) Natural resource conservation from Ecology in-depth, 10) Authentic culture conservation based on landscape architecture, and 11) There is develop temples into tourist attractions and learning museums. 3. Buddhist infrastructure management of the Thai Sangha integrated by modern infrastructure management is the solution of Buddhist infrastructure management of the Thai Sangha and development of traditional management by modern Infrastructure management system focusing on personnel, and organizational system analysis. There is a relationship between different parts, the input elements, processes, outputs, impacts and environment. The organization can be adjusted according to conditions and environment. 4. The integrated management model is the PSDH MODEL theory, P refers to population or people, S refers to system knowledge management for operation, D means doing, and H means harmony in the organization derived from the integration of 4 aspects in management : 1. Planning, 2. Organization Management, 3. Leadership, and 4. Monitoring and Evaluation together with advantages from human, technical, and conceptual management skills.