Search results

155 results in 0.31s

หนังสือ

    การวิจัยเรื่อง “แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุค”นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดจริยศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดปรัชญาหลังนวยุค 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคและ 4) เพื่อวิจารณ์แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารการศึกษาเอกสารทั้งที่เกี่ยวข้องกับจริยศาสตร์และปรัชญาหลังนวยุคจากนั้นได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์และวิจารณ์ในลักษณะการพรรณนาเชิงวิเคราะห์เพื่อสร้างกรอบแนวคิดภายใต้ระเบียบวิธีการศึกษาจริยศาสตร์แบบบรรทัดฐาน ผลวิจัยสรุปว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในปรัชญานวยุคเป็นวิกฤติเชิงคุณค่า จึงจำต้องนำเสนอแนวคิดทางจริยศาสตร์เชิงคุณธรรม (Virtue Ethics) ซึ่งเป็นความดีที่หล่อหลอมอยู่ในตัวตนของมนุษย์มีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1) คุณธรรมติดตัว (Virtue of Character) เป็นการตระหนักรู้ว่า มนุษย์มีคุณค่าในฐานะตัวตนทางอภิปรัชญาโดยที่อัตถิภาวะต้องสร้างสารัตถะบนพื้นฐานของเสรีภาพแห่งตนที่ได้มาโดยกำเนิดโดยสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในโลกเพื่อเป้าหมายแห่งการสำแดงอัตถิภาวะแท้ของบุคคลเป็นประการแรกการตระหนักรู้ในคุณสมบัติเฉพาะของมนุษย์เป็นประการที่สองและ ประการสุดท้ายเป็นวิถีแห่งมนุษย์ที่เป็นสัตว์ระดับจิตวิญญาณที่ประกอบด้วย 3 พฤติกรรมหลัก คือ (1) การแสวงหาความจริงของมนุษย์(2) แสวงหาความหมายของชีวิตและ (3) ความหมายของการมีชีวิตอยู่ 2) ปัญญาภาคปฏิบัติ (Practical Wisdom) เป็นการตระหนักรู้ว่าสังคมมีคุณค่าในฐานะพื้นที่ทางจริยะที่มนุษย์ต้องดำรงอยู่ด้วยการอิงอาศัยกันและเคารพในขอบเขตของเสรีภาพแห่งตนและผู้อื่น 3) ความสุขจากความงอกงาม (Flourishing Happiness) เป็นการตระหนักรู้ญาณวิทยาศาสตร์มีคุณค่าในฐานะเครื่องมือทางญาณวิทยาได้พัฒนาองค์ความรู้โดยใช้เวลาก่อตัวยาวนานเพื่อเป็นเครื่องมือในการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์เท่านั้น การนำมาประยุกต์ใช้จำต้องอยู่ภายใต้กรอบของจริยธธรรมเป็นสำคัญ
การวิจัยเรื่อง “แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุค”นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดจริยศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดปรัชญาหลังนวยุค 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคและ 4) เพื่อวิจารณ์แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารการศึกษาเอกสารทั้งที่เกี่ยวข้องกับจริยศาสตร์และปรัชญาหลังนวยุคจากนั้นได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์และวิจารณ์ในลักษณะการพรรณนาเชิงวิเคราะห์เพื่อสร้างกรอบแนวคิดภายใต้ระเบียบวิธีการศึกษาจริยศาสตร์แบบบรรทัดฐาน ผลวิจัยสรุปว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในปรัชญานวยุคเป็นวิกฤติเชิงคุณค่า จึงจำต้องนำเสนอแนวคิดทางจริยศาสตร์เชิงคุณธรรม (Virtue Ethics) ซึ่งเป็นความดีที่หล่อหลอมอยู่ในตัวตนของมนุษย์มีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1) คุณธรรมติดตัว (Virtue of Character) เป็นการตระหนักรู้ว่า มนุษย์มีคุณค่าในฐานะตัวตนทางอภิปรัชญาโดยที่อัตถิภาวะต้องสร้างสารัตถะบนพื้นฐานของเสรีภาพแห่งตนที่ได้มาโดยกำเนิดโดยสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในโลกเพื่อเป้าหมายแห่งการสำแดงอัตถิภาวะแท้ของบุคคลเป็นประการแรกการตระหนักรู้ในคุณสมบัติเฉพาะของมนุษย์เป็นประการที่สองและ ประการสุดท้ายเป็นวิถีแห่งมนุษย์ที่เป็นสัตว์ระดับจิตวิญญาณที่ประกอบด้วย 3 พฤติกรรมหลัก คือ (1) การแสวงหาความจริงของมนุษย์(2) แสวงหาความหมายของชีวิตและ (3) ความหมายของการมีชีวิตอยู่ 2) ปัญญาภาคปฏิบัติ (Practical Wisdom) เป็นการตระหนักรู้ว่าสังคมมีคุณค่าในฐานะพื้นที่ทางจริยะที่มนุษย์ต้องดำรงอยู่ด้วยการอิงอาศัยกันและเคารพในขอบเขตของเสรีภาพแห่งตนและผู้อื่น 3) ความสุขจากความงอกงาม (Flourishing Happiness) เป็นการตระหนักรู้ญาณวิทยาศาสตร์มีคุณค่าในฐานะเครื่องมือทางญาณวิทยาได้พัฒนาองค์ความรู้โดยใช้เวลาก่อตัวยาวนานเพื่อเป็นเครื่องมือในการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์เท่านั้น การนำมาประยุกต์ใช้จำต้องอยู่ภายใต้กรอบของจริยธธรรมเป็นสำคัญ
The objectives of the research entitled “Ethical Concepts in Postmodernism” were as follows: 1) to study Ethics, 2) to study Postmodernism, 3) to analyze ethical concepts in Postmodernism, and 4) to criticize ethical concepts in Postmodernism. This qualitative research was conducted as Documentary Research by applying both primary and secondary sources concerning Ethics and Postmodernism. Then, the data were analyzed and criticized in style of Critical Description to formulate conceptual framework, on the basis of Normative Ethics. The results of the research were found that the problems emerging in Modernism was the crisis of human value. It is required that virtue ethics, embedded in a human body, must be proposed to solve the problems. It is comprised of: 1) “Virtue of Character” is the awareness of human as value of metaphysic identity. As of this, an existence must create essence by endowed freedom in connection with others in the world for the purpose of authentic existence manifestation in the first place, including the awareness of humanly specific genies in the second place, and in the final place, human ways of spiritual being in 3 aspects such as (1) search for truth of human, (2) search for meanings of life, and (3) search for meaning of living. 2) Practical Wisdom is the awareness of society as value of spacio-ethics in which humans must live as space of interdependence and respect the scope of mutual freedom. 3) Flourishing Happiness is the awareness of science as value of epistemological instrument. This demonstrates that scientific epistemology has been developing with long-formulation to advance human lives only, so the application of entity of science requires greatness of ethical care. For that reason, once the previous Modernism society confronted with the “Crisis of Human Value”, “Virtue Ethics” must be educated into the current Postmodernism society so as to foster mutual habitation with real blessing.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทักษะชีวิตและกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต 2) เพื่อศึกษาหลักคำสอนเรื่องกายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต 3) เพื่อศึกษากายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตแนวพุทธ ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้วยวิธีศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เพื่อหาข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า : ทักษะชีวิตและกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต พบว่าองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นผู้แพร่คำว่า “ทักษะชีวิต” (Life Skill) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาด้าน ร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ โดยมีองค์ประกอบ 10 ด้านคือ 1) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2) ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์3) ทักษะด้านการตระหนักรู้ในตน 4) ทักษะด้านการเข้าใจผู้อื่น 5) ทักษะด้านการตัดสินใจ 6) ทักษะด้านการแก้ปัญหา 7) ทักษะด้านการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 8) ทักษะด้านการจัดการกับความเครียด 9) ทักษะด้านการจัดการกับอารมณ์ และ 10) ทักษะด้านการจัดการกับความเครียด โดยมีแนวทางแห่งการพัฒนาแบ่งออกเป็น 4 ด้านคือ 1) การพัฒนาด้านกายภาพ 2) การพัฒนาด้านศีลธรรม 3) การพัฒนาด้านจิตใจหรืออารมณ์ 4) การพัฒนาทางสติปัญญา กายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต พบว่า กายคตาสติ เป็นกรรมฐานเพื่อพัฒนาสติโดยใช้พิจารณาองค์ประกอบของร่างกาย คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็นของไม่สะอาด ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น เพื่อให้เกิดความเบื่อหน่าย เป็นหลักทำให้เกิดทักษะ 4 ด้าน คือ 1) ทักษะด้านการตระหนักรู้ในตน 2) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3) ทักษะด้านการจัดการกับอารมณ์ 4) ทักษะด้านการแก้ปัญหา กายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตแนวพุทธ พบว่า การปฏิบัติกายคตาสติทำให้เกิดปัญญาเห็นความเป็นจริงในกฏไตรลักษณ์ของกายและใจ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางพัฒนาทักษะชีวิต 2 ประการคือ พัฒนาด้านกาย และพัฒนาด้านจิตใจ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทักษะชีวิตและกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต 2) เพื่อศึกษาหลักคำสอนเรื่องกายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต 3) เพื่อศึกษากายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตแนวพุทธ ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้วยวิธีศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เพื่อหาข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า : ทักษะชีวิตและกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต พบว่าองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นผู้แพร่คำว่า “ทักษะชีวิต” (Life Skill) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาด้าน ร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ โดยมีองค์ประกอบ 10 ด้านคือ 1) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2) ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์3) ทักษะด้านการตระหนักรู้ในตน 4) ทักษะด้านการเข้าใจผู้อื่น 5) ทักษะด้านการตัดสินใจ 6) ทักษะด้านการแก้ปัญหา 7) ทักษะด้านการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 8) ทักษะด้านการจัดการกับความเครียด 9) ทักษะด้านการจัดการกับอารมณ์ และ 10) ทักษะด้านการจัดการกับความเครียด โดยมีแนวทางแห่งการพัฒนาแบ่งออกเป็น 4 ด้านคือ 1) การพัฒนาด้านกายภาพ 2) การพัฒนาด้านศีลธรรม 3) การพัฒนาด้านจิตใจหรืออารมณ์ 4) การพัฒนาทางสติปัญญา กายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต พบว่า กายคตาสติ เป็นกรรมฐานเพื่อพัฒนาสติโดยใช้พิจารณาองค์ประกอบของร่างกาย คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็นของไม่สะอาด ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น เพื่อให้เกิดความเบื่อหน่าย เป็นหลักทำให้เกิดทักษะ 4 ด้าน คือ 1) ทักษะด้านการตระหนักรู้ในตน 2) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3) ทักษะด้านการจัดการกับอารมณ์ 4) ทักษะด้านการแก้ปัญหา กายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตแนวพุทธ พบว่า การปฏิบัติกายคตาสติทำให้เกิดปัญญาเห็นความเป็นจริงในกฏไตรลักษณ์ของกายและใจ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางพัฒนาทักษะชีวิต 2 ประการคือ พัฒนาด้านกาย และพัฒนาด้านจิตใจ
The objectives of this thesis are: 1) to study life skills and life skills reinforcement processes, 2) to study the doctrine of mindfulness with regard to the body as a life skills reinforcement process, and 3) to study mindfulness with regard to the body as a Buddhist life skills reinforcement process. The data were collected from textbooks, documents and related research papers and then analyzed for conclusion. The results of the research showed that: "Life Skills" was publicized by The World Health Organization with the aim to provide people to take care of themselves physically, mentally and emotionally. There are 10 components as follows: 1) Critical thinking skills, 2) Creative thinking skills, 3) Self-awareness, 4) Understanding others, 5) Decision making skills, 6) Problem solving skills, 7) Effective communication skills, 8) Interpersonal relationship building skills, 9) Emotional management skills, and 10) Stress management skills divided into 4 areas: 1) physical development, 2) moral development, 3) Mental or emotional development, and 4) Intellectual development. The mindfulness with regard to the body as the reinforcement process in life skills indicates that it is the practice of concentration on body components as hair on the head, hair on the body, nails, teeth, skin, etc. as unclean, should not be attached to, but should feel boredom on it. They are the practices to create 4 skills: 1) self-awareness skills, 2) reflection skills, 3) emotional management skills, and 4) problem solving skills. Physical consciousness as a process in enhancing Buddhist life skills indicates that the practice of physical consciousness can originate wisdom in realizing body and mind according to the Three Common Characteristics and it is in line with 2 methods in life skills development; physical development and mental development.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ตามความคิดเห็นของพนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะ ที่มี เพศ อายุ อายุงาน ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ประชากรได้แก่พนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะ ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ในแขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร จำนวนประชากรทั้งหมด 2,800 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie&Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 338 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า F-test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีความคิดเห็นที่มีต่อภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) โดยรวมทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดย เรียงลําดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านวิสัยทัศน์ (จักขุมา) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการบริหาร (วิธูโร) ส่วน ด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ (นิสสยสัมปันโน) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ตามความคิดเห็นของพนักงาน ที่มี เพศ อายุ อายุงาน ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) คือ ควรเพิ่มการจัดให้มีการอบรมเพื่อเติมความรู้และเพิ่มประสบการณ์ในการบริหารงานให้แก่ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ ผู้บริหารควรพบปะพนักงานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของพนักงาน ควรเป็นผู้ที่มีความสัมพันธ์อันดีกับพนักงานและสร้างการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกภาคส่วน ควรศึกษาปัญหาและความต้องการของพนักงานให้เข้าใจเพื่อจะได้แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเปิดโอกาสให้พนักงานได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กร
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ตามความคิดเห็นของพนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะ ที่มี เพศ อายุ อายุงาน ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ประชากรได้แก่พนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะ ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ในแขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร จำนวนประชากรทั้งหมด 2,800 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie&Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 338 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า F-test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีความคิดเห็นที่มีต่อภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) โดยรวมทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดย เรียงลําดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านวิสัยทัศน์ (จักขุมา) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการบริหาร (วิธูโร) ส่วน ด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ (นิสสยสัมปันโน) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ตามความคิดเห็นของพนักงาน ที่มี เพศ อายุ อายุงาน ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) คือ ควรเพิ่มการจัดให้มีการอบรมเพื่อเติมความรู้และเพิ่มประสบการณ์ในการบริหารงานให้แก่ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ ผู้บริหารควรพบปะพนักงานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของพนักงาน ควรเป็นผู้ที่มีความสัมพันธ์อันดีกับพนักงานและสร้างการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกภาคส่วน ควรศึกษาปัญหาและความต้องการของพนักงานให้เข้าใจเพื่อจะได้แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเปิดโอกาสให้พนักงานได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กร
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the Buddhist leadership of executives of Kasikornbank Public Company Limited, 2) to compare the Buddhist leadership of executives of Kasikornbank Public Company Limited based on opinions of the employees working in Rat Burana Head Office with different genders, ages, work-durations, education levels and monthly incomes, and 3) to study suggestions about the problems and guidelines for solving leadership according to Buddhism of executives of Kasikornbank Public Company Limited. The populations used in the study were 2800 employees working in the Rat Burana Headquarters, in Rat Burana sub-district, Rat Burana District of Bangkok. 338 samples were obtained by using Krejcie and Morgan tables. The data were collected by questionnaire and analyzed by a ready-made computer program. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and the LSD method. The results reveal that: 1) The opinion of employees on the leadership according to the Buddhist concept of executives of Kasikornbank Public Company Limited in all three areas was at a high level. When considering in details with descending order, the vision (Cakkhuma) was at the highest level, followed by management (Vidhuro) and interpersonal relations (Nissayasampanno) respectively. 2) The results of comparison, the employees with different genders, ages, employments, education levels and monthly incomes had no different opinions with statistically significant figure at the .05 level. 3) The suggestions for solving the problems and the solutions in leadership according to Buddhism of executives of Kasikornbank Public Company Limited are that; the executives should be trained, re-skilled and up-skilled in administration, the meetings between the executives and employees should be arranged regularly to build a good relationship to each other, listen to problems in work and seek for cooperation and participation, and the employees should be allowed to share their opinions and participate in organization development.

... 2564

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการยอมรับนับถือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการเข้าสังคม ด้านการประสานงาน ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการมีความคิดริเริ่ม และด้านการโน้มน้าวจิตใจ ตามลำดับ 2) การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ และด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ตามลำดับ 3) ภาวะผู้นำของผู้บริหารส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการประสานงานด้านการมีความคิดริเริ่ม ด้านการเข้าสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.992 (R = 0.992) ซึ่งตัวแปรทั้งสี่ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้ร้อยละ 98.4 (R^2 = 0.984) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 0.052 + 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการยอมรับนับถือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการเข้าสังคม ด้านการประสานงาน ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการมีความคิดริเริ่ม และด้านการโน้มน้าวจิตใจ ตามลำดับ 2) การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ และด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ตามลำดับ 3) ภาวะผู้นำของผู้บริหารส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการประสานงานด้านการมีความคิดริเริ่ม ด้านการเข้าสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.992 (R = 0.992) ซึ่งตัวแปรทั้งสี่ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้ร้อยละ 98.4 (R^2 = 0.984) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 0.052 + 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984)
The objectives of this research were: 1) to study the Leadership of school administrators under the Pathum Thani primary educational service area office 2, 2) to study the committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2 and, 3) to study the school administrators’ leadership affecting the committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2. A sample was collected from 295 informants from 59 schools including director, the committee of fundamental education and teachers. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple regressions. The results of the research ware as follows: 1) The leadership of school administrators under the Pathum Thani primary educational service area office 2 in overall was at a high level. The ranging by the average from high to low that respect, assistance, socializing, co-ordination, knowing improve, initiatives and mental persuasion respectively. 2) The committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2 in overall was at a high level. The ranging by the average from high to low that participation in evaluation, participation in decision making, participation in benefits and participation in operations respectively. 3) The administrators leadership affecting the committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2 was statistically significant at the 0.01 level. The most significant level was on knowing improve, co-ordination, initiatives, socializing was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.992 (R = 0.992) which can explain the variance of the school administrators’ leadership under the Pathum Thani primary educational service area office 2 at 98.4% (R^2 = 0.984). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 0.052 + 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984)
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) สร้างรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญา ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี กลุ่มตัวอย่าง คือโรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 182 โรงเรียน รวมให้ข้อมูลทั้งหมด 728 คน แบบสอบถามีค่าความเชื่อมั่น 0.991 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบประเมิน และรับรองรูปแบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเส้น และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า: 1) องค์ประกอบของรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปร มี 8 องค์ประกอบ คือ กระบวนการ ทางปัญญา ภาวะผู้นำ ขวัญกำลังใจ การเรียนรู้ เทคโนโลยีทางการศึกษา สิ่งแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และความพึงพอใจในองค์การ 2) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันทั้ง 8 องค์ประกอบ โดยมีค่าความสัมพันธ์กันในทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้ง 8 องค์ประกอบ ได้รับการประเมินและรับรองว่ามีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของการวิจัย ผ่านการประเมินคิดเป็น ร้อยละ 100
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) สร้างรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญา ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี กลุ่มตัวอย่าง คือโรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 182 โรงเรียน รวมให้ข้อมูลทั้งหมด 728 คน แบบสอบถามีค่าความเชื่อมั่น 0.991 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบประเมิน และรับรองรูปแบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเส้น และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า: 1) องค์ประกอบของรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปร มี 8 องค์ประกอบ คือ กระบวนการ ทางปัญญา ภาวะผู้นำ ขวัญกำลังใจ การเรียนรู้ เทคโนโลยีทางการศึกษา สิ่งแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และความพึงพอใจในองค์การ 2) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันทั้ง 8 องค์ประกอบ โดยมีค่าความสัมพันธ์กันในทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้ง 8 องค์ประกอบ ได้รับการประเมินและรับรองว่ามีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของการวิจัย ผ่านการประเมินคิดเป็น ร้อยละ 100
The objectives of the study were: 1) to study the components of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission, 2) to create a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission and, 3) to evaluate and verify the implication of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission. The mixed methods research was used in this study. The sample of the study was the administrators and teachers from 182 opportunity expansion schools totally 728 participants. The reliability of questionnaire was 0.991. The research instruments were interview, questionnaire, and the model assessment. The statistics used in the analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis, linear relationship analysis, and content analysis. The results of the research were as follows: 1. The components of a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission used multivariate were found 8 components as 1) cognitive process, 2) leadership, 3) morale, 4) learning, 5) educational technology, 6) environment, 7) development of educational quality and, 8) organizational satisfaction. 2. The 8 components of a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission used multivariate that is related to all 8 elements were statistically significant at the 0.1 level. 3. The 8 components of a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission were at 100% verification of the acceptable range of accuracy, suitability, possibility, and practicality, corresponding to the theoretical studies.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารกิจกรรมลูกเสือที่ส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างจำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป ด้านบุคลากร และด้านการติดตามประเมินผล ตามลำดับ 2) สุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านสุขภาวะทางกาย ด้านสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ด้านสุขภาวะทางจิต และด้านสุขภาวะทางสังคม ตามลำดับ 3) การบริหารกิจกรรมลูกเสือส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.763 (R = 0.0.763) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารกิจกรรมลูกเสือ ได้ร้อยละ 58.3 (R^2= 0.583) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 2.316 + 0.379 (x3) + 0.126 (x1) (R^2= 0.583) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.59 (x3) + 0.187 (x1) (R^2= 0.583)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารกิจกรรมลูกเสือที่ส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างจำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป ด้านบุคลากร และด้านการติดตามประเมินผล ตามลำดับ 2) สุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านสุขภาวะทางกาย ด้านสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ด้านสุขภาวะทางจิต และด้านสุขภาวะทางสังคม ตามลำดับ 3) การบริหารกิจกรรมลูกเสือส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.763 (R = 0.0.763) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารกิจกรรมลูกเสือ ได้ร้อยละ 58.3 (R^2= 0.583) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 2.316 + 0.379 (x3) + 0.126 (x1) (R^2= 0.583) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.59 (x3) + 0.187 (x1) (R^2= 0.583)
The objectives of this research were: 1) to study the conditions of administration boy scouts activities in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province, 2) to study the conditions of the students in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province and, 3) to study the administration of boy scout activities in school affecting health for student under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province. The 327 informants’ cases were included as a sample. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and Multiple Linear Regression by Stepwise Regression. The results of the research ware as follows: 1) The administration boy scout activities in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province in overall was at a medium level. The ranging by the average from high to low that supporting and promoting scout activities, general administration, personnel, and monitoring evaluation respectively. 2) the conditions of the students in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province in overall was at a high level The ranging by the average from high to low that physical health conditions, Spiritual health conditions, mental health conditions and social health conditions respectively. 3) The administration of boy scout activities in school affecting health for student under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani province was statistically significant at the 0.01 level.The most significant level was on supporting and promoting scout activities and general administration was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.763 (R = 0.0.763) which can explain the variance of the conditions of administration boy scout activities in schools at 58.3% (R^2= 0.583). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 2.316 + 0.379 (x3) + 0.126 (x1) (R^2= 0.583) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.59 (x3) + 0.187 (x1) (R^2= 0.583)
หนังสือ

    งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทย, 2) เพื่อศึกษาพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เกี่ยวกับการศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จ, 3) เพื่อวิเคราะห์การศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จตามแนวพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นวิจัยเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนรวม 7 รูป/คน และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทยในปัจจุบันนี้ เป็นการศึกษาเพื่อรักษาและสืบทอด คำสอนทางพระพุทธศาสนา อีกทั้งยังเป็นการศึกษาพิเศษที่สำนักเรียนแต่ละสำนักสามารถจัดการศึกษาได้ด้วยตนเอง แต่พอถึงเวลาสอบวัดผลก็สามารถเข้าสอบได้พร้อมกันทั้งหมด ผู้สอบผ่านจะได้เข้ารับการตั้งเปรียญธรรมตามที่กำหนดไว้ และใบประกาศนียบัตรเทียบเท่าระบบสามัญศึกษาและอุดมศึกษาตามแต่ละชั้นได้ สามารถนำไปต่อยอดการศึกษาสาขาวิชาอื่น ๆ ได้ด้วย แนวพระดำริที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงวางไว้ในการศึกษาภาษาบาลี คือ 1. ใช้เวลาเรียนน้อย 2. ได้ความรู้มาก 3. นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง ซึ่งพระองค์ก็ทรงจัดวิธีการศึกษาแบบใหม่ โดยมีการจัดชั้นเรียนที่ชัดเจน ระบุวันสอบและสถานที่สอบที่ชัดเจน และมีการกำหนดคะแนนสอบได้ สอบตก เปลี่ยนจากการแปลด้วยปากเปล่ามาเป็นวิธีเขียน ทำให้ผู้เข้าสอบมีความสะดวกสบายและง่ายขึ้น การศึกษาภาษาบาลีนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงประสงค์ให้ผู้ศึกษาได้ศึกษาตามลำดับหลักสูตร มีการเข้าชั้นเรียน กำหนดเวลาเรียนให้เกิดความชัดเจน แล้วทำการวัดผลสอบในชั้นเรียน เพื่อเป็นการทดสอบความรู้ความสามารถพระภิกษุสามเณรก่อนเข้าสอบบาลีสนามหลวงจริง ซึ่งผู้ศึกษาจะได้มีความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษาและสามารถนำเอาผลของการศึกษาไปใช้ในทางปฏิบัติ จนทำให้มีผู้สำเร็จการศึกษามากยิ่งขึ้น พระองค์ทรงปรีชาสามารถในการจัดการศึกษา นับว่าเป็นพระอัจฉริยภาพอย่างยิ่งของพระองค์ท่านโดยแท้
งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทย, 2) เพื่อศึกษาพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เกี่ยวกับการศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จ, 3) เพื่อวิเคราะห์การศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จตามแนวพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นวิจัยเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนรวม 7 รูป/คน และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทยในปัจจุบันนี้ เป็นการศึกษาเพื่อรักษาและสืบทอด คำสอนทางพระพุทธศาสนา อีกทั้งยังเป็นการศึกษาพิเศษที่สำนักเรียนแต่ละสำนักสามารถจัดการศึกษาได้ด้วยตนเอง แต่พอถึงเวลาสอบวัดผลก็สามารถเข้าสอบได้พร้อมกันทั้งหมด ผู้สอบผ่านจะได้เข้ารับการตั้งเปรียญธรรมตามที่กำหนดไว้ และใบประกาศนียบัตรเทียบเท่าระบบสามัญศึกษาและอุดมศึกษาตามแต่ละชั้นได้ สามารถนำไปต่อยอดการศึกษาสาขาวิชาอื่น ๆ ได้ด้วย แนวพระดำริที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงวางไว้ในการศึกษาภาษาบาลี คือ 1. ใช้เวลาเรียนน้อย 2. ได้ความรู้มาก 3. นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง ซึ่งพระองค์ก็ทรงจัดวิธีการศึกษาแบบใหม่ โดยมีการจัดชั้นเรียนที่ชัดเจน ระบุวันสอบและสถานที่สอบที่ชัดเจน และมีการกำหนดคะแนนสอบได้ สอบตก เปลี่ยนจากการแปลด้วยปากเปล่ามาเป็นวิธีเขียน ทำให้ผู้เข้าสอบมีความสะดวกสบายและง่ายขึ้น การศึกษาภาษาบาลีนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงประสงค์ให้ผู้ศึกษาได้ศึกษาตามลำดับหลักสูตร มีการเข้าชั้นเรียน กำหนดเวลาเรียนให้เกิดความชัดเจน แล้วทำการวัดผลสอบในชั้นเรียน เพื่อเป็นการทดสอบความรู้ความสามารถพระภิกษุสามเณรก่อนเข้าสอบบาลีสนามหลวงจริง ซึ่งผู้ศึกษาจะได้มีความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษาและสามารถนำเอาผลของการศึกษาไปใช้ในทางปฏิบัติ จนทำให้มีผู้สำเร็จการศึกษามากยิ่งขึ้น พระองค์ทรงปรีชาสามารถในการจัดการศึกษา นับว่าเป็นพระอัจฉริยภาพอย่างยิ่งของพระองค์ท่านโดยแท้
The objectives of this thesis were as follows: 1. to study the Pali language study in Thailand, 2. to study the view of Somdej Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros in the Pali language study, and 3. to analyze the success in study of Pali according to the view of Somdet Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros. The data of this qualitative research were collected from documents and in-depth interviews with 7 experts and then analyzed in a descriptive way. The results of research were found that: The Pali language study in Thailand today is to preserve and transfer the Buddhist teachings. It is also a special education system that each school can operate its study but they have to send their students to take the examination-pool once a year. Those who passed in the examination will be certified as ones versed in Pali or Pariandham. The certificate of Pali study in a specific level is equivalent to the level in general and higher education system. The certificate can be used to apply for further study in other disciplines as well. The views of Somdej Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros in the Pali study were as follows; 1. It takes a little time to learn, 2. The learners gain a lot of knowledge, 3. It can be used for real benefit. In his time, a new educational system was set up; class arrangement, examination schedule and examination criteria were clearly specified; and the oral examination was changed to written examination. In the Pali language study, Somdej Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros wished students study according to the course order, regularly attend class, and do the classroom quizzes to assess their knowledge and understanding in Pali before attending the examination. By this way, students of Pali study can understand the Pali language and can apply their knowledge in work and practice. All these improvements confirmed and showed capability and genius of His Highness in educational management.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้แก่ ประชาคมในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 5,656 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 374 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาคมมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล ส่วนด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้าน การมีส่วนร่วมในการเสนอปัญหา มีความถี่มากที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเสนอปัญหาแผนงานหรือโครงการด้านการพัฒนาสาธารณูปโภค เช่น ถนนและไฟฟ้า เป็นต้นเพียงใด รองลงมา ด้าน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ คือ ท่านมีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจและกำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้แก่ ประชาคมในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 5,656 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 374 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาคมมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล ส่วนด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้าน การมีส่วนร่วมในการเสนอปัญหา มีความถี่มากที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเสนอปัญหาแผนงานหรือโครงการด้านการพัฒนาสาธารณูปโภค เช่น ถนนและไฟฟ้า เป็นต้นเพียงใด รองลงมา ด้าน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ คือ ท่านมีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจและกำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น
This thesis has the following objectives: 1) to study the community participation in the local development plan in Sam Phran District 2) to compare the participation of local people in the development of local development plans in Sampran district Nakhon Pathom province of the community that has different gender, age, education level, status and monthly income. 3) To suggest the participation of the community in formulating the local development plan in Sampran district. Nakhon Pathom province, namely Parachakham in Sam Phran district Nakhon Pathom Province, amount 5,656 people. Determine the size of the samples using the formula of Taro. Yamane received a sample of 385 people. The tools used to collect data were questionnaires. Closed-end and open-ended type Data analysis was done by using a computer program. Statistics for data analysis LSD, frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA or F-test and the Least Significant Difference LSD. The findings were as follows; 1) The community participates in the development of the local administrative organization development plan. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province, in all 5 areas, at the highest level When looking at each aspect, sorted in descending average order, it was found that the participation of There was the highest average, followed by participation in monitoring and evaluation. As for participation, receiving benefits Have the lowest mean respectively When classified by sex, age, educational level, occupation status and monthly income, overall was the highest. 2) The results of comparison of participation in the development plan of the local government organization. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province of the community with different sex, age, education level, occupation status and monthly income were found to be statistically significant difference at 0.05 level. 3) Suggestions on guidelines for promoting community participation in the development of the local administrative organization development plan. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province The results were found in descending order of frequency. How often are you involved with the local government organization in proposing problems, plans or projects in the area of utility development such as roads and electricity, etc. Make decisions and formulate development solutions to address local problems.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย และ 2) พัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง คือ หน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย 34 หน่วย ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร คณะกรรมการบริหาร และครูผู้สอนในอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย จำนวน 340 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) ด้วยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า: 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก 16 องค์ประกอบย่อย 2) ผลการพัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ได้องค์ประกอบที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า χ2/df = 1.952, GFI = 0.951, AGFI = 0.949 และ RMSEA = 0.000 ได้ 4 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ด้านการธำรงรักษาบุคลากร มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) มาตรการดึงดูด พัฒนา รักษาพนักงานที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง 1.2) การสร้างความพึงพอใจในการทำงาน 1.3) นโยบาย แผนงานและมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2) ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มี 5 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การฝึกอบรมและพัฒนา 2.2) การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.3) ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 2.4) การคัดเลือกบุคลากร 2.5) การสรรหาบุคลากร 3) ด้านการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ความต้องการทางด้านร่างกาย 3.2) ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง 3.3) ความต้องการในการประสบผลสำเร็จในชีวิต 3.4) ความต้องการทางสังคม และ 4) ด้านวัฒนธรรมองค์กร มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 4.1) ระดับความมั่นคงขององค์กร 4.2) ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งหรือความเป็นเจ้าของ 4.3) เรื่องราว พิธีการ และพิธีกรรมขององค์กร 4.4) ค่านิยม
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย และ 2) พัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง คือ หน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย 34 หน่วย ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร คณะกรรมการบริหาร และครูผู้สอนในอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย จำนวน 340 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) ด้วยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า: 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก 16 องค์ประกอบย่อย 2) ผลการพัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ได้องค์ประกอบที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า χ2/df = 1.952, GFI = 0.951, AGFI = 0.949 และ RMSEA = 0.000 ได้ 4 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ด้านการธำรงรักษาบุคลากร มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) มาตรการดึงดูด พัฒนา รักษาพนักงานที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง 1.2) การสร้างความพึงพอใจในการทำงาน 1.3) นโยบาย แผนงานและมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2) ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มี 5 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การฝึกอบรมและพัฒนา 2.2) การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.3) ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 2.4) การคัดเลือกบุคลากร 2.5) การสรรหาบุคลากร 3) ด้านการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ความต้องการทางด้านร่างกาย 3.2) ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง 3.3) ความต้องการในการประสบผลสำเร็จในชีวิต 3.4) ความต้องการทางสังคม และ 4) ด้านวัฒนธรรมองค์กร มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 4.1) ระดับความมั่นคงขององค์กร 4.2) ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งหรือความเป็นเจ้าของ 4.3) เรื่องราว พิธีการ และพิธีกรรมขององค์กร 4.4) ค่านิยม
The objectives of this research were: 1) to study the components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya under Mahachulalongkornrajavidyalaya university, and 2) to develop the components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya. The mixed methods research was used in study. 340 samples consist of administrators, committee, and teachers of 34 schools obtained by were used in the study. The data were collected by questionnaires and analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and confirmatory factor analysis by statistical software. The results of the study were as follows: 1) The components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya consists of 4 main components and 16 subcomponents. 2) The results of the development of components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya consists of the empirical data at χ2/df = 1.952, GFI = 0.951, AGFI = 0.949 and RMSEA = 0.000. Consists of 4 main-components: 1) Preservation, consist of 1.1) Catching), 1.2) Complacence, and 1.3) Policy. 2) Resource, consist of 2.1) Training, 2.2) Evaluation, 2.3) Reward, 2.4) Selection, and 2.5) Recruiting. 3) Motivation, consist of 3.1) Physical, 3.2) Security, 3.3) Success, and 3.4) Social. And 4) Culture, consist of 4.1) Stability, 4.2) Ownership, 4.3) Ceremony, and 4.4) Norm.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดทางญาณวิทยา และ 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ตามแนวญาณวิทยา เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ซึ่งศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1) พุทธปฏิมาที่พบรอบองค์พระปฐมเจดีย์มีทั้งสิ้น 80 ปาง และมีจำนวน 67 ปาง ที่มีเอกลักษณ์ในการแสดงพระหัตถ์ที่เรียกว่าการแสดงมุทราตามพุทธประวัติแต่ละตอน จึงทำให้พุทธปฏิมามีท่าทางไม่เหมือนกัน แต่เมื่อพิจารณาโดยรวมแล้วจะได้เป็นอิริยาบถหลัก ๆ 4 อิริยาบถ คือ อิริยาบถยืน 24 ปาง อิริยาบถเดิน 2 ปาง อิริยาบถนั่ง 37 ปาง อิริยาบถนอน 5 ปาง อาการกิริยาที่เห็นต่างนี้เกิดจากช่างปั้นและช่างหล่อจินตนาการสร้างสรรค์งานตามเนื้อหาของพุทธประวัติ 2) ญาณวิทยา เป็นวิชาที่ว่าด้วยทฤษฎีความรู้ ที่มีขอบข่ายของความรู้กว้างขวางตามแนวคิดทฤษฎีที่หลากหลายของนักญาณวิทยาหรือนักปรัชญา มีทั้งแนวคิดที่ตรงกันและขัดแย้งกัน สำหรับในบริบทนี้ได้สรุปแนวคิดทฤษฎีออกเป็น 4 ประเด็น คือ บ่อเกิดของความรู้ ขอบเขตของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และความสมเหตุสมผลของความรู้ 3) วิเคราะห์คุณค่าพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ตามแนวญาณวิทยาในอิริยาบถ ทั้ง 4 คือ อิริยาบถยืน ได้แก่ ปางโปรดพุทธบิดา อิริยาบถเดิน ได้แก่ ปางจงกรมแก้ว อิริยาบถนั่ง ได้แก่ ปางปฐมเทศนา และอิริยาบถนอน ได้แก่ ปางปรินิพพาน วิเคราะห์ตามขอบข่ายของญาณวิทยาทั้ง 4 ประการ คือ บ่อเกิดของความรู้ ขอบเขตของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และความสมเหตุสมผล ของความรู้ คุณค่าของพุทธปฏิมาทั้ง 4 ปาง แสดงให้เห็นถึงบ่อเกิดของความรู้นั้นเกิดขึ้นได้ใน ทุกอิริยาบถไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใดก็สามารถทำให้เกิดความรู้ได้ ด้านขอบเขตของความรู้ มีตั้งแต่ความรู้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตของคนทั่วไป จนถึงความรู้สูงสุดคือ การหลุดพ้นจากกิเลสด้านธรรมชาติของความรู้นั้นความรู้มีธรรมชาติที่ทำให้มนุษย์มีความรู้ตั้งแต่การดำเนินชีวิต และความรู้สูงสุดคือ ทำลายความไม่รู้คือ อวิชชาได้ ด้านความสมเหตุสมผลของความรู้นั้นสามารถพิสูจน์ได้ใน ทุกขณะในทุกเวลาไม่ขึ้นอยู่กับกาล ที่เรียกว่า “อกาลิโก” ความรู้ทั้งหลายมีปรากฏอยู่ในพุทธปฏิมา ต้องวิเคราะห์แยกแยะด้วยปัญญา โดยการพิจารณาโดยแยบคายจึงจะเข้าถึงองค์ความรู้ในพุทธปฏิมา
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดทางญาณวิทยา และ 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ตามแนวญาณวิทยา เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ซึ่งศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1) พุทธปฏิมาที่พบรอบองค์พระปฐมเจดีย์มีทั้งสิ้น 80 ปาง และมีจำนวน 67 ปาง ที่มีเอกลักษณ์ในการแสดงพระหัตถ์ที่เรียกว่าการแสดงมุทราตามพุทธประวัติแต่ละตอน จึงทำให้พุทธปฏิมามีท่าทางไม่เหมือนกัน แต่เมื่อพิจารณาโดยรวมแล้วจะได้เป็นอิริยาบถหลัก ๆ 4 อิริยาบถ คือ อิริยาบถยืน 24 ปาง อิริยาบถเดิน 2 ปาง อิริยาบถนั่ง 37 ปาง อิริยาบถนอน 5 ปาง อาการกิริยาที่เห็นต่างนี้เกิดจากช่างปั้นและช่างหล่อจินตนาการสร้างสรรค์งานตามเนื้อหาของพุทธประวัติ 2) ญาณวิทยา เป็นวิชาที่ว่าด้วยทฤษฎีความรู้ ที่มีขอบข่ายของความรู้กว้างขวางตามแนวคิดทฤษฎีที่หลากหลายของนักญาณวิทยาหรือนักปรัชญา มีทั้งแนวคิดที่ตรงกันและขัดแย้งกัน สำหรับในบริบทนี้ได้สรุปแนวคิดทฤษฎีออกเป็น 4 ประเด็น คือ บ่อเกิดของความรู้ ขอบเขตของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และความสมเหตุสมผลของความรู้ 3) วิเคราะห์คุณค่าพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ตามแนวญาณวิทยาในอิริยาบถ ทั้ง 4 คือ อิริยาบถยืน ได้แก่ ปางโปรดพุทธบิดา อิริยาบถเดิน ได้แก่ ปางจงกรมแก้ว อิริยาบถนั่ง ได้แก่ ปางปฐมเทศนา และอิริยาบถนอน ได้แก่ ปางปรินิพพาน วิเคราะห์ตามขอบข่ายของญาณวิทยาทั้ง 4 ประการ คือ บ่อเกิดของความรู้ ขอบเขตของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และความสมเหตุสมผล ของความรู้ คุณค่าของพุทธปฏิมาทั้ง 4 ปาง แสดงให้เห็นถึงบ่อเกิดของความรู้นั้นเกิดขึ้นได้ใน ทุกอิริยาบถไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใดก็สามารถทำให้เกิดความรู้ได้ ด้านขอบเขตของความรู้ มีตั้งแต่ความรู้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตของคนทั่วไป จนถึงความรู้สูงสุดคือ การหลุดพ้นจากกิเลสด้านธรรมชาติของความรู้นั้นความรู้มีธรรมชาติที่ทำให้มนุษย์มีความรู้ตั้งแต่การดำเนินชีวิต และความรู้สูงสุดคือ ทำลายความไม่รู้คือ อวิชชาได้ ด้านความสมเหตุสมผลของความรู้นั้นสามารถพิสูจน์ได้ใน ทุกขณะในทุกเวลาไม่ขึ้นอยู่กับกาล ที่เรียกว่า “อกาลิโก” ความรู้ทั้งหลายมีปรากฏอยู่ในพุทธปฏิมา ต้องวิเคราะห์แยกแยะด้วยปัญญา โดยการพิจารณาโดยแยบคายจึงจะเข้าถึงองค์ความรู้ในพุทธปฏิมา
The objectives of this thesis are 1) to study the Buddha images around Phra Pathom Chedi, 2) to study the concept of epistemology, and 3) to analyze the values of Buddha images around Phra Pathom Chedi according to the epistemology. The data of this documentary qualitative study were from the Tipitaka, Commentaries, textbooks and related research works. The results of the study were shown as follows 1) There are 80 attitudes of the Buddha images around Phra Pathom Chedi and 67 Buddha images have a unique attitude with the hand posture called Mudra. According to the Buddha's history, each episode makes the Buddha image a different posture. But when considering overall, there are 4 postures; 24 standing attitudes, 2 walking attitudes, 37 seated attitudes, and 5 reclining attitudes. These attitudes were created by potters’ or casters’ imagination according to the contents of the Buddha’s life story. 2) Epistemology is the theory of knowledge with a wide range of knowledge according to various theoretical concepts of epistemologists or philosophers. The concepts may be corresponding and contrasting. The theory can be summarized into 4 main points; the source of knowledge, scope of knowledge, nature of knowledge and reasonability of knowledge. 3) Analyze the values of the Buddha images around Phra Pathom Chedi according to the epistemology of the four gestures: Standing posture in Preaching His father, Walking postures in walking meditation, Sitting posture in Preaching the First Sermon, and Reclining posture in entering to Nibbana. The analysis was done in the framework of the four concepts in epistemology; the source of knowledge, the scope of knowledge, the nature of knowledge, and the reasonability of knowledge. The values of the four Buddha image postures show that the origin of knowledge that can be occurred in every posture. The scope of knowledge is varied from the basic knowledge in daily life to the highest knowledge for liberation from passion. The nature of knowledge is from knowledge in living a life to the ultimate knowledge in destroying ignorance. The reasonability of knowledge can be proven at any moment without space and time called Akaliko”. The knowledge embedded in the Buddha images can be achieved by considerably analyzing and synthesizing with wisdom.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1). เพื่อศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เปรียบเทียบการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยใช้เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมได้แก่ ประชาคมในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 480 ครัวเรือนกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่(Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน218 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านขยะเปียกและขยะแห้ง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนด้านขยะอันตราย มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาชน ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านขยะแห้งมีความถี่มากที่สุด คือจัดตั้งโครงการนำขยะแห้ง เช่น ขวดพลาสติก กระดาษ แลกกระดาษทิชชู หรือไข่ในหมู่บ้าน รองลงมา ด้านขยะอันตราย คือ การประชาสัมพันธ์ข่าวสารกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับขยะอันตรายและ การจัดตั้งที่จัดเก็บเฉพาะขยะอันตรายในพื้นที่แล้วมีหน่วยงานมาเก็บไป และด้านขยะเปียก มีความถี่น้อยที่สุด คือ การประชาสัมพันธ์/การให้ความรู้ในการนำเศษอาหารมาเป็นจุลินทรีย์หมักทำปุ๋ย
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1). เพื่อศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เปรียบเทียบการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยใช้เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมได้แก่ ประชาคมในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 480 ครัวเรือนกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่(Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน218 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านขยะเปียกและขยะแห้ง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนด้านขยะอันตราย มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาชน ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านขยะแห้งมีความถี่มากที่สุด คือจัดตั้งโครงการนำขยะแห้ง เช่น ขวดพลาสติก กระดาษ แลกกระดาษทิชชู หรือไข่ในหมู่บ้าน รองลงมา ด้านขยะอันตราย คือ การประชาสัมพันธ์ข่าวสารกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับขยะอันตรายและ การจัดตั้งที่จัดเก็บเฉพาะขยะอันตรายในพื้นที่แล้วมีหน่วยงานมาเก็บไป และด้านขยะเปียก มีความถี่น้อยที่สุด คือ การประชาสัมพันธ์/การให้ความรู้ในการนำเศษอาหารมาเป็นจุลินทรีย์หมักทำปุ๋ย
This thematic Paper has the following objectives: 1). to study the household garbage management of people in Ban Uea thon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province, 1) to compare the household garbage management in Ban Uea Athon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province of people with different gender, age, education level and occupation, and 3) to study suggestions and guidelines for household garbage management of people in Ban Uea Athon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province. Out of 480 populations in Ban Uea Athon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province, 218 samples obtained by using the calculation formula of Taro Yamane were used in the study. The data were collected by closed-ended and open-ended questionnaires and analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t - test, (One – Way ANOVA or F – test) and testing of the mean scores for each pair using the LSD method (Least Significant Difference). The results of the research were as follows: 1) The household garbage management of people in Ban Uea Athon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province in 3 areas was at the highest level. In details, the wet and dry waste was at the highest level. The hazardous waste was at the lowest mean. When classified by gender, age, educational level and occupation, it was found that overall mean was the highest. 2) The comparison of household garbage management in Ban Uea Athon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province of people with different gender, age, education level and occupation was found differently with statistically significant figure at 0.05 level. 3) Suggestions on household waste management in Ban Eua Arthon in Song Khanong Sub-district, Samphran District, Nakhon Pathom Province sorted by descending frequency were as follows: In the dry waste, the dry waste project should be set up. In hazardous waste, people should receive the correct information through community public relations and the hazardous waste should be disposed and kept separately and collected timely. In the wet waste, the people should be publicized and acknowledged to put the wet garbage into microorganisms and compost.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 และ 3) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนจำนวน 61 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 56 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 392 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ แบบที่ 5 ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหา แบบที่ 4 ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำการตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น แบบที่ 3 ผู้บริหารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอวิธีการแก้ปัญหาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ แบบที่ 1 ผู้บริหารตัดสินใจด้วยตนเอง และแบบที่ 2 ผู้บริหารตัดสินใจแล้วขอความคิดเห็นจากผู้ใต้บังคับบัญชาตามลำดับ 2. ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านลักษณะงาน ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านเพื่อนร่วมงาน ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านผู้บังคับบัญชา ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านโอกาสก้าวหน้า และความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านค่าตอบแทนตามลำดับ 3. การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ แบบที่ 1 ผู้บริหารตัดสินใจด้วยตนเอง แบบที่ 3 ผู้บริหารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอวิธีการแก้ปัญหาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ แบบที่ 4 ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำการตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น และแบบที่ 5 ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ เท่ากับ 0.745 (R = 0.745) ซึ่งตัวแปรได้ร่วมกันอภิบายความแปรปรวนของการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ได้ร้อยละ 55.6 (R2 = 0.556) ซึ่งเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y = 1.097 + 0.300 (x3)+ 0.152 (x4)+ 0.121 (x1)+ 0.145 (x5) (R2 = 0.556) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy = 0.374 (x3)+ 0.183 (x4)+ 0.122 (x1)+ 0.186 (x5) (R2 = 0.556)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 และ 3) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนจำนวน 61 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 56 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 392 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ แบบที่ 5 ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหา แบบที่ 4 ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำการตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น แบบที่ 3 ผู้บริหารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอวิธีการแก้ปัญหาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ แบบที่ 1 ผู้บริหารตัดสินใจด้วยตนเอง และแบบที่ 2 ผู้บริหารตัดสินใจแล้วขอความคิดเห็นจากผู้ใต้บังคับบัญชาตามลำดับ 2. ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านลักษณะงาน ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านเพื่อนร่วมงาน ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านผู้บังคับบัญชา ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านโอกาสก้าวหน้า และความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านค่าตอบแทนตามลำดับ 3. การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ แบบที่ 1 ผู้บริหารตัดสินใจด้วยตนเอง แบบที่ 3 ผู้บริหารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอวิธีการแก้ปัญหาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ แบบที่ 4 ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำการตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น และแบบที่ 5 ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ เท่ากับ 0.745 (R = 0.745) ซึ่งตัวแปรได้ร่วมกันอภิบายความแปรปรวนของการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ได้ร้อยละ 55.6 (R2 = 0.556) ซึ่งเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y = 1.097 + 0.300 (x3)+ 0.152 (x4)+ 0.121 (x1)+ 0.145 (x5) (R2 = 0.556) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy = 0.374 (x3)+ 0.183 (x4)+ 0.122 (x1)+ 0.186 (x5) (R2 = 0.556)
The objectives of this research were: 1) to study decision making of school administrators under the secondary educational service area office 9, 2) to study satisfaction of subordinates in schools under the secondary educational service area office 9 and, 3) to study decision making of school administrators affecting satisfaction of subordinates in schools under the secondary educational service area office 9. The data were collected from 392 informants from 56 schools out of 61 schools including administrators and teachers. The study was a quantitative research. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple regressions. The results of the research ware as follows: 1) The decision making of school administrators under the secondary educational service area office 9 in overall was at a high level. The ranging by the average from high to low that the type 5; administrators entrust subordinates to make decisions and solve problems, type 4; administrators point out the constraint and have subordinates make decisions within area, type 3; administrators let their subordinates propose solutions and take into account decisions, type 1; administrators make decisions by themselves, and type 2; administrators make decisions and ask for the opinion of the subordinates respectively. 2) The satisfaction of subordinates in schools under the secondary educational service area office 9 in overall was at a high level. The ranging by the average from high to low that satisfaction of school subordinates in work itself, co-worker, administrators, promotion opportunity, and satisfaction of school subordinates in payment respectively. 3) The decision making of school administrators affecting satisfaction of subordinates in schools under the secondary educational service area office 9 was statistically significant at the 0.01 level. The most significant level was on type 1; administrators make decisions by themselves, type 3; administrators let their subordinates propose solutions and take into account decisions, type 4; administrators point out the constraint and have subordinates make decisions within area and, type 5; administrators entrust subordinates to make decisions and solve problems was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.745 (R = 0.745) which can explain the variance of decision making of school administrators under the secondary educational service area office 9 at 55.6% (R2 = 0.556). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y = 1.097 + 0.300 (x3)+ 0.152 (x4)+ 0.121 (x1)+ 0.145 (x5) (R2 = 0.556) The predicting equation of standard score (Zy) Zy = 0.374 (x3)+ 0.183 (x4)+ 0.122 (x1)+ 0.186 (x5) (R2 = 0.556)
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือครูที่ทำการสอนในโรงเรียนสังกัดองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 30,359 ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 660 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 52 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.73-1.48 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.67-1.72 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.37 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือครูที่ทำการสอนในโรงเรียนสังกัดองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 30,359 ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 660 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 52 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.73-1.48 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.67-1.72 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.37 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 30,359 teachers under the jurisdiction of the local administration. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 660 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses: 1) The 52 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20%. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), root mean square error of approximation (RMSEA), goodness-of-fit index (GFI) adjusted goodness-of-fit index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and normed fit index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.73 to 1.48, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 0.67 to 1.72 and indicators had factor loading ranged from 0.68 to 1.37, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและอารมณ์ 2. เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมเกี่ยวกับการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ 3. เพื่อบูรณาการการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม 4. เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ 16 รูป/คน ผลจากการวิจัยพบว่า : 1. การเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ทฤษฏีตะวันตก ด้านปัญญามีการพัฒนาตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ด้านอารมณ์ มีการเรียนรู้จักอารมณ์ของตนเอง และผู้อื่น ปรับตนเองและประพฤติปฏิบัติต่อตนเองและผู้อื่นอย่างถูกต้องเหมาะสม 2. หลักพุทธธรรมการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาใช้ ภาวนา 4 และโยนิโสมนสิการ ด้านอารมณ์โดยใช้ กัลยาณมิตร จริต 6 สัปปายะ 7 3. วิธีบูรณาการนำแนวคิดในการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ตามแนวทฤษฏีตะวันตก บูรณาการกับหลักพุทธธรรม ผลคือแนวทฤษฏีตะวันตก มีความสอดคล้องกันกับหลักพุทธธรรมในที่สุด 4. เมื่อบูรณาการแล้วได้รูปแบบ MODEL การสร้างเสริมพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม ได้แก่ “MEW MODEL” Morality หมายถึง คุณธรรมภายในเป็นสัมมาทิฏฐิ Ethics หมายถึง จริยธรรม มีการประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสม Wisdom หมายถึง ปัญญา มีหลักวิธีการคิดและการปฏิบัติที่ถูกต้อง
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและอารมณ์ 2. เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมเกี่ยวกับการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ 3. เพื่อบูรณาการการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม 4. เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ 16 รูป/คน ผลจากการวิจัยพบว่า : 1. การเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ทฤษฏีตะวันตก ด้านปัญญามีการพัฒนาตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ด้านอารมณ์ มีการเรียนรู้จักอารมณ์ของตนเอง และผู้อื่น ปรับตนเองและประพฤติปฏิบัติต่อตนเองและผู้อื่นอย่างถูกต้องเหมาะสม 2. หลักพุทธธรรมการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาใช้ ภาวนา 4 และโยนิโสมนสิการ ด้านอารมณ์โดยใช้ กัลยาณมิตร จริต 6 สัปปายะ 7 3. วิธีบูรณาการนำแนวคิดในการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ตามแนวทฤษฏีตะวันตก บูรณาการกับหลักพุทธธรรม ผลคือแนวทฤษฏีตะวันตก มีความสอดคล้องกันกับหลักพุทธธรรมในที่สุด 4. เมื่อบูรณาการแล้วได้รูปแบบ MODEL การสร้างเสริมพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม ได้แก่ “MEW MODEL” Morality หมายถึง คุณธรรมภายในเป็นสัมมาทิฏฐิ Ethics หมายถึง จริยธรรม มีการประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสม Wisdom หมายถึง ปัญญา มีหลักวิธีการคิดและการปฏิบัติที่ถูกต้อง
The objectives of this dissertation were: 1) To study the reinforcement of development in intellectual and emotional ability, 2) To study the Buddhist principles concerming the reinforcement of development in intellectual and emotional ability, 3) to integrate the reinforcement of development in intellectual and emotional ability with Buddhist principles, and 4) To propose guidelines and a new body of knowledge in a model of the reinforcement of development in intellectual and emotional ability with the Buddhist principles. The data of this qualitative study were collected from in-depth interviews with 16 experts. The result of the study were found that : 1. According to the western theory, the development of intellectual can occur appropriately in each step of age. The emotional development is to know the emotion of oneself or of the others and to adjust oneself and treat oneself and the others appropriately. 2. The Buddhist principles used in reinforcement of intellectual abilility consist of the 4 principles of Bhavana and the principles of yonisomanasikara. The intellectual ability can be developed by the principles of Kalyanamitta, Carita and Sappaya. 3. The integration of the reinforcement of development in intellectual and emotional ability according to the western theory with the Buddhist principles reveals that the concept of development in intellectual and emotional ability is relevant to the principles of Buddhism. 4. The model obtained from the integration is "MEW MODEL" The model consists of Morelity, Ethics and Wisdom.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1)เพื่อศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2)เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 3)เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมจำนวน 1,897 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโรยามาเน่(Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 330คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่าด้านการศึกษา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการพัฒนา ส่วนด้านฝึกอบรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมของบุคลากร ที่มีเพศ อายุระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกัน ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมของบุคลากร ที่มี สถานภาพ พบว่าโดยรวมทั้ง 3 ด้านไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านนอกนั้นไม่แตกต่างกัน
วิทยานิพนธ์นี้วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1)เพื่อศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2)เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 3)เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมจำนวน 1,897 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโรยามาเน่(Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 330คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่าด้านการศึกษา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการพัฒนา ส่วนด้านฝึกอบรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมของบุคลากร ที่มีเพศ อายุระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกัน ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมของบุคลากร ที่มี สถานภาพ พบว่าโดยรวมทั้ง 3 ด้านไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านนอกนั้นไม่แตกต่างกัน
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the human resource development of local government organizations in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province, 2) to compare human resource development of local government organizations in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province, and 3) to suggest guidelines on human resource development of the local government organization in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province. The data were collected by questionnaire from 330 samples out of 1,897 people in Sam Phran district. The sampling size was determined by using the formula of Taroyamane (Yamane). The data were analyzed by a computer program with frequency, percentage, mean, standard deviation, t - test, (One – Way ANOVA or F – test), and testing of the mean scores for each pair using the LSD method (Least Significant Difference). The findings were as follows: 1) The opinion on the human resource development of the local government organization in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province in all 3 areas was at a high level. When considering each aspect, sorted by average descending order, education had the highest average, followed by development and training respectively. 2) In the results of comparison of opinions on the human resource development of the local government organization in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province, the personnel with different sex, age, education level, and monthly income had no different level of opinions. In the results of comparing opinions towards the human resource development of local government organizations in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province, the personnel with different marital status had no different level in 3 aspects. When considered in aspects, it was found that the personnel with different education level had different level of opinions with a statistically significant level at 0.05, while the difference was not found in other qualifications.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายพัฒนาการเรียนรู้โดยระบบอีเลิร์นนิ่ง ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา ในปีการศึกษา 2563 มีอาจารย์เป็นผู้ร่วมวิจัยโดยความสมัครใจ 21 คน และมีนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมพัฒนา 40 คน โดยมีความคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ 1) มีการเปลี่ยนแปลงตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดที่ดีขึ้น 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และวิทยาเขต เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ และ 3) ได้รับองค์ความรู้จากการปฏิบัติที่จะเป็นบทเรียนเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในอนาคต ผลการวิจัยพบว่า 1) โปรแกรมพัฒนาระบบอีเลิร์นนิง โปรแกรมพัฒนาการเรียนรู้ในรายวิชาการปฏิบัติกรรมฐาน และโปรแกรมการเสริมทักษะการจัดทำสื่อออนไลน์ให้กับอาจารย์ ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และวิทยาเขต ต่างมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติที่หลากหลาย แต่การเรียนรู้ที่ทุกกลุ่มเห็นพ้องต้องกัน คือ ความตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วม การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดเวลา และการถอดบทเรียนจากการปฏิบัติ ซึ่งแต่เดิมมักปล่อยปละละเลย และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับ (Force-Field Analysis) ของ Kurt Lewin ในองค์ประกอบดังนี้ 1) การเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง 2) ปัจจัยผลักดันที่นำมาใช้เพื่อการเปลี่ยนแปลง 3) สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และ 4) การเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายถึงชุดของความคิดและความเชื่อที่ถือเป็นบทเรียนที่ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย จะนำไปศึกษา การทบทวน และแสวงหาชุดของความคิดและความเชื่อใหม่เพิ่มเติมที่จะทำให้การพัฒนาการเรียนรู้โดยระบบอีเลิร์นนิ่งในอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะธรรมชาติของการพัฒนาไม่มีวันจบสิ้น แต่จะยังดำเนินต่อไปในลักษณะที่เป็นวงจรแบบเกลียวสว่านที่ไม่มีสิ้นสุด
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายพัฒนาการเรียนรู้โดยระบบอีเลิร์นนิ่ง ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา ในปีการศึกษา 2563 มีอาจารย์เป็นผู้ร่วมวิจัยโดยความสมัครใจ 21 คน และมีนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมพัฒนา 40 คน โดยมีความคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ 1) มีการเปลี่ยนแปลงตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดที่ดีขึ้น 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และวิทยาเขต เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ และ 3) ได้รับองค์ความรู้จากการปฏิบัติที่จะเป็นบทเรียนเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในอนาคต ผลการวิจัยพบว่า 1) โปรแกรมพัฒนาระบบอีเลิร์นนิง โปรแกรมพัฒนาการเรียนรู้ในรายวิชาการปฏิบัติกรรมฐาน และโปรแกรมการเสริมทักษะการจัดทำสื่อออนไลน์ให้กับอาจารย์ ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และวิทยาเขต ต่างมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติที่หลากหลาย แต่การเรียนรู้ที่ทุกกลุ่มเห็นพ้องต้องกัน คือ ความตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วม การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดเวลา และการถอดบทเรียนจากการปฏิบัติ ซึ่งแต่เดิมมักปล่อยปละละเลย และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับ (Force-Field Analysis) ของ Kurt Lewin ในองค์ประกอบดังนี้ 1) การเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง 2) ปัจจัยผลักดันที่นำมาใช้เพื่อการเปลี่ยนแปลง 3) สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และ 4) การเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายถึงชุดของความคิดและความเชื่อที่ถือเป็นบทเรียนที่ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย จะนำไปศึกษา การทบทวน และแสวงหาชุดของความคิดและความเชื่อใหม่เพิ่มเติมที่จะทำให้การพัฒนาการเรียนรู้โดยระบบอีเลิร์นนิ่งในอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะธรรมชาติของการพัฒนาไม่มีวันจบสิ้น แต่จะยังดำเนินต่อไปในลักษณะที่เป็นวงจรแบบเกลียวสว่านที่ไม่มีสิ้นสุด
This research aimed to develop learning by e-learning system in Mahamakut Buddhist University, Mahavajiralongkorn Rajaviyalaya Campus. The method used in this study was Participatory Action Research that consisted of two cycles of planning, practice, observation, and reflection during two semesters in the academic year 2020. Twenty-one teachers and forty students were voluntarily involved with the desired development and participated in this research. The three expectations from the development outcomes were: 1) the improvement under the identified indicators, 2) the researcher, the research participants, and the campus learned from practice, and 3) knowledge gained from practice will benefit continuous improvement in the future. The research findings illustrated three following aspects. Firstly, in both Cycles 1 and 2, the means of post-practice evaluations were higher than the means of pre-practice evaluations in the following programs; e-learning system development, meditation practice learning development, and teacher's skill enhancement for creating online media. Secondly, the researcher, the research participants, and the campus learned the following common aspects: an awareness of the importance of participation, being an all-the-time learner, and transcribing lessons from practice which was previously often neglected. Finally, the knowledge gained correlates with Kurt Lewin's Force-Field Analysis which consists of the following concepts: 1) Expected change, 2) Driving factors for change, 3) Resistance to change and 4) Overcoming resistance. Each component defines a set of thoughts and beliefs that Mahamakut Buddhist University, Mahavajiralongkorn Rajaviyalaya Campus, will implement as a basis for reviewing and strengthening an additional set of ideas and beliefs.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ระบุองค์ประกอบตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง หรือค่าน้ำหนักองค์ประกอบตามเกณฑ์ที่กำหนด 4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยแบบการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods Research) คือผสมผสานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งหมด 205 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 615 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 2 ชุด ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2563 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การคำนวณหาค่าเฉลี่ย (Mean) การคำนวณหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (coefficient of variation) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory factor analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างโดยใช้เกณฑ์ค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% ผลการวิเคราะห์แยกออกเป็นแต่ละองค์ประกอบ คือ 1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 4 ตัว การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยเมตตา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยกรุณา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยมุทิตา และการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยอุเบกขา 2) องค์ประกอบการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยเมตตา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยกรุณา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยมุทิตา และการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยอุเบกขา 3) องค์ประกอบการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วย พรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยเมตตา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยกรุณา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยมุทิตา และการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วยอุเบกขา 4) องค์ประกอบ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยเมตตา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล อันประกอบด้วยกรุณา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยมุทิตา และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยอุเบกขา 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทั้ง 4 โมเดล
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ระบุองค์ประกอบตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง หรือค่าน้ำหนักองค์ประกอบตามเกณฑ์ที่กำหนด 4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยแบบการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods Research) คือผสมผสานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งหมด 205 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 615 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 2 ชุด ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2563 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การคำนวณหาค่าเฉลี่ย (Mean) การคำนวณหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (coefficient of variation) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory factor analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างโดยใช้เกณฑ์ค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% ผลการวิเคราะห์แยกออกเป็นแต่ละองค์ประกอบ คือ 1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 4 ตัว การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยเมตตา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยกรุณา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยมุทิตา และการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยอุเบกขา 2) องค์ประกอบการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยเมตตา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยกรุณา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยมุทิตา และการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยอุเบกขา 3) องค์ประกอบการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วย พรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยเมตตา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยกรุณา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยมุทิตา และการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วยอุเบกขา 4) องค์ประกอบ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยเมตตา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล อันประกอบด้วยกรุณา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยมุทิตา และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยอุเบกขา 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทั้ง 4 โมเดล
พบว่า ทุกโมเดลตามสมมติฐานการวิจัยสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก นอกจากนี้ ค่าน้ำหนักองค์ประกอบของตัวบ่งชี้มีนัยสำคัญทางสถิติทุกค่า แสดงว่าตัวบ่งชี้ทั้งหมดนี้เป็นตัวบ่งชี้ที่สำคัญขององค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหารของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันของโมเดล ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหารของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ตัวบ่งชี้ทั้ง 16 ตัว มีความสัมพันธ์กันเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p < .01) โดยตัวบ่งชี้ที่มีความสัมพันธ์สูงที่สุด คือ การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยกรุณาและการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยอุเบกขา คือ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.705 ส่วนตัวบ่งชี้ที่มีความสัมพันธ์กันน้อยที่สุดคือการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยมุทิตา และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยกรุณาคือ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.140 4) ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลใน 4 องค์ประกอบดังกล่าวข้างต้นผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นและมีการปฏิบัติรวมทั้งมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรนำองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ทุกตัวไปปฏิบัติในการดำเนินงานจริง ซึ่งสอดคล้องหรือเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับผลการวิจัย ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The objectives of this research were: 1) to develop indicators and to model the structural relationship of indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration, 2) to test the coherence of the structural relationship model of the indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration with developed by empirical data, 3) to identify the indicator element and indicator behaviors with structural integrity or the element's weight value according to the specified criteria and, 4) to study the guidelines for Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration by the mixed methods research; qualitative research and quantitative research. The sample group used in the research was educational institutions under Bangkok Metropolitan Administration totaling 205 schools. The informants consist of school administration, academic supervisors and teachers totaling 615 persons. Two sets of data collection tools were: 1) the questionnaire on Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration, 2) structured interview form collected the data in 2020. The statistics used for data analysis are Mean, Standard deviation, Coefficient of Variation, Confirmatory Factor Analysis using a statistical package. The results of the research were as follows: 1) To develop the indicators and model the structural relationship of indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration. To selected for the structural relation model using the mean criterion equal to or greater than 3.00 and the distribution coefficient equal to or less than 20%. The result of separate element consists as 1) ideological influence with Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; ideological influence that consists of loving-kindness, ideological Influence with compassion, ideological influence consisting of sympathetic joy and, ideological influence consisting of equanimity. 2) inspirational components of Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; inspirational kindness, inspirational compassion, inspiration sympathetic joy and inspiration consisting of equanimity. 3) intellectual stimulation component consists of Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; the intellectual stimulation of kindness, intellectual stimulation of compassion, intellectual stimulation sympathetic joy and intellectual stimulation consists of equanimity. 4) The elements considering the individuality consists of Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; consideration of individual with kindness, consideration of the individual with compassion, consideration of the individuality with sympathetic joy, consideration of the individuality with equanimity. 2) The results of the confirmatory component analysis of the 4 models revealed to all models according to the research hypothesis were very consistent with the empirical data. In addition, the component weights of all indicators were statistically significant. It was shown that all of these indicators were important indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under the Bangkok Metropolitan Administration. 3) The results of the Pearson correlation coefficient analysis model. The indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration was found that all 16 indicators had a statistically significant positive correlation at the .01 level (p < .01). The highest correlation indicator was ideological influence with kindness and compassion having a correlation coefficient of 0.705, while the least correlation indicator was motivational with kindness and consideration of the individuality with compassion has a correlation coefficient of 0.140 4) The results obtained from the data analysis of 4 components mentioned above. The experts have opinions and practice as well as encouraging personnel to apply all components and indicators to practice in actual operations. It was consistent or in the same direction as the research results that researcher has developed.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักเรียนด้วยแนวคิด Teach Less, Learn More ในโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม โดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีผู้ร่วมวิจัยด้วยความสมัครใจ จำนวน 20 คน ดำเนินการ 2 ภาคเรียน ในปีการศึกษา 2563 โดยคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ (1) เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติของครู การจัดกิจกรรมการสอนของครู และคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (2) เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติในตัวผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียน และ (3) เกิดองค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานรากในบริบทเฉพาะของโรงเรียนแห่งนี้ ปรากฏผลการวิจัยดังนี้ 1) ค่าเฉลี่ยแสดงระดับการปฏิบัติของครู ระดับการจัดกิจกรรมการสอนของครู และระดับคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน หลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และหลังวงจรที่ 2 สูงขึ้นจากก่อนการปฏิบัติ 2) หลังจากใช้หลักการทำงานแบบมีส่วนร่วม ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียนต่างเกิดการเรียนรู้ถึงความสำคัญและประโยชน์ของการทำงานร่วมกันแบบเป็นทีม 3) องค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในงานวิจัยนี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น แนวคิดและกลยุทธ์ที่นำมาใช้เป็นพลังขับเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และการเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละประเด็นที่สามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนตามแนวคิด Teach Less, Learn More อย่างต่อเนื่องต่อไป หรือนำไปประยุกต์ใช้กับการพัฒนาตามแนวคิดใหม่อื่น ๆ
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักเรียนด้วยแนวคิด Teach Less, Learn More ในโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม โดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีผู้ร่วมวิจัยด้วยความสมัครใจ จำนวน 20 คน ดำเนินการ 2 ภาคเรียน ในปีการศึกษา 2563 โดยคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ (1) เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติของครู การจัดกิจกรรมการสอนของครู และคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (2) เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติในตัวผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียน และ (3) เกิดองค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานรากในบริบทเฉพาะของโรงเรียนแห่งนี้ ปรากฏผลการวิจัยดังนี้ 1) ค่าเฉลี่ยแสดงระดับการปฏิบัติของครู ระดับการจัดกิจกรรมการสอนของครู และระดับคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน หลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และหลังวงจรที่ 2 สูงขึ้นจากก่อนการปฏิบัติ 2) หลังจากใช้หลักการทำงานแบบมีส่วนร่วม ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียนต่างเกิดการเรียนรู้ถึงความสำคัญและประโยชน์ของการทำงานร่วมกันแบบเป็นทีม 3) องค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในงานวิจัยนี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น แนวคิดและกลยุทธ์ที่นำมาใช้เป็นพลังขับเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และการเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละประเด็นที่สามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนตามแนวคิด Teach Less, Learn More อย่างต่อเนื่องต่อไป หรือนำไปประยุกต์ใช้กับการพัฒนาตามแนวคิดใหม่อื่น ๆ
This research aimed to improve the quality of students in Srikranuan wittayakom School using the concept of Teach Less, Learn More. The method used in this study was Participatory Action Research, and there were twenty teachers voluntarily participating. The study had been done in two semesters of the academic year 2020. The three expectations from the development outcomes were: (1) the improvement under the identified indicators: a) teacher performance, b) organizing teaching activities and c) the students characteristic, (2) the researcher, the research participants, and the entire teaching staff learned from practice, and (3) the body of knowledge, which had been obtained from the practice as a foundation theory in this school context. The results of the study revealed three key features. Firstly, the average means of teacher performance, organization of teaching activities, and student characteristics after the 1st and after the 2nd cycles were higher than before the operation. Secondly, after adopting a participatory approach, researchers, co-researchers, and the entire teaching staff learned the importance and benefits of team collaboration. Lastly, the knowledge gained from the practice of this research consists of the ideas and strategies of the following concepts: 1) Expected change, 2) Driving factors for change, 3) Resistance to change and 4) Overcoming resistance drive change. The details of each issue can be used as a model for the students' quality development according to the concept of Teach Less, Learn More continuously. Moreover, the concept can be applied to other new conceptual developments.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาตัวบ่งชี้ที่เหมาะสมของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง เชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อทดสอบโมเดลตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อระบุองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และค่าน้ำหนักของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนทั้งสิ้น 379 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาหรือรักษาการ โรงเรียนละ 1 คน จำนวน 379 คน หัวหน้างานโรงเรียนละ 2 คน จำนวน 758 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 1,137 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .98 2)แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้างใช้เก็บรวบรวมข้อมูลใน ปี พ.ศ.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาตัวบ่งชี้ที่เหมาะสมของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง เชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อทดสอบโมเดลตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อระบุองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และค่าน้ำหนักของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนทั้งสิ้น 379 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาหรือรักษาการ โรงเรียนละ 1 คน จำนวน 379 คน หัวหน้างานโรงเรียนละ 2 คน จำนวน 758 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 1,137 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .98 2)แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้างใช้เก็บรวบรวมข้อมูลใน ปี พ.ศ.
2563 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า 1) ตัวบ่งชี้ที่เหมาะสมของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของทุกตัวบ่งชี้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.51 - 4.75 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายอยู่ระหว่าง 3.15 – 19.40 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นตัวบ่งชี้ที่มีความเหมาะสมสามารถคัดสรรไว้ในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างทุกตัวเนื่องจากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า20 % 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทั้ง 4 โมเดล พบว่าโมเดลการวัดแต่ละองค์ประกอบที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลการวิจัยที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก และแสดงว่าองค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบ คือ การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์เชิงจริยธรรม การสร้างแรงบันดาลใจเชิงจริยธรรม การกระตุ้นทางปัญญาเชิงจริยธรรม และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลเชิงจริยธรรม เป็นโมเดลที่มีความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (factor loading) ขององค์ประกอบทุกองค์ประกอบมีค่าเป็นบวกตั้งแต่ค่าตั้งแต่ 0.91-0.95 และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกค่า เรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากไปหาน้อย คือ การกระตุ้นทางปัญญาเชิงจริยธรรม (SL) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.95 การสร้างแรงบันดาลใจเชิงจริยธรรม(ML) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.94 การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลเชิงจริยธรรม (CL) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.93 และการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์เชิงจริยธรรม (IL) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.91 ซึ่งค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (factor loading) ของทั้ง 4 องค์ประกอบมีค่าเป็นบวก และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกค่า 4) ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลใน 4 องค์ประกอบดังกล่าวข้างต้น ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นในการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษานำองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา ด้วยมีความสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับผลการวิจัยที่ได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this study are 1) to study an appropriate indicator of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 2) to test the model of indicator of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 3) to identify the main and minor elements indicator and weighing of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 4) to study the guidelines developing primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission by using Mixed Methods Research. The samples of this study are 379 primary schools under the Office of the Basic Education Commission. The information providers in total are 1,137 consisting of 379 directors/ acting for directors, 1 for each school, and 758 supervisors 2 for each school. Research instruments are 1) questionnaires about primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission of which reliability is .98. 2) structured interviews of the year 2020, statistics used in data analysis are frequency, percentage, average, standard deviation (S.D.), and Confirmatory Factor Analysis: CFA by using statistic application. The research revealed that 1) the average of the indicator of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission is between 3.51 – 4.75 and the distribution coefficient is between 3.15 – 19.40 which showed that the appropriate indicator can be selected for all kinds of Structural Relationship Model because of the average is equal or over 3.00 and the distribution coefficient is equal or under 20%. 2) the result of all 4 models’ CFA showed that all models developed from the theory and the research result which well correspond to the empirical data and revealed that all 4 elements, Moral Idealized Influence, Moral Inspiration Motivation, Moral Intellectual Stimulation, and Moral Individualized Consideration, are Structural Relationship Model of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 3) The factor loading of all elements is positive, 0.91-0.95, and showed that the statistical significance is at 0.1 level which is sorted from factor loading in descending order. First, Moral Intellectual Stimulation is 0.95. Second, Moral Inspiration Motivation is 0.94. Then, Moral Individualized Consideration is 0.93. And the last, Moral Idealized Influence is 0.91. The factor loading of all elements is positive with the statistical significance is at 0.1 level. 4) According to the results from data analysis above, the expert supported director to provide the elements and indicator in school management which correspond to the research results.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎี 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงทฤษฎีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วประเทศ จำนวน 30,719 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 580 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 60 ตัวบ่งชี้ได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎีทุกตัว เนื่องจากทุกตัวบ่งชี้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% 2) โมเดลเชิงทฤษฎีมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (Relative Chi-square : CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (Root Mean Square Error of Approximation : RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness-of-Fit Index : GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว Adjusted Goodness-of-Fit Index : AGFI ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Fit Index : CFI) และ ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (Normed Fit Index : NFI) ที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.89-1.46 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ทุกองค์ประกอบหลัก ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.61-1.29 และมีค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.21 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎี 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงทฤษฎีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วประเทศ จำนวน 30,719 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 580 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 60 ตัวบ่งชี้ได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎีทุกตัว เนื่องจากทุกตัวบ่งชี้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% 2) โมเดลเชิงทฤษฎีมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (Relative Chi-square : CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (Root Mean Square Error of Approximation : RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness-of-Fit Index : GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว Adjusted Goodness-of-Fit Index : AGFI ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Fit Index : CFI) และ ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (Normed Fit Index : NFI) ที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.89-1.46 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ทุกองค์ประกอบหลัก ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.61-1.29 และมีค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.21 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 31,026 primary school administrators under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 580 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses: 1) The 60 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20%. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of Relative Chi-square (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), Goodness-of-Fit Index (GFI) adjusted goodness of-fit index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and Normed Fit Index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.89 to 1.46, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 0.61 to 1.29 and indicators had factor loading ranged from 0.68 to 1.21, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์จากปฏิบัติการความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทำงานในวิทยาลัยเทคนิคหนองคายใน 3 ประเด็น คือ 1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดของสถานศึกษา นักศึกษา และสถานประกอบการ 2) การเรียนรู้จากการปฏิบัติของผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา และ 3) องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานราก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา มีครูเป็นผู้ร่วมการวิจัย 19 คน มีนักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา 30 คน ผลจากการวิจัยพบว่า 1) สถานศึกษา นักศึกษา และสถานประกอบการ ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา ต่างมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติหลายประเด็น เช่น ความตระหนักถึงความสำคัญของการทำงานแบบร่วมมือ ความสำคัญของการศึกษาทัศนะทางทฤษฎีเพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่เดิม และความสำคัญของการทำงานอย่างครบวงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับของ Kurt Lewin ในองค์ประกอบดังนี้ 1) การเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง 2) ปัจจัยผลักดันที่นำมาใช้เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 3) สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 4) การเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายถึงชุดของความคิดและความเชื่อที่ถือเป็นบทเรียนที่วิทยาลัยเทคนิคหนองคายจะนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อการทบทวนและเสริมสร้างชุดของความคิดและความเชื่อมเพิ่มเติมที่จะทำให้การยกระดับคุณภาพการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทำงานของวิทยาลัยเทคนิคในอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นด้วยวงจรการพัฒนาแบบเกลียวสว่านที่ไม่มีสิ้นสุด
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์จากปฏิบัติการความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทำงานในวิทยาลัยเทคนิคหนองคายใน 3 ประเด็น คือ 1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดของสถานศึกษา นักศึกษา และสถานประกอบการ 2) การเรียนรู้จากการปฏิบัติของผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา และ 3) องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานราก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา มีครูเป็นผู้ร่วมการวิจัย 19 คน มีนักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา 30 คน ผลจากการวิจัยพบว่า 1) สถานศึกษา นักศึกษา และสถานประกอบการ ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา ต่างมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติหลายประเด็น เช่น ความตระหนักถึงความสำคัญของการทำงานแบบร่วมมือ ความสำคัญของการศึกษาทัศนะทางทฤษฎีเพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่เดิม และความสำคัญของการทำงานอย่างครบวงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับของ Kurt Lewin ในองค์ประกอบดังนี้ 1) การเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง 2) ปัจจัยผลักดันที่นำมาใช้เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 3) สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 4) การเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายถึงชุดของความคิดและความเชื่อที่ถือเป็นบทเรียนที่วิทยาลัยเทคนิคหนองคายจะนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อการทบทวนและเสริมสร้างชุดของความคิดและความเชื่อมเพิ่มเติมที่จะทำให้การยกระดับคุณภาพการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทำงานของวิทยาลัยเทคนิคในอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นด้วยวงจรการพัฒนาแบบเกลียวสว่านที่ไม่มีสิ้นสุด
This study aimed at investigating the outcomes of the cooperation practices, which were utilized to enhance the quality of work-integrated learning at Nong Khai Technical College. The investigation covered the following three aspects: 1) the changes, which had arisen from the development of specified indicators: educational institution, students, and workplaces; 2) the learning, which had been derived from the practices of the researcher, the research participants, and the educational institution; and 3) the body of knowledge, which had been obtained from the practice as a foundation theory. A participatory action research methodology was adopted, consisting of a cycle of planning, practice, observation, and reflection during two semesters. There were 19 teachers and 30 students involved in this research and development. The results of the study revealed three key features. Firstly, the post-practice evaluation in both the first and the second cycles for the educational institutions, students, and workplaces had been higher than the pre-practice evaluation. Secondly, the researcher, co-researchers, and the educational institutions had learned from various issues of the practice, such as gaining an awareness of the importance of collaborative work, the importance of studying the theoretical perspective in order to enhance the existing knowledge and experiences, and the importance of planning, practice, observation, and reflection in comprehensive work. Finally, the knowledge gained had been found to correlate with Kurt Lewin's Force-Field Analysis which consists of the following steps: 1) Expected change, 2) Driving factors for change, 3) Resistance to change, and 4) Overcoming resistance. Each component describes a set of thoughts and beliefs that Nong Khai Technical College WiLl implement as a basis for reviewing and strengthening an additional set of ideas and beliefs. This implementation WiLl elevate the cooperation practices, which WiLl, in turn, enhance the quality of work-integrated learning at Nong Khai Technical College in the future.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
The objective of this thesis were as follows; 1) to study the application of Sanghavatthu in work performance of the Local Administrative Organization Personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas: infrastructure, quality of life promotion, and management and conservation of natural resources and environment 2) to compare the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel Phuttamonthon district Nakhon Pathom province based on their sex age educational level and work experience, and 3) to propose a guidance on the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The quantitative data were collected from 196 samples by questionnaires and analyzed by frequency, mean, percentage, standard deviation, T-test, F-test, One-way ANOVA and LSD method. The qualitative data were collected by in-depth interview with 5 administrators of Local Administrative Organization in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The results of the study found that: 1) The application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas was at a high level overall. In details, the highest level was on management and conservation of natural resources and environment, followed by quality of life promotion, and infrastructure respectively. 2) From the hypothesis testing, the personnel with different sexes, ages, educational levels, and work experiences had no different levels in the application of Sangkhahawatthu in their performance. 3) The guidelines on the application of Sanghahavatthu in work performance of the local Administrative organization personnel in Phuttamonthon district of Nakhon Pathom province are that the personnel should be encouraged and supported in opinion exchange in work, in hospitality to each other, and in work motivation and responsibility.
หนังสือ

    การวิจัยเรื่อง การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ และรายได้ แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กลุ่มตัวอย่าง คือ พริตตี้ และกระบวนการรับและปรับใช้วัฒนธรรมของพริตตี้เพื่อให้ดำรงอยู่ในกลุ่มอาชีพและสังคมได้ การศึกษานี้ ผู้วิจัยใช้วิธีคือเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่ศึกษาแบบเจาะลึก(In-depth interview) และมีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยมี พริตตี้ ในกรุงเทพมหานคร เป็นกรณีศึกษา จำนวน 11 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย(Mean; X) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation, S.D.) และทดสอบสมมติฐาน T-test และ F-test ค่าสถิติ ANOVA จำนวน 150 คน ผลการวิจัยพบว่า : 1. การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ การคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ และด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ ตามลำดับ 2.ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ และรายได้ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะของพริตตี้ที่มีความคิดเห็นต่อ การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร สรุปผลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและพนักงานพริตตี้ 5 ท่าน ตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ สรุปได้ว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนมากมีความคิดเห็นสอดคล้องกันส่วนมาก คือ ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล “ผู้ประกอบอาชีพพริตตี้มีศักยภาพและแรงจูงใจมีผู้ติดตาม เป็นเหตุให้ถูกละเมิดข้อมูลส่วนตัวได้” รองลงมาได้แก่ ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ เรื่อง “ท่านคิดว่าการคุ้มครองสิทธิในการสร้างสรรค์มีประโยชน์ต่ออาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด การคุ้มครองสิทธิในเรื่องการสร้างสรรค์ เป็นการป้องกันการถูกละเมิดสิทธิได้” เรื่อง ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ เรื่อง “ท่านเคยใช้สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ รองลงมาคือ ท่านคิดว่าสังคมไทยในปัจจุบันมองอาชีพ พริตตี้ในเชิงลบเสี่ยงต่อสภาพจิตใจหรือปัญหาสุขภาพของอาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด” ด้านการคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ เรื่อง “อาชีพพริตตี้เป็นอาชีพเสี่ยงต่อการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ในการถ่ายภาพ เพราะลักษณะการทำงานและการแต่งตัวที่ล่อแหลม”และน้อยที่สุด ด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ เรื่อง “กระแสวัตถุนิยมในสังคมไทยเป็นสาเหตุทำให้อาชีพพริตตี้ถูกละเมิดทางเพศโดยวิธีการหลายรูปแบบ
การวิจัยเรื่อง การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ และรายได้ แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กลุ่มตัวอย่าง คือ พริตตี้ และกระบวนการรับและปรับใช้วัฒนธรรมของพริตตี้เพื่อให้ดำรงอยู่ในกลุ่มอาชีพและสังคมได้ การศึกษานี้ ผู้วิจัยใช้วิธีคือเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่ศึกษาแบบเจาะลึก(In-depth interview) และมีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยมี พริตตี้ ในกรุงเทพมหานคร เป็นกรณีศึกษา จำนวน 11 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย(Mean; X) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation, S.D.) และทดสอบสมมติฐาน T-test และ F-test ค่าสถิติ ANOVA จำนวน 150 คน ผลการวิจัยพบว่า : 1. การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ การคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ และด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ ตามลำดับ 2.ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ และรายได้ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะของพริตตี้ที่มีความคิดเห็นต่อ การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร สรุปผลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและพนักงานพริตตี้ 5 ท่าน ตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ สรุปได้ว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนมากมีความคิดเห็นสอดคล้องกันส่วนมาก คือ ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล “ผู้ประกอบอาชีพพริตตี้มีศักยภาพและแรงจูงใจมีผู้ติดตาม เป็นเหตุให้ถูกละเมิดข้อมูลส่วนตัวได้” รองลงมาได้แก่ ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ เรื่อง “ท่านคิดว่าการคุ้มครองสิทธิในการสร้างสรรค์มีประโยชน์ต่ออาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด การคุ้มครองสิทธิในเรื่องการสร้างสรรค์ เป็นการป้องกันการถูกละเมิดสิทธิได้” เรื่อง ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ เรื่อง “ท่านเคยใช้สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ รองลงมาคือ ท่านคิดว่าสังคมไทยในปัจจุบันมองอาชีพ พริตตี้ในเชิงลบเสี่ยงต่อสภาพจิตใจหรือปัญหาสุขภาพของอาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด” ด้านการคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ เรื่อง “อาชีพพริตตี้เป็นอาชีพเสี่ยงต่อการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ในการถ่ายภาพ เพราะลักษณะการทำงานและการแต่งตัวที่ล่อแหลม”และน้อยที่สุด ด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ เรื่อง “กระแสวัตถุนิยมในสังคมไทยเป็นสาเหตุทำให้อาชีพพริตตี้ถูกละเมิดทางเพศโดยวิธีการหลายรูปแบบ
The objectives of this research are as follows: 1) to study opinions on the rights protection of pretty professionals, 2) to compare opinions on the rights protection of pretty professionals with different gender, age, education level, experience and income, and 3) to provide suggestions on problems and guidelines for the protection of pretty professionals. The quantitative and qualitative research methods were used in the study. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 11 pretty professionals, and the quantitative data were collected by questionnaires from 150 samples obtained by purposive sampling. The data were analyzed frequency distribution, Percentage, Mean; x ̅ Standard deviation s.D., T-test and F-test. The research found that: 1. The rights protection under the Act of Pretty Occupation in Bangkok in all 5 areas is at a high level. When considering each side in descending order of mean, the highest is on protection of personal rights, followed by protection of creators' rights, protection of rights in matters of health, protection of photography, and protection of rights in sexual violations respectively. 2. The results of a comparison of opinions on the protection of the rights of pretty professionals in Bangkok of respondents with different gender, age, education level, work experience and income are not different. 3. The suggestions with comments on Rights protection under the Act of Pretty Professionals in Bangkok can be summarized that: Most of the interviewees have consistent opinions and are on the protection of privacy. “Pretty professionals have potential and motivation. It can cause personal information to be violated. Followed by on the protection of the rights of creators, “How do you think protecting the rights to creativity has the benefit of pretty careers?, protection of the rights to creativity can prevent rights violations. On the protection of the rights in the area of health with the question “How vulnerable is pretty negative to the psychological or professional health problems?”, “Pretty is a career that is vulnerable to copyright infringement in photography because of their precarious behavior and dress, and minimal sexual rights violation: "Materialism in Thai society is the cause of the pretty career and the pretty professionals were sexually abused by many means.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษา ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม การวิจัยครั้งนี้ มีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระภิกษุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จำนวน 294 รูป เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปร ปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุกลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านการปกครองวัดแบบบูรณาการตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านการปกครองตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมาก และค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านการปกครองตามพระธรรมวินัยตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า พระภิกษุที่มี วุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพระภิกษุที่มีระดับ อายุ พรรษา และวุฒิการศึกษาทางโลก ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เห็นว่า เจ้าอาวาสเป็นผู้มีหน้าที่ปกครองบังคับบัญชา กำกับดูแล แนะนำสั่งสอนพระภิกษุสามเณรและฆราวาสผู้อยู่ในวัดให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยดีงามถูกต้องตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคมและจัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดี เป็นธุระในการศึกษาอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์ ให้ความสะดวกตามสมควรในการบำเพ็ญกุศล การบำรุงรักษาวัด การจัดกิจการของวัดตามหน้าที่ผู้ปกครองวัดและหน้าที่จัดกิจการแทนวัดในฐานะผู้แทนนิติบุคคล การดูแลรักษา การใช้จ่าย การจัดทรัพย์สินของวัด ทั้งส่วนที่เป็นศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนสมบัติของวัดที่ตนเป็นเจ้าอาวาส ให้เป็นไปด้วยดี และต้องปฏิบัติภารกิจของพระพุทธศาสนาซึ่งจะช่วยส่งเสริมทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองมั่นคงและช่วยสร้างศรัทธาของพุทธศาสนิกชนต่อพระพุทธศาสนา ดังนั้นเจ้าอาวาสจะต้องมีทั้งศาสตร์และศิลป์ในการบริหารและการจัดการ โดยเฉพาะภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสมีหน้าที่ในดูแล พระภิกษุ สามเณร ภายในวัดให้เกิดความเรียบร้อยดีงาม เจ้าอาวาสนอกจากจะมีความรู้ความ สามารถ มีบารมี และคุณธรรม มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีแล้ว จะต้องมีภาวะผู้นำที่มีประสิทธิภาพซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรม การปฏิบัติศาสนกิจของพระภิกษุสามเณร ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชายอมรับนับถือ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษา ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม การวิจัยครั้งนี้ มีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระภิกษุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จำนวน 294 รูป เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปร ปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุกลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านการปกครองวัดแบบบูรณาการตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านการปกครองตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมาก และค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านการปกครองตามพระธรรมวินัยตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า พระภิกษุที่มี วุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพระภิกษุที่มีระดับ อายุ พรรษา และวุฒิการศึกษาทางโลก ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เห็นว่า เจ้าอาวาสเป็นผู้มีหน้าที่ปกครองบังคับบัญชา กำกับดูแล แนะนำสั่งสอนพระภิกษุสามเณรและฆราวาสผู้อยู่ในวัดให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยดีงามถูกต้องตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคมและจัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดี เป็นธุระในการศึกษาอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์ ให้ความสะดวกตามสมควรในการบำเพ็ญกุศล การบำรุงรักษาวัด การจัดกิจการของวัดตามหน้าที่ผู้ปกครองวัดและหน้าที่จัดกิจการแทนวัดในฐานะผู้แทนนิติบุคคล การดูแลรักษา การใช้จ่าย การจัดทรัพย์สินของวัด ทั้งส่วนที่เป็นศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนสมบัติของวัดที่ตนเป็นเจ้าอาวาส ให้เป็นไปด้วยดี และต้องปฏิบัติภารกิจของพระพุทธศาสนาซึ่งจะช่วยส่งเสริมทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองมั่นคงและช่วยสร้างศรัทธาของพุทธศาสนิกชนต่อพระพุทธศาสนา ดังนั้นเจ้าอาวาสจะต้องมีทั้งศาสตร์และศิลป์ในการบริหารและการจัดการ โดยเฉพาะภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสมีหน้าที่ในดูแล พระภิกษุ สามเณร ภายในวัดให้เกิดความเรียบร้อยดีงาม เจ้าอาวาสนอกจากจะมีความรู้ความ สามารถ มีบารมี และคุณธรรม มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีแล้ว จะต้องมีภาวะผู้นำที่มีประสิทธิภาพซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรม การปฏิบัติศาสนกิจของพระภิกษุสามเณร ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชายอมรับนับถือ
โดยการนำหลักพรหมวิหารธรรมมาใช้เป็นแนวทางในการปกครอง เพื่อให้กิจการคณะสงฆ์ในด้านต่าง ๆ สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ซึ่งจะทำให้พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองถาวรมั่นคง เป็นศูนย์รวมทางจิตใจของพุทธศาสนิกชนชาวพุทธศาสนาสืบไป
The objectives of this research were: 1) to study the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province, 2) to compare the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province according to their ages, years in the monkhood and educational levels, and 3) to study the guidelines of the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province. The data were collected from 294 samples by questionnaire and interview forms and then analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and LSD. The results of the study showed that: 1) The opinion of the samples towards the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province was at a high level overall. In descending order, the highest level was on administration integrated with Brahmavihara Dhamma, followed by administration based on the Sangha Acts integrated with Brahmavihara Dhamma, and administration based on Dhamma and Vinaya integrated with Brahmavihara Dhamma respectively. 2) From the comparison, the samples with different levels in Dhamma study had different opinion levels towards the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province with a statistically significant figure at 0.05. But the samples with different ages, years in monkhood and general education levels showed levels of their opinions indifferently. 3) The guidelines of the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province indicate that the duty of the abbots is to administrate, govern, monitor, supervise, and teach and train monks, novices and lay-people according to Dhamma, Vinaya, law, rules, regulations and Sangha Acts. The abbots have to provide facilities to people in making merit, take care of religious properties and religious estate, and maintain faith and belief of Buddhists in Buddhism. The abbots have to use arts and sciences in their administration. They should also have knowledge, morality, virtues, human relations and leadership in administration. All these qualifications based on Brahmavihara Dhamma will result to the acceptance of their subordinates, achievement of the Buddhist affairs and the establishment of Buddhism in the long run.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้คือ เพื่อศึกษาการใช้อิทธิบาท 4 ในการเรียนของนักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด เพื่อเปรียบเทียบการใช้อิทธิบาท 4 ในการเรียนของนักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัดที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพทางครอบครัว และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้อิทธิบาท 4 ในการเรียนของนักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) โดยใช้แบบการวิจัยเชิงปริมาณ ศึกษาโดยใช้แบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ นักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัดจำนวน 400 คน ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 196 คน และแบบสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเจ้าหน้าที่ศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามปลายเปิด สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า (One-Way ANOVA or F-test) และทดสอบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ส่วนข้อเสนอแนะใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัดใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการเรียนที่ศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อแยกออกเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านฉันทะ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านจิตตะ และด้านวิมังสา ส่วนด้านวิริยะ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการเรียนของนักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการเรียนของนักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด พบว่า ด้านจิตตะมีความถี่มากที่สุด คือ ควรเอาใจใส่ในการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ควรตั้งใจศึกษาเรียนรู้ในวิชาที่เรียนจดบันทึกข้อมูลการเรียนไว้เพื่อนำมาทบทวนได้ ควรมาเรียนให้ตรงต่อเวลา ควรตั้งใจเรียนและรับผิดชอบในงานที่คุณครูมอบหมายงานให้ทำงานให้ดีและสำเร็จ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้คือ เพื่อศึกษาการใช้อิทธิบาท 4 ในการเรียนของนักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด เพื่อเปรียบเทียบการใช้อิทธิบาท 4 ในการเรียนของนักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัดที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพทางครอบครัว และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้อิทธิบาท 4 ในการเรียนของนักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) โดยใช้แบบการวิจัยเชิงปริมาณ ศึกษาโดยใช้แบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ นักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัดจำนวน 400 คน ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 196 คน และแบบสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเจ้าหน้าที่ศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามปลายเปิด สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า (One-Way ANOVA or F-test) และทดสอบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ส่วนข้อเสนอแนะใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัดใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการเรียนที่ศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อแยกออกเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านฉันทะ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านจิตตะ และด้านวิมังสา ส่วนด้านวิริยะ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการเรียนของนักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการเรียนของนักเรียนศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด พบว่า ด้านจิตตะมีความถี่มากที่สุด คือ ควรเอาใจใส่ในการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ควรตั้งใจศึกษาเรียนรู้ในวิชาที่เรียนจดบันทึกข้อมูลการเรียนไว้เพื่อนำมาทบทวนได้ ควรมาเรียนให้ตรงต่อเวลา ควรตั้งใจเรียนและรับผิดชอบในงานที่คุณครูมอบหมายงานให้ทำงานให้ดีและสำเร็จ
The objectives of this thesis are to study the application of Iddhipada of students in Bangphlad Vocational Training Center, to compare the application of Iddhipada of students in Bangphlad Vocational Training Center who have different sex, age, education level, family status and monthly income, and to suggest the application of Iddhipada in the study of students in Bangphlad Vocational Training Center. The mixed research methods were used in the study. The quantitative data were collected by questionnaire from 196 samples of 400 students. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 5 officials in Bangphlad Vocational Training Center. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and (One-Way ANOVA or F-test). LSD was used to analyze with a computer program for statistical data. The suggestion section was analyzed by content analysis. The results of the research were as follows: 1) Students of Bangphlad Vocational Training Center applied the principles of iddhipada in their study in 4 areas at a high level overall. In details with descending order, the highest level was on Chanda, followed by Citta, Vimamsa and Viriya respectively. 2) The results of comparison in application of Iddhipada in the study, the students with different sex, age, educational level, marital status and monthly income apllied Iddhipada in their study differently with the statistically significant figure at .05 level. 3) Suggestions in the application of Iddhipada in the study indicated that the most frequency was on Citta. Students should pay attention to both theoretical and practical lessons, should take notes for later review, should be punctual and be responsible to the assignments.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์จากปฏิบัติการความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพในการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม ใน 3 ประเด็น คือ 1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม 2) การเรียนรู้จากการปฏิบัติของผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา และ 3) องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานราก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจร ของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา มีผู้บริหาร และครูเป็นผู้ร่วมการวิจัย 20 คน ผู้วิจัย 1 คน รวมเป็นจำนวน 21 คน ผลจากการวิจัยพบว่า 1) ผลจากการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติหลายประเด็น คือ ความตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการทำงาน ความตระหนักถึงความสำคัญของการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดเวลา (Lifelong Learners) ความตระหนักถึงความสำคัญของการสะท้อนผลจากการปฏิบัติ ซึ่งแต่เดิมมักปล่อยปละละเลย ความตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาทัศนะทางทฤษฎีเพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่เดิม และความตระหนักถึงความสำคัญของการทำงานอย่างครบวงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับของ Kurt Lewin โดยพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง (Expected Change) กับปัจจัยผลักดัน (Force for Change) ที่นำมาใช้ รวมทั้งสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Resistance to Change) และการเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Overcome Obstacles) ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายตรงตามความคาดหวังของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม เป็นแนวทางในการพัฒนาด้านการเสริมทักษะการใช้โปรแกรมของระบบอี-ออฟฟิศ เกิดทักษะการเรียนรู้การใช้งานในระบบอี-ออฟฟิศได้เป็นอย่างดี การพัฒนาการเรียนรู้ในการใช้งานระบบอี-ออฟฟิศ ส่งผลให้ ผู้บริหาร ครู และผู้ร่วมวิจัยมีทักษะที่ดีในการใช้งานระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์จากปฏิบัติการความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพในการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม ใน 3 ประเด็น คือ 1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม 2) การเรียนรู้จากการปฏิบัติของผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา และ 3) องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานราก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจร ของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา มีผู้บริหาร และครูเป็นผู้ร่วมการวิจัย 20 คน ผู้วิจัย 1 คน รวมเป็นจำนวน 21 คน ผลจากการวิจัยพบว่า 1) ผลจากการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติหลายประเด็น คือ ความตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการทำงาน ความตระหนักถึงความสำคัญของการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดเวลา (Lifelong Learners) ความตระหนักถึงความสำคัญของการสะท้อนผลจากการปฏิบัติ ซึ่งแต่เดิมมักปล่อยปละละเลย ความตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาทัศนะทางทฤษฎีเพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่เดิม และความตระหนักถึงความสำคัญของการทำงานอย่างครบวงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับของ Kurt Lewin โดยพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง (Expected Change) กับปัจจัยผลักดัน (Force for Change) ที่นำมาใช้ รวมทั้งสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Resistance to Change) และการเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Overcome Obstacles) ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายตรงตามความคาดหวังของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม เป็นแนวทางในการพัฒนาด้านการเสริมทักษะการใช้โปรแกรมของระบบอี-ออฟฟิศ เกิดทักษะการเรียนรู้การใช้งานในระบบอี-ออฟฟิศได้เป็นอย่างดี การพัฒนาการเรียนรู้ในการใช้งานระบบอี-ออฟฟิศ ส่งผลให้ ผู้บริหาร ครู และผู้ร่วมวิจัยมีทักษะที่ดีในการใช้งานระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
The purpose of this research was to study the results of the cooperation to enhance the quality of E-Office system development: the case of Wangmaidang Pittayakhom School E-Office in 3 issues as follows; 1) Changes arising from the development of e-Office systems. 2) Learning from the practice of the researcher, co-researcher, and educational institution. And 3) the body of knowledge that arises from practice as a Grounded Theory. It uses a participatory action research methodology that consists of two cycles of planning, action, observation, and reflection. It is a one-semester cycle, with 20 administrators and teachers as co-researchers, and one researcher, for a total of 21 people. The results of the research showed that; 1) The results of the development of the system “e-Office (e-Office)” Wangmaidang Pittayakhom School e-Office had high averages from the evaluation results after the implementation of Circuit 1, and Circuit 2 more than before practice. 2) Researcher and co-researcher learned from as follows; Awareness of the importance of participating in work. Awareness of the importance of being lifelong learners. An awareness of the importance of Reflecting from Acting, which was originally often neglected. Awareness of the importance of studying theoretical perspectives to complement existing knowledge and experience, and Awareness of the importance of a comprehensive work of Planning, Acting, Observing, and Reflecting. And 3) Gain knowledge from practice as a model based on Kurt Lewin's drive analysis framework, considering Expected Change and Force for Change applied, Including Resistance to Change and Overcome Obstacles, each of which has a description that meets the expectations of Wangmaidang Pittayakhom School e-Office, which is a guideline for developing skills in using e-Office system programs until learning skills. It works well in the system. The development of learning to use the e-Office system results in Administrators, teachers, and co-researchers have good skills in using the e-Office system effectively.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาพุทธบัญญัติเกี่ยวกับการเดินและการสวมรองเท้าที่สอดคล้องกับพระวินัยบัญญัติ ๒) เพื่อศึกษาปัญหาสุขภาพเท้าของภิกษุอาพาธ ๓) เพื่อนำเสนอรูปแบบนวัตกรรมเพื่อสุขภาพเท้าของภิกษุอาพาธที่สอดคล้องกับพระวินัยบัญญัติบนฐานการคิดเชิงออกแบบ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาข้อมูลเอกสารปฐมภูมิ ทุติยภูมิและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์เชิงลึก สังเกตการณ์ ออกแบบต้นแบบและนำต้นแบบไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า ๑) ในสมัยพุทธกาลจริยวัตรของภิกษุทั้งการเดินบิณฑบาต การเดินจงกรมและการเดินธุดงค์ ล้วนเดินด้วยเท้าเปล่า ซึ่งถือเป็นการออกกำลังกายและเพิ่มการไหลเวียนของโลหิต ต่อมาได้มีการบัญญัติพระวินัยขึ้นทั้งข้ออนุญาตและข้อห้ามในการสวมรองเท้าจากกรณีปัญหาสุขภาพเท้ามูลเหตุจากพระโสณโกฬิวิสะ ปัจจุบันกลุ่มตัวอย่าง ๒๐ รูป/คน เห็นด้วยกับการไม่ใส่รองเท้าขณะเดินจงกรม คิดเป็น ๙๐% และขณะบิณฑบาต คิดเป็น ๖๐% ตามลำดับ แต่เห็นด้วยกับการใส่รองเท้าขณะเดินธุดงค์ คิดเป็น ๖๕% ยกเว้นกรณีอาพาธที่เท้าให้ใส่รองเท้าในทุกกรณี ๒) ปัญหาสุขภาพเท้าของภิกษุอาพาธเกิดจากโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน ประมาณ ๙๐% สาเหตุจากพฤติกรรมการบริโภค การไม่ออกกำลังกาย มีโรคประจำตัว และอุบัติเหตุที่เท้า ๑๐% ตามลำดับ การป้องกันควรใช้ ๕ ป. ได้แก่ ปรับทัศนคติ เปลี่ยนค่านิยมประชาชน ปลุกจิตสำนึกการออกกำลังกาย เปิดช่องทางให้ความรู้ และประดิษฐ์รองเท้าเพื่อสุขภาพ ๓) รูปแบบนวัตกรรมเพื่อสุขภาพเท้าของภิกษุอาพาธบนฐานการคิดเชิงออกแบบ จะต้องสอดคล้องกับพระวินัยบัญญัติ เป็นรองเท้าชั้นเดียว สีน้ำตาล สวมใส่สบาย กระชับ ระบายอากาศได้ดี ทำจากยางพาราหรือวัสดุที่เป็นนวัตกรรมสมัยใหม่ ถูกสุขอนามัยและความปลอดภัย มีแผ่นรองที่มีปุ่มกระตุ้นจุดเส้นประสาทที่เท้าและเพิ่มการไหลเวียนโลหิต ได้รับการยอมรับจากประชาชน ด้วยการระบุสัญลักษณ์วงกลมเครื่องหมาย รองเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาพุทธบัญญัติเกี่ยวกับการเดินและการสวมรองเท้าที่สอดคล้องกับพระวินัยบัญญัติ ๒) เพื่อศึกษาปัญหาสุขภาพเท้าของภิกษุอาพาธ ๓) เพื่อนำเสนอรูปแบบนวัตกรรมเพื่อสุขภาพเท้าของภิกษุอาพาธที่สอดคล้องกับพระวินัยบัญญัติบนฐานการคิดเชิงออกแบบ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาข้อมูลเอกสารปฐมภูมิ ทุติยภูมิและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์เชิงลึก สังเกตการณ์ ออกแบบต้นแบบและนำต้นแบบไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า ๑) ในสมัยพุทธกาลจริยวัตรของภิกษุทั้งการเดินบิณฑบาต การเดินจงกรมและการเดินธุดงค์ ล้วนเดินด้วยเท้าเปล่า ซึ่งถือเป็นการออกกำลังกายและเพิ่มการไหลเวียนของโลหิต ต่อมาได้มีการบัญญัติพระวินัยขึ้นทั้งข้ออนุญาตและข้อห้ามในการสวมรองเท้าจากกรณีปัญหาสุขภาพเท้ามูลเหตุจากพระโสณโกฬิวิสะ ปัจจุบันกลุ่มตัวอย่าง ๒๐ รูป/คน เห็นด้วยกับการไม่ใส่รองเท้าขณะเดินจงกรม คิดเป็น ๙๐% และขณะบิณฑบาต คิดเป็น ๖๐% ตามลำดับ แต่เห็นด้วยกับการใส่รองเท้าขณะเดินธุดงค์ คิดเป็น ๖๕% ยกเว้นกรณีอาพาธที่เท้าให้ใส่รองเท้าในทุกกรณี ๒) ปัญหาสุขภาพเท้าของภิกษุอาพาธเกิดจากโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน ประมาณ ๙๐% สาเหตุจากพฤติกรรมการบริโภค การไม่ออกกำลังกาย มีโรคประจำตัว และอุบัติเหตุที่เท้า ๑๐% ตามลำดับ การป้องกันควรใช้ ๕ ป. ได้แก่ ปรับทัศนคติ เปลี่ยนค่านิยมประชาชน ปลุกจิตสำนึกการออกกำลังกาย เปิดช่องทางให้ความรู้ และประดิษฐ์รองเท้าเพื่อสุขภาพ ๓) รูปแบบนวัตกรรมเพื่อสุขภาพเท้าของภิกษุอาพาธบนฐานการคิดเชิงออกแบบ จะต้องสอดคล้องกับพระวินัยบัญญัติ เป็นรองเท้าชั้นเดียว สีน้ำตาล สวมใส่สบาย กระชับ ระบายอากาศได้ดี ทำจากยางพาราหรือวัสดุที่เป็นนวัตกรรมสมัยใหม่ ถูกสุขอนามัยและความปลอดภัย มีแผ่นรองที่มีปุ่มกระตุ้นจุดเส้นประสาทที่เท้าและเพิ่มการไหลเวียนโลหิต ได้รับการยอมรับจากประชาชน ด้วยการระบุสัญลักษณ์วงกลมเครื่องหมาย รองเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
The objectives of this thesis were; 1) to study the code of discipline according to walking and footwares of monks, 2) to study the problems of foot health of sick monks, and 3) to propose a Buddhist innovative prototype for foot health of sick monks. The qualitative data were collected from primary source, secondary source, related research works, in-depth interviews, observation, prototype design and test. The results of research were found that: 1) In the Buddha’s time, bare-feet walking while going for arms-collecting, walking round for meditation and hike-walking were exercises that increased blood circulation. The codes of discipline on monks’ footwares were set forth because of the foot health problem of Venerable Sonakolivisa. In present day, 90% out of 20 samples agreed with monks walking bare-foot on round-meditation, and 60% while going for arms-collecting. But 65% agreed with wearing the footwares while hike-walking. And the sick monks should be exempted from this code in any occasions. 2) 90% of foot health problems of sick monks were from non-communicable diseases such as diabetes that caused from consumption behavior, lack of exercise, congenital disease and 10% from accidents respectively. The prevention could be done by adjusting the monk’s attitude, social perception, exercise motivation, knowledge channel and foot health innovation. 3) Innovative design thinking for foot health of sick monks is to comply with the code of discipline, user’s satisfactory, health and safety, and social acceptability. The proposed design is brown single-sole rubber sandals with blood circulation button and innovative materials with diabetes symbol on it.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 สถานการณ์ทั่วไป
  • ส่วนที่ 2 สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
  • ส่วนที่ 3 สถานการณ์เด่นในรอบปี 2563
  • ส่วนที่ 4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการสังคมเพื่อผู้สูงอายุไทย
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่อง ความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีเพศ อายุ ระดับชั้นเรียน และอาชีพผู้ปกครอง ที่ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 252 เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดี่ยว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ โดยรวมทั้ง 5 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยที่สุด 3 ลำดับ ดั้งนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ด้านหลักความเสมอภาค รองลงมา ได้แก่ ด้านหลักการถือเสียงข้างมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านหลักอำนาจอธิปไตย 2) ผลการเปรียบเทียมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีอายุ ระดับชั้นเรียน และอาชีพผู้ปกครองต่างกัน มีความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยรวมทั้ง 5 ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีเพศต่างกัน มีความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยรวมทั้ง 5 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทาวการแก้ไขปัญหาที่สำคัญคือ 1) ด้านหลักอำนาจอธิปไตย ควรส่งเสริมพัฒนาความเข้าใจในรายระเอียดของการปกครองให้ได้มากที่สุด 2) ด้านหลักเสรีภาพ ควรส่งเสริมพัฒนาสิทธิเสรีภาพ และไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพบุคคลอื่นให้ได้มากที่สุด 3) ด้านหลักความเสมอภาค ควรส่งเสริมพัฒนาให้ทุกคนเข้าถึงการบริการของรัฐในทุกรูปแบบอย่างเท่าเทียมกัน 4) ด้านหลักนิติธรรม ควรส่งเสริมพัฒนาให้นักเรียนกล้าแสดงออกในทุกมิติภายใต้กฎหมายแห่งรัฐ5) ด้านหลักการถือเสียงข้างมาก ควรส่งเสริมพัฒนาความเข้าใจถึงอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติต่อเสียงข้างน้อยตามกรอบของรัฐธรรมนูญ
วิทยานิพนธ์เรื่อง ความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีเพศ อายุ ระดับชั้นเรียน และอาชีพผู้ปกครอง ที่ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 252 เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดี่ยว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ โดยรวมทั้ง 5 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยที่สุด 3 ลำดับ ดั้งนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ด้านหลักความเสมอภาค รองลงมา ได้แก่ ด้านหลักการถือเสียงข้างมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านหลักอำนาจอธิปไตย 2) ผลการเปรียบเทียมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีอายุ ระดับชั้นเรียน และอาชีพผู้ปกครองต่างกัน มีความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยรวมทั้ง 5 ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีเพศต่างกัน มีความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยรวมทั้ง 5 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทาวการแก้ไขปัญหาที่สำคัญคือ 1) ด้านหลักอำนาจอธิปไตย ควรส่งเสริมพัฒนาความเข้าใจในรายระเอียดของการปกครองให้ได้มากที่สุด 2) ด้านหลักเสรีภาพ ควรส่งเสริมพัฒนาสิทธิเสรีภาพ และไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพบุคคลอื่นให้ได้มากที่สุด 3) ด้านหลักความเสมอภาค ควรส่งเสริมพัฒนาให้ทุกคนเข้าถึงการบริการของรัฐในทุกรูปแบบอย่างเท่าเทียมกัน 4) ด้านหลักนิติธรรม ควรส่งเสริมพัฒนาให้นักเรียนกล้าแสดงออกในทุกมิติภายใต้กฎหมายแห่งรัฐ5) ด้านหลักการถือเสียงข้างมาก ควรส่งเสริมพัฒนาความเข้าใจถึงอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติต่อเสียงข้างน้อยตามกรอบของรัฐธรรมนูญ
Thesis on Understanding of Democracy of High School Students in Phrai Bueng District Sisaket Province The objectives are as follows: 1) To study the understanding of democratic governance of high school students in Phrai Bueng District. Sisaket Province 2) to study and compare the understanding of democratic governance of high school students in Phrai Bueng District Sisaket Province with gender, age, grade level 3) to suggest guidelines for promoting the understanding of democratic governance of high school students in Phrai Bueng District. Sisaket Province The sample consisted of 252 high school students in Phrai Bueng District, Sisaket Province. The research instruments were questionnaires and interviews. The statistics used for data analysis were frequency distribution, percentage, mean, standard deviation. And t-test, F-test or One-way ANOVA, if differences were found, tested as a pair with the LSD method (Least Significant Difference). The results of research were found as follows : 1) Understanding of the democratic governance of high school students in Phrai Bueng District Sisaket Province, in all 5 areas, overall at a high level When considered individually, they were ordered from the average from the highest to the lowest of the three sequences. Therefore, the side that had the highest mean was the principle of equality, the second was the majority principle And the side with the least average was the principle of sovereignty 2) The comparative results of high school students in Phrai Bueng District, Sisaket Province with grade age And parents are different occupations There were statistically significant differences in the understanding of democratic governance in the five areas at 0.05 level. Understanding the democratic regime as a whole is no different. 3) Suggestions about problems and solutions that are important are 1) the principle of sovereignty. The understanding of the details of government should be promoted as much as possible. 2) Freedom principles Should promote the development of rights and freedoms And does not violate the rights of other persons as much as possible 3) the principle of equality It should promote and develop equal access to all forms of government services. 4) Rule of Law Students should be encouraged to be able to express themselves in all dimensions under state law. The understanding of the power and duties of the minority should be promoted in accordance with the constitutional framework.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 2) เพื่อศึกษาความผูกพันของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความผูกพันของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นสถานศึกษาในจังหวัดราชบุรี รวมทั้งหมด 24 โรง จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 192 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน ด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาการทำงานให้แก่ครูและบุคลากรในสถานศึกษา รองลงมา ได้แก่ การจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน (หน้าที่รับผิดชอบ) การสรรหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเข้ามาปฏิบัติงาน การพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การส่งเสริมขวัญและกำลังใจสำหรับครูและบุคลากรในสถานศึกษา 2. ความผูกพันของครูในสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อย คือ ความผูกพันต่องาน และ ความผูกพันต่อองค์การ ตามลำดับ 3. การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความผูกพันของครูในสถานศึกษา ประกอบด้วย ด้านการสรรหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเข้ามาปฏิบัติงาน ด้านการจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน (หน้าที่รับผิดชอบ) ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด้านการให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาการทำงานให้แก่ครูและบุคลากรในสถานศึกษา สามารถทำนายความผูกพันของครูด้านความผูกพันต่อองค์การ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีสมการแสดงความสัมพันธ์ในรูปของสมการพยากรณ์คะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน คือ Y1 = .207 + .186 (X1) + 137 (X2) + .310 (X3) + .282 (X5) Z1 = .178 (ZX1) + .169 (ZX2) + .250 (ZX3) + .286 (ZX5) Y2 = 2.784 + .176 (X1) + .171 (X2) Z2 = .161 (ZX1) + 198 (ZX2)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 2) เพื่อศึกษาความผูกพันของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความผูกพันของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นสถานศึกษาในจังหวัดราชบุรี รวมทั้งหมด 24 โรง จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 192 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน ด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาการทำงานให้แก่ครูและบุคลากรในสถานศึกษา รองลงมา ได้แก่ การจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน (หน้าที่รับผิดชอบ) การสรรหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเข้ามาปฏิบัติงาน การพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การส่งเสริมขวัญและกำลังใจสำหรับครูและบุคลากรในสถานศึกษา 2. ความผูกพันของครูในสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อย คือ ความผูกพันต่องาน และ ความผูกพันต่อองค์การ ตามลำดับ 3. การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความผูกพันของครูในสถานศึกษา ประกอบด้วย ด้านการสรรหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเข้ามาปฏิบัติงาน ด้านการจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน (หน้าที่รับผิดชอบ) ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด้านการให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาการทำงานให้แก่ครูและบุคลากรในสถานศึกษา สามารถทำนายความผูกพันของครูด้านความผูกพันต่อองค์การ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีสมการแสดงความสัมพันธ์ในรูปของสมการพยากรณ์คะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน คือ Y1 = .207 + .186 (X1) + 137 (X2) + .310 (X3) + .282 (X5) Z1 = .178 (ZX1) + .169 (ZX2) + .250 (ZX3) + .286 (ZX5) Y2 = 2.784 + .176 (X1) + .171 (X2) Z2 = .161 (ZX1) + 198 (ZX2)
The objectives of this study were: 1) to study the personnel management of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office 8, 2) to study the teacher attachment in schools under the Secondary Educational Service Area Office 8 and, 3) to study the personnel management of school administrators that affect teacher attachment in school under the Secondary Educational Service Area Office 8. The sample of the study was 24 schools in Ratchaburi Province. There were 192 informants. The research tool was questionnaire. Data was analyzed using SPSS for Windows to analysis of basic statistics. Coefficient of correlation and Stepwise multiple regression analysis. The results of research were as follows: 1. The personnel management of school administrators in overall was high level, when considering in aspect was high level at all aspect. The maximum mean aspect was to advice and solve the problem about working for teachers and school personnel, then to manage the right people into the right job (duties and responsibilities), effective personnel recruitment for operation, improving teachers and personnel at schools to perform efficiently duties. In addition, the minimum mean aspect was encouragement for teachers and personnel at schools. 2. Teacher attachment at schools in overall was at high level, when considering each aspect by arranging maximum to minimum scores that work commitment and organizational commitment, respectively. 3. The personnel management of school administrators that affected teacher attachment in schools included the effective personnel recruitment for operation, manage the right people into the right job (duties and responsibilities), improving teachers and personnel in schools to perform efficiently duties and to advised and solved the problem about working for teachers and personnel in schools. It could predict teacher attachment about organizational commitment statistically significant at the 0.05 level. Where equation was shown the relationship as forecasting raw and standard scores as follows: Y1 = .207 + .186 (X1) + 137 (X2) + .310 (X3) + .282 (X5) Z1 = .178 (ZX1) + .169 (ZX2) + .250 (ZX3) + .286 (ZX5) Y2 = 2.784 + .176 (X1) + .171 (X2) Z2 = .161 (ZX1) + 198 (ZX2)
หนังสือ

    วิทยาพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 และ 3) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 จำนวน 9 วิทยาลัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู คณาจารย์ รวมทั้งสิ้นจำนวน 325 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.385-0.857 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .980 ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานของผู้บริหาร สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดองค์การ รองลงมาคือ ด้านการสื่อสารและการจูงใจ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการทำงานเป็นทีม 2. ประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านคุณภาพการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านคุณภาพผู้เรียน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านคุณภาพบุคลากร 3. วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยความคิดเห็นของการบริหารงานของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลสถานศึกษาทุกด้าน โดยเรียงลำดับ การบริหารงานของผู้บริหาร ที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลสถานศึกษาสูงสุดไปหาต่ำสุดตามลำดับ ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ ด้านการควบคุม ด้านการสื่อสารและการจูงใจ ด้านการวางแผน ด้านการนำ ด้านการมีวิสัยทัศน์ ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ และด้านที่มีความสัมพันธ์กันต่ำที่สุด คือ ด้านการทำงานเป็นทีม 4. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา มีความสัมพันธ์กันภายในกับประสิทธิผลสถานศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ ด้านการควบคุม และด้านการสื่อสารและการจูงใจ เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ภายใน จะมีความสัมพันธ์กันภายใน 3 ระดับตามลำดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหาร ด้านการจัดองค์การ ระดับที่ 2 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหารด้านการจัดองค์การ กับด้านควบคุม และระดับที่ 3 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหาร ด้านการจัดองค์การ กับด้านการควบคุม กับด้านการสื่อสารและการจูงใจ
วิทยาพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 และ 3) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 จำนวน 9 วิทยาลัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู คณาจารย์ รวมทั้งสิ้นจำนวน 325 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.385-0.857 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .980 ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานของผู้บริหาร สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดองค์การ รองลงมาคือ ด้านการสื่อสารและการจูงใจ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการทำงานเป็นทีม 2. ประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านคุณภาพการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านคุณภาพผู้เรียน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านคุณภาพบุคลากร 3. วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยความคิดเห็นของการบริหารงานของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลสถานศึกษาทุกด้าน โดยเรียงลำดับ การบริหารงานของผู้บริหาร ที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลสถานศึกษาสูงสุดไปหาต่ำสุดตามลำดับ ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ ด้านการควบคุม ด้านการสื่อสารและการจูงใจ ด้านการวางแผน ด้านการนำ ด้านการมีวิสัยทัศน์ ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ และด้านที่มีความสัมพันธ์กันต่ำที่สุด คือ ด้านการทำงานเป็นทีม 4. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา มีความสัมพันธ์กันภายในกับประสิทธิผลสถานศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ ด้านการควบคุม และด้านการสื่อสารและการจูงใจ เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ภายใน จะมีความสัมพันธ์กันภายใน 3 ระดับตามลำดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหาร ด้านการจัดองค์การ ระดับที่ 2 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหารด้านการจัดองค์การ กับด้านควบคุม และระดับที่ 3 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหาร ด้านการจัดองค์การ กับด้านการควบคุม กับด้านการสื่อสารและการจูงใจ
The objectives of this research were to 1) study the executive management of the schools under the Vocational Education Institute in the Northeastern Region 3, 2) study the effectiveness of the so-said schools and 3) analyze the relationship between the executive management and the effectiveness of schools as mentioned. The samples used in the research consisted of administrators and instructors of the 9 vocational education institutes in the Northeastern Region 3, totally 325 in number. The instrument used for data collection was a 5-rating scale questionnaire with discriminatory power of 0.385 – 0.857, and reliability of .980. The results of the research were as follows: 1.The executive management of the schools under the institute of vocational education in the Northeastern Region 3 was, in an overall aspect, found to exist at a high level, with the highest average revealed in the aspect of organization, followed by communication and motivation. The aspect that featured the lowest average was teamwork. 2. The effectiveness of the schools in mention was, in an overall aspect, found to stand at a high level, with the highest average shown in the field of management quality, followed by quality of learners. The aspect with the lowest average was personnel quality. 3. As for the analysis of information and opinions about the executive management and the effectiveness of the schools under the so-said institute, the opinions of the executive management were found to be related to educational effectiveness in all aspects, led by organization, control, communication and motivation, planning and leading, vision and achievement-orientation, respectively. The aspect that touched the bottom line was teamwork. 4. The analysis of relationship between the executive management and effectiveness of the schools under the Institute as mentioned displayed the internal correlation in 3 dimensions, namely, organization, control, and communication and motivation. The level of inner relationship could be also classified into 3 cascades as follows: The first level was the executive management itself. The second level was the executive administration in relation with organization and control. And the third level was the executive management in relation with organization, control and communication and motivation.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ 2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านขั้นตอนการดำเนินงาน ด้านการวางระบบและแผนดำเนินงาน ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล และด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษา ตามลำดับ 2) คุณภาพผู้เรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผู้เรียนมีทักษะชีวิต ด้านผู้เรียนเป็นคนดี ด้านผู้เรียนมีความสามารถในการคิด และด้านผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตามลำดับ 3) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษาด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.673 (R = 0.673) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้ร้อยละ 45.2 (R^2= 0.452) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 1.620 + 0.538 (x5) + 0.236 (x1) + -0.192 (x4) (R^2= 0.452) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.677 (x5) + 0.275 (x1) + -0.245 (x4) (R^2= 0.452)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ 2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านขั้นตอนการดำเนินงาน ด้านการวางระบบและแผนดำเนินงาน ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล และด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษา ตามลำดับ 2) คุณภาพผู้เรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผู้เรียนมีทักษะชีวิต ด้านผู้เรียนเป็นคนดี ด้านผู้เรียนมีความสามารถในการคิด และด้านผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตามลำดับ 3) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษาด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.673 (R = 0.673) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้ร้อยละ 45.2 (R^2= 0.452) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 1.620 + 0.538 (x5) + 0.236 (x1) + -0.192 (x4) (R^2= 0.452) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.677 (x5) + 0.275 (x1) + -0.245 (x4) (R^2= 0.452)
The objectives of the study were: 1) to study the administration of the student care system of the school administrators under Bangkok Metropolis of Southern Krungthon Group, 2) to study the quality of students in schools under Bangkok Metropolis of Southern Krungthon Group and, 3) to study the administration of the student care system of the school administrators that affect quality of students in schools under Bangkok Metropolis of southern Krungthon group. A sample was collected from 295 informants from 59 schools including director, leader of academic administration, teachers in charge of the student care and support system and teachers. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple linear regression by stepwise regression. The results of the research ware as follows: 1) The administration of the student care system of the school administrators under Bangkok Metropolis of Southern Krungthon group was at a high level in overall. The ranging by the average from high to low was that the direction and strategy, operational procedures,system planning and implementation plan, in-service monitoring and evaluation and improvement and development of school innovation respectively. 2) The quality of learners under Bangkok metropolis of southern Krungthon group was at a high level in overall. The ranging by the average from high to low was that the learner has life skills, the learner is good, the learner has the ability to think, and the learner has the ability to follow the curriculum respectively. 3) The administration of the student care system of school administrators Affecting to quality of students in schools under Bangkok Metropolis of southern Krungthon group was statistically significant at the 0.01 level. The most significant level was on improvement and development of school innovation, direction and strategy, supervision monitoring and evaluation was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.673 (R = 0.673) which can explain the variance of management of the student care and support system of school administrators under Bangkok metropolis of southern Krungthon group at 45.2% (R^2= 0.452). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 1.620 + 0.538 (x5) + 0.236 (x1) + -0.192 (x4) (R^2= 0.452) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.677 (x5) + 0.275 (x1) + -0.245 (x4) (R^2= 0.452)
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักพละสี่ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 2. เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 3. เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักพละสี่ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จำนวน 70 แห่ง โดยมีผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ และครู รวมทั้งสิ้น 280 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม มีทั้งหมด 3 ตอน สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่, ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า: 1. การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักพละสี่ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ การวางแผนเชิงบูรณาการหลักพละสี่ การควบคุมเชิงบูรณาการหลักพละสี่ การจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักพละสี่ การจัดทรัพยากรมนุษย์เชิงบูรณาการหลักพละสี่ และการนำเชิงบูรณาการหลักพละสี่ ตามลำดับ 2. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการวางแผนงานวิชาการ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา ตามลำดับ 3. การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักพละสี่ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ตามลำดับ ได้แก่ ด้านการจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักพละสี่ ด้านการจัดทรัพยากรมนุษย์เชิงบูรณาการหลักพละสี่ ด้านการควบคุมเชิงบูรณาการหลักพละสี่ และด้านการนำเชิงบูรณาการหลักพละสี่ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 89.50 (R2 = .895) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Yˆ = 0.269+ 0.346 การจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X2) + 0.261 การจัดทรัพยากรมนุษย์เชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X4) + 0.176 การควบคุมเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X5) + 0.148 การนำเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X3) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Zˆ = 0.359 การจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X2) + 0.268 การจัดทรัพยากรมนุษย์เชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X4) + 0.183 การควบคุมเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X5) + 0.154 การนำเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X3)
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักพละสี่ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 2. เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 3. เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักพละสี่ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จำนวน 70 แห่ง โดยมีผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ และครู รวมทั้งสิ้น 280 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม มีทั้งหมด 3 ตอน สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่, ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า: 1. การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักพละสี่ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ การวางแผนเชิงบูรณาการหลักพละสี่ การควบคุมเชิงบูรณาการหลักพละสี่ การจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักพละสี่ การจัดทรัพยากรมนุษย์เชิงบูรณาการหลักพละสี่ และการนำเชิงบูรณาการหลักพละสี่ ตามลำดับ 2. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการวางแผนงานวิชาการ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา ตามลำดับ 3. การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักพละสี่ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ตามลำดับ ได้แก่ ด้านการจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักพละสี่ ด้านการจัดทรัพยากรมนุษย์เชิงบูรณาการหลักพละสี่ ด้านการควบคุมเชิงบูรณาการหลักพละสี่ และด้านการนำเชิงบูรณาการหลักพละสี่ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 89.50 (R2 = .895) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Yˆ = 0.269+ 0.346 การจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X2) + 0.261 การจัดทรัพยากรมนุษย์เชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X4) + 0.176 การควบคุมเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X5) + 0.148 การนำเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X3) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Zˆ = 0.359 การจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X2) + 0.268 การจัดทรัพยากรมนุษย์เชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X4) + 0.183 การควบคุมเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X5) + 0.154 การนำเชิงบูรณาการหลักพละสี่ (X3)
The objectives of the study were : 1) to study the 4 Bala principles of integrative administration of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office 33, 2) to study academic administration in school under the Secondary Education Service Area Office 33 and, 3) to study the integrated management of the 4 Bala principles of the school administrators that affect to academic administration in the school under the Secondary Educational Service Area Office 33. The 280 personnel from 70 schools including school administration, academic leader, and teachers under the Secondary Educational Service Area Office 33 were used as the samples in the study. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The results of research were as follows : 1. Integrated management of the four Bala principles of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office 33 in overall was at a high level. When considering each aspect was found at a high level in all aspects. The averages were sorted from highest to lowest as follows: integrated planning of the four Bala principles, the four Bala principles of integrative control, the four Bala principles of integrating organization, the four Bala principles of integrated human resource management, and the four Bala principles of integrating leader, respectively. 2. Academic administration in school under the Secondary Educational Service Area Office 33 in overall was at a high level. When considering each aspect was found at a high level in all aspects. The averages were sorted from highest to lowest as follows: academic planning, development of learning processes, measurement and evaluation, and transfer of learning outcomes, education supervision, development of internal quality assurance system and educational standards, curriculum development for school, development and use of media and technology for education and research to improve the quality of education in school, respectively. 3. Integrated administration of the four Bala principles of school administrations that affect to academic administration in school under the Secondary Educational Service Area Office 33, respectively as follows: the four Bala principles of integrating organization, the four Bala principles of integrated human resource management, the four Bala principles of integrative control and the four Bala principles of integrating leader with a predictive coefficient or forecasting power of 89.50 percent (R2 = .895) was statistically significant at the 0.01 level. The relationship can be written in the form of a forecast equation as follows. Forecast equations in raw score form Yˆ = 0.269+ 0.346 The Four Bala Principles Integrative Organization (X2) + 0.261 The Four Bala Principles Integrated Human Resource Management (X4) + 0.176 The Four Bala Principles Integrated Control (X5) + 0.148 Integrating the Four Bala Principles of Leadership (X3) Forecast equations in standard score form Zˆ = 0.359 The Four Bala Principles Integrative Organization (X2) + 0.268 The Four Bala Principles of Integrated Human Resource Management (X4) + 0.183 The Four Bala Principles Integrated Control (X5) + 0.154 The Four Bala Principles of Integrated of Leadership (X3)
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 2. เพื่อศึกษาการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 3. เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จำนวน 70 แห่ง มีผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ 1 คน และครู 2 คน รวมทั้งสิ้น 280 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่, ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า : 1. การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ การวางแผนเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ การอำนวยการเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ การควบคุมเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ การจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ และการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ ตามลำดับ 2. การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการวางแผนการบริหารแหล่งเรียนรู้ ด้านการบริหารแหล่งเรียนรู้ ด้านการประเมินการบริหารแหล่งเรียนรู้ และด้านการปรับปรุงการบริหารแหล่งเรียนรู้ ตามลำดับ 3. การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ ด้านการอำนวยการเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ ด้านการควบคุมเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 75.50 (R2 = .755) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Yˆ = 0.354 + 0.366 (x4) + 0.278 (x3) + 0.228 (x5) สมการคะแนนมาตรฐาน Zˆ = 0.376 (x4) + 0.283 (x3) + 0.239 (x5)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 2. เพื่อศึกษาการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 3. เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จำนวน 70 แห่ง มีผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ 1 คน และครู 2 คน รวมทั้งสิ้น 280 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่, ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า : 1. การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ การวางแผนเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ การอำนวยการเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ การควบคุมเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ การจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ และการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ ตามลำดับ 2. การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการวางแผนการบริหารแหล่งเรียนรู้ ด้านการบริหารแหล่งเรียนรู้ ด้านการประเมินการบริหารแหล่งเรียนรู้ และด้านการปรับปรุงการบริหารแหล่งเรียนรู้ ตามลำดับ 3. การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ ด้านการอำนวยการเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ ด้านการควบคุมเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 75.50 (R2 = .755) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Yˆ = 0.354 + 0.366 (x4) + 0.278 (x3) + 0.228 (x5) สมการคะแนนมาตรฐาน Zˆ = 0.376 (x4) + 0.283 (x3) + 0.239 (x5)
The objectives of this research were : 1. to study the integrated administration of Sangahavatthu principles of school administrators under the Office of Secondary Education Service area 33, 2. to study the management of learning resources in school under the Office of Secondary Education Service area 33 and, 3. to study the integrated administration of Sangahavatthu of school administrators affecting the management of learning resources in schools under the Office of Secondary Education Service area 33. The sample group consisted of 70 schools under the Office of Secondary Education Service area 33. The data providers consisted of one school administrator, one academic group leader, and two teachers, totaling 280 persons. The research instrument was a questionnaire. The statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation. and stepwise multiple regression analysis. The results of research were as follows : 1. Integrated management of Sangahavatthu principles of school administrators under the Office of Secondary Education Service area 33 in overall was at a high level. When considering each aspect, it was found that at a high level in all aspects. The averages were sorted from highest to lowest as follows: Integrated planning on Sangahavatthu principles, Integrated administration of Sangahavatthu principles, Integrative control of Sangahavatthu principles, Integrated Organizational on Sangahavatthu Principles and integrative coordination of Sangahavatthu principles, respectively. 2. Management of learning resources in school under the Office of Secondary Education Service area 33 in overall was at a high level. When considering each aspect, it was found that at a high level in all aspects. The averages were sorted from highest to lowest as follows: planning of management of learning resources, management of learning resources, assessment of the management of learning resources and improvement in learning resource management, respectively. 3. Integrated management of Sangahavatthu principles of school administrators affects the management of learning resources in school under the Office of Secondary Education Service area 33, in order of priorities namely the aspect of integrated coordination on the Sangahahavatthu principle, Integrated administration of Sangahavatthu principles, Integrated control of Sangahavatthu principles with a predictive coefficient or predictive power of 75.50 percent (R2 = .755) statistically significant at the .01 level. The relationship can be written in the form of a forecast equation as follows : Raw score equation Yˆ = 0.354 + 0.366 (x4) + 0.278 (x3) + 0.228 (x5) The standard score equation Zˆ = 0.376 (x4) + 0.283 (x3) + 0.239 (x5)
หนังสือ

    การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทของผู้บริหารที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 เป็นหน่วยวิเคราะห์ (Unit of Analysis) กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 5 คน คือ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้อำนวยการกลุ่มงานวิชาการ หัวหน้างานวัดผล ประเมินผล และครู รวมทั้งสิ้น จำนวน 295 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทของผู้บริหารที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Athematic Mean) x ̅ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) S.D. การทดสอบสมมุติฐาน และใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า: 1. การบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการนิเทศการศึกษาเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ด้านการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษาเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ด้านการพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ด้านการวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียนเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท และ ด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ตามลำดับ 2. คุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน อยู่ในระดับ มากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ตามลำดับ 3. การบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ส่งผลโดยภาพรวม โดยมีค่าสัมพันธ์กันในทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ (Ytot) = .731 +.108 (X1) +.153 (X2) +.272 (X4) +.028 (X5) +.276 (X6) +.220 (X7)
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทของผู้บริหารที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 เป็นหน่วยวิเคราะห์ (Unit of Analysis) กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 5 คน คือ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้อำนวยการกลุ่มงานวิชาการ หัวหน้างานวัดผล ประเมินผล และครู รวมทั้งสิ้น จำนวน 295 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทของผู้บริหารที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Athematic Mean) x ̅ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) S.D. การทดสอบสมมุติฐาน และใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า: 1. การบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการนิเทศการศึกษาเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ด้านการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษาเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ด้านการพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ด้านการวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียนเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท และ ด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาท ตามลำดับ 2. คุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน อยู่ในระดับ มากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ตามลำดับ 3. การบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ส่งผลโดยภาพรวม โดยมีค่าสัมพันธ์กันในทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ (Ytot) = .731 +.108 (X1) +.153 (X2) +.272 (X4) +.028 (X5) +.276 (X6) +.220 (X7)
The objectives of this research were: 1) to study of integrated academic administration with Iddhipada of administrators under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1, 2) to study the quality of learners in school under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1 and, 3) to study of Integrated academic administration with Iddhipada of administrators affecting the quality of the students in the school under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1. It is a unit of analysis, a sample group of 59 places, 5 of each educational institution's information providers are school administrators, deputy director of academic group, head of evaluation and Teachers totaling 295 people. The instrument used in this study was questionnaires on integrated academic administration with Iddhipada of administrators affecting the quality of the students in the school. Data analysis uses software packages. The statistics used in the data analysis were frequency, percentage, athematic mean x ̅ , standard deviation, S.D. hypothesis test and a stepwise multiple regression analysis. The results of the study were as follows: 1. Integrated academic administration with Iddhipada of administrators under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1 in overall level was at the highest level, when considering each aspect was found at the highest level in all aspects. Sort from most to least as follows: supervision of integrated education with Iddhipada principles, integrated teaching and learning management with Iddhipada principles, development of internal quality assurance system and educational standards for integrating with Iddhipada principles, power development and use of media and technology for integrative education with Iddhipada principles, terms of measuring, evaluating, and conducting a comparison of transferring the results of integrated learning with Iddhipada principles, the research for inproving the quality of education in institutes integrated with Iddhipada principles and curricula development of institutes integrated with Iddhipada principles, respectively. 2. The quality of learners in school under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1 was found that the overall at the highest level. When considering each aspect was found at the highest level in all aspects. Sort from the arithmetic mean values were highest to lowest as follows: desirable characteristics and academic achievement of learners, respectively. 3. Integrated academic administration with Iddhipada principles affecting the quality of learners in educational institutions under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1, the overall effect with a positive correlation statistically significant at 0.01 level It can be written in predicting equations as follows: (Ytot) = .731 +.108 (X1) +.153 (X2) +.272 (X4) +.028 (X5) +.276 (X6) +.220 (X7)
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ วัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารงานบุคคล และครูผู้สอนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา ปีพุทธศักราช 2563 จำนวน 168 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า : 1) การบริหารงานเชิงบูรณาการตามหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการ และด้านการอำนวยการเชิงบูรณาการ 2) การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการธำรงรักษา การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคคล ด้านการพัฒนาบุคคล ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้งบุคคล และลำดับสุดท้าย ด้านการวางแผนกําลังบุคคล อยู่ในระดับมากตามลำดับ 3) การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา คือ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X1) ด้านการจัดการองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X2) ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X4) และด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X5) โดยสามารถพยากรณ์การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าอำนาจในการพยากรณ์ร่วมกันร้อยละ 66.40 (R2 = 0.664) สามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = 0.659+.0.221 (X4) + 0.232 (X1) + 0.217 (X5) + 0.177 (X2) (R2 = 0.664) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.267 (X4) + 0.249 (X1) + 0.263 (X5) + 0.186 (X2) (R2 = 0.664)
วิทยานิพนธ์นี้ วัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารงานบุคคล และครูผู้สอนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา ปีพุทธศักราช 2563 จำนวน 168 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า : 1) การบริหารงานเชิงบูรณาการตามหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการ และด้านการอำนวยการเชิงบูรณาการ 2) การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการธำรงรักษา การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคคล ด้านการพัฒนาบุคคล ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้งบุคคล และลำดับสุดท้าย ด้านการวางแผนกําลังบุคคล อยู่ในระดับมากตามลำดับ 3) การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา คือ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X1) ด้านการจัดการองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X2) ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X4) และด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X5) โดยสามารถพยากรณ์การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าอำนาจในการพยากรณ์ร่วมกันร้อยละ 66.40 (R2 = 0.664) สามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = 0.659+.0.221 (X4) + 0.232 (X1) + 0.217 (X5) + 0.177 (X2) (R2 = 0.664) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.267 (X4) + 0.249 (X1) + 0.263 (X5) + 0.186 (X2) (R2 = 0.664)
The objectives of the study were: 1) to study the integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of Phrapariyti-Dhamma School administrators, department of general education, Nakhon Ratchasima Province, 2) to study the personnel management of Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province and, 3) to study the integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of administrators affecting the personnel management of Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province. A sample was selected from 168 persons in 2020 of administrators, deputy executive, the head of personnel management and, school teachers in Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province. The results of the study were as follows: 1) Integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of Phrapariyti-Dhamma School administrators, department of general education, Nakhon Ratchasima Province in overall was high level. The average from high to low was that Integrated organization management, Integrative coordination, integrated control, integrated planning, and Integrative director. 2) The personnel management of Phrapariyti-Dhamma School administrators, department of general education, Nakhon Ratchasima Province in overall was high level. The average from high to low was that the personnel maintenance, work performance evaluation, personnel development, personnel recruitment and appointment and, personnel planning was high level respective. 3) Integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of administrators affecting the personnel management of Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province namely Integrated planning of Sappurisa-Dhamma (X1), Integrated organization management of Sappurisa-Dhamma (X2), Integrative coordination of Sappurisa-Dhamma (X4) and, Integrated control of Sappurisa-Dhamma (X5) which predicted the Integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of administrators was statistically significant at 0.01 level, and the prediction power had together was 66.40% (R2 = 0.664). The prediction equation forms of raw score were as follows: The raw score: Y′ = 0.659+0.232X1 + 0.177X2 + 0.221X4 + 0.217X5 The standard equation: Z′y = 0.249ZX1 + 0.186ZX2 + 0.267ZX4 + 0.263ZX5
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม 2) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม ประชากรคือ เป็นสถานศึกษาในจังหวัดนครปฐม รวมทั้งหมด 29 โรง จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 203 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบสมมุติฐาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. แรงจูงใจในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3. การบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม 2) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม ประชากรคือ เป็นสถานศึกษาในจังหวัดนครปฐม รวมทั้งหมด 29 โรง จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 203 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบสมมุติฐาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. แรงจูงใจในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3. การบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
The purposes of this research were: 1) to study integrated academic administration with Iddhipada Dhamma of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom 2) to study teacher’s working motivation under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom and, 3) to study integrated academic administration with Iddhipada Dhamma of school administrators that affect teacher’s working motivation under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom. The sample was selected from 29 schools under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom in totally 203 respondents. The instrument used in this study was questionnaires. The data was analyzed using Package Program. The statistics used in data analyzing were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, hypothesis test used the analysis stepwise multiple regression analysis. The results of the research ware as follows: 1) The integrated academic administration with Iddhipada Dhamma of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom in overall was at a high level. In ranging order, the highest level was on learning process development with Iddhipada Dhamma (X2), evaluation, measurement and transfer of credits with Iddhipada Dhamma (X3), internal quality assurance assessment with Iddhipada Dhamma (X6), education supervision with Iddhipada Dhamma (X1), curriculum development, learning innovation and technology development with Iddhipada Dhamma(X7), and educational quality development research with Iddhipada Dhamma(X4), respectively. 2) Teacher’s working motivation under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom in overall was at a high level. In ranging order, the highest level was on work achievement, responsibility, nature of work, career path progress, acceptability, and career path progress in future. 3) Integrated academic administration with Iddhipada Dhamma of school administrators that affect teacher’s working motivation under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom in overall was statistical significance at 0.01 level.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการนิเทศเชิงบูรณาการหลักกัลยาณมิตรธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม 3) เพื่อศึกษาการบริหารการนิเทศเชิงบูรณาการหลักกัลยาณมิตรธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม ประชากรคือ สถานศึกษาในจังหวัดนครปฐม รวมทั้งหมด 29 โรง จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 203 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบสมมุติฐาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารการนิเทศเชิงบูรณาการหลักกัลยาณมิตรธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. ประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3. การบริหารการนิเทศเชิงบูรณาการหลักกัลยาณมิตรธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
วิทยานิพนธ์ นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการนิเทศเชิงบูรณาการหลักกัลยาณมิตรธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม 3) เพื่อศึกษาการบริหารการนิเทศเชิงบูรณาการหลักกัลยาณมิตรธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม ประชากรคือ สถานศึกษาในจังหวัดนครปฐม รวมทั้งหมด 29 โรง จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 203 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบสมมุติฐาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารการนิเทศเชิงบูรณาการหลักกัลยาณมิตรธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. ประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3. การบริหารการนิเทศเชิงบูรณาการหลักกัลยาณมิตรธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
The purposes of this research were: 1) to study supervision administration integrated with Kalyanamitta-Dhamma principles of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom, 2) to study teaching efficiency of teachers under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom and, 3) to study supervision administration integrated with Kalyanamitta-Dhamma principles of school administrators affecting to teaching efficiency of teachers under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom. The population is 29 schools under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom in totally 203 respondents. The instrument used in this study was questionnaires. The data was analyzed using Package Program. The statistics used in data analyzing were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, hypothesis test used the analysis stepwise multiple regression analysis. The results of this research were as follows: 1) The supervision administration integrated with Kalyanamitta-Dhamma principles of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom in overall was at a high level. 2) Teaching efficiency of teachers under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom in overall was at a high level. 3) The supervision administration integrated with Kalyanamitta-Dhamma principles of school administrators affecting to teaching efficiency of teachers under The Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom in overall was statistical significance at 0.01 level.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 2) เพื่อศึกษามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียนสังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อมาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 4) เพื่อหาแนวทางการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน โดยใช้ประชากรวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี และ สถานประกอบการจำนวน 133 แห่ง จำนวนประชากร 446 คน เป็นสถานที่เก็บข้อมูล ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ครูนิเทศ ผู้บริหารสถานประกอบการ ครูฝึกในสถานประกอบการและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานและการใช้วิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1.การบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารอยู่ในระดับมาก 2.มาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน อยู่ในระดับมาก 3. ผลศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อมาตรฐานวิชาชีพของนักเรียนนักศึกษา สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถเขียนเป็นรูปสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ดังนี้ Xtot = .393+.523 (Y1) +.275 (Y2) +.109 (Y3), Ytot = .380+.688 (X3) +.121 (X2) +.118 (X4) ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี พบว่า 1. สถานศึกษาและสถานประกอบการร่วมกันร่างข้อกำหนด คุณลักษณะ คุณสมบัติ สมรรถนะงาน สมรรถนะวิชาชีพ 2. สถานศึกษาจัดอบรมแนวทางการฝึกอาชีพ แนวทางการแก้ปัญหาอย่งเป็นระบบ และเกณฑ์การวัดและประเมินผลในสภาพจริง 3. สถานศึกษาสนับสนุนการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานให้นักเรียน นักศึกษา โดยเน้นทักษะที่สถานประกอบการต้องการเป็นสำคัญ 4. สถานศึกษาควรจัดให้มีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 2) เพื่อศึกษามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียนสังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อมาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 4) เพื่อหาแนวทางการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน โดยใช้ประชากรวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี และ สถานประกอบการจำนวน 133 แห่ง จำนวนประชากร 446 คน เป็นสถานที่เก็บข้อมูล ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ครูนิเทศ ผู้บริหารสถานประกอบการ ครูฝึกในสถานประกอบการและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานและการใช้วิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1.การบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารอยู่ในระดับมาก 2.มาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน อยู่ในระดับมาก 3. ผลศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อมาตรฐานวิชาชีพของนักเรียนนักศึกษา สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถเขียนเป็นรูปสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ดังนี้ Xtot = .393+.523 (Y1) +.275 (Y2) +.109 (Y3), Ytot = .380+.688 (X3) +.121 (X2) +.118 (X4) ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี พบว่า 1. สถานศึกษาและสถานประกอบการร่วมกันร่างข้อกำหนด คุณลักษณะ คุณสมบัติ สมรรถนะงาน สมรรถนะวิชาชีพ 2. สถานศึกษาจัดอบรมแนวทางการฝึกอาชีพ แนวทางการแก้ปัญหาอย่งเป็นระบบ และเกณฑ์การวัดและประเมินผลในสภาพจริง 3. สถานศึกษาสนับสนุนการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานให้นักเรียน นักศึกษา โดยเน้นทักษะที่สถานประกอบการต้องการเป็นสำคัญ 4. สถานศึกษาควรจัดให้มีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
The purposes of this research were: 1) To study the bilateral system of vocational education administration of educational institution administrators Under the Pranburi Vocational College, 2) To study the professional standards of students Under the Pranburi Vocational College, 3) To study the bilateral vocational education administration of educational institute administrators. that affect the professional standards of students Under the Pranburi Vocational College, and 4) To find guidelines for developing students' professional standards The population of Pranburi Vocational College and 133 establishments with a population of 446 were used as data collection sites. Head of the Bilateral Vocational Education System, Informative Teacher, Administrator of the Establishment 210 teachers in the workplace and educational personnel. The research instrument was a questionnaire. and the data collected were analyzed by the computer program, with the basic statistic devices and stepwise multiple regression. The population is 103 schools under the Samut Sakhon Primary Educational Service Area Office. The samples were selected from 86 schools under the Samut Sakhon Primary Educational Service Area Office. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in data analyzing were frequencies (Frequency), percent (Percentage), average (Mean), standard deviation (S.D.) and the correlation coefficient (rxy) of Pearson (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient). The results of this research were as follows: 1. The management of the bilateral vocational education system of the administrators was found to be at a “High” level. 2. The results of the study of professional standards of students was found to be at a “High” level. 3. The results of the study of the vocational administration, the associate system of the school administrators, affected the living standards of the students. with a statistically significant correlation at the 0.01 level. It can be written in the form of the regression analysis equation as follows: Xtot = .393+.523 (Y1) +.275 (Y2) +.109 (Y3), Ytot = .380+.688 (X3) +.121 (X2) +.118 (X4) 4) The results of the study of guidelines for the development of professional standards of students. were as follows : 1. Educational institutions and enterprises jointly draft requirements, characteristics, qualifications, job competencies, professional competences. systematic approach to problem solving and criteria for measuring and evaluating the results in real conditions. 3. Educational institutions support the development of labor skills for students and students by emphasizing the skills that enterprises need. 4. Educational institutions should provide a curriculum that meets their needs. labor market demand
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการจัดการความรู้เชิงบูรณาการหลักสาราณียธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 3) เพื่อศึกษาการบริหารการจัดการความรู้เชิงบูรณาการหลักสาราณียธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ประชากรกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายบริหารงานบุคคล และครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 จำนวน 92 โรงเรียน รวมจำนวนประชากรทั้งสิ้น 276 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ คำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารการจัดการความรู้เชิงบูรณาการหลักสาราณียธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 2. การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการวางแผนอัตรากำลัง ด้านการดำเนินการทางวินัยและการลงโทษ ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและ ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ตามลำดับ 3. การบริหารการจัดการความรู้เชิงบูรณาการหลักสาราณียธรรมของผู้บริหารโดยภาพรวมส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการจัดการความรู้เชิงบูรณาการหลักสาราณียธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 3) เพื่อศึกษาการบริหารการจัดการความรู้เชิงบูรณาการหลักสาราณียธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ประชากรกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายบริหารงานบุคคล และครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 จำนวน 92 โรงเรียน รวมจำนวนประชากรทั้งสิ้น 276 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ คำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารการจัดการความรู้เชิงบูรณาการหลักสาราณียธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 2. การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการวางแผนอัตรากำลัง ด้านการดำเนินการทางวินัยและการลงโทษ ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและ ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ตามลำดับ 3. การบริหารการจัดการความรู้เชิงบูรณาการหลักสาราณียธรรมของผู้บริหารโดยภาพรวมส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
The objectives of this research were: 1) to study integrated learning management of Saraniyadhamma principles of school administrators under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 1, 2) to study personnel management of School Administrators under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 1 and, 3) to study integrated learning management of Saraniyadhamma principles of school administrators that affect personnel management in schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 1. A sample was selected from 276 population of the managements of educational establishments i.e., directors, head of human resource management department, and teachers from 92 schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 1. The instrument used in this study was a standard 5 rating scale questionnaire. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, standard deviation and multiple linear regression and using package program.  The results of research were as follows: 1. The Saraniyadhamma integrated knowledge management under the Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 1, the overall was at the highest level. and each aspect was at the highest level in every aspect by arranged in descending order. 2. The human resource management in schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 1 in overall was at the highest level and in each aspect was at the highest level. The averages were sorted in descending order such as human resource planning, disciplinary action and punishment, performance evaluation, government teacher and educational personnel development and recruitment and appointment, respectively. 3. The Saraniyadhamma integrated knowledge management of the administrators affected human resources management in school under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 1 was statistically significant at the 0.01 levels.