Search results

1 results in 0.03s

หนังสือ

    การวิจัยเรื่อง การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ และรายได้ แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กลุ่มตัวอย่าง คือ พริตตี้ และกระบวนการรับและปรับใช้วัฒนธรรมของพริตตี้เพื่อให้ดำรงอยู่ในกลุ่มอาชีพและสังคมได้ การศึกษานี้ ผู้วิจัยใช้วิธีคือเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่ศึกษาแบบเจาะลึก(In-depth interview) และมีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยมี พริตตี้ ในกรุงเทพมหานคร เป็นกรณีศึกษา จำนวน 11 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย(Mean; X) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation, S.D.) และทดสอบสมมติฐาน T-test และ F-test ค่าสถิติ ANOVA จำนวน 150 คน ผลการวิจัยพบว่า : 1. การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ การคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ และด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ ตามลำดับ 2.ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ และรายได้ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะของพริตตี้ที่มีความคิดเห็นต่อ การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร สรุปผลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและพนักงานพริตตี้ 5 ท่าน ตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ สรุปได้ว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนมากมีความคิดเห็นสอดคล้องกันส่วนมาก คือ ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล “ผู้ประกอบอาชีพพริตตี้มีศักยภาพและแรงจูงใจมีผู้ติดตาม เป็นเหตุให้ถูกละเมิดข้อมูลส่วนตัวได้” รองลงมาได้แก่ ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ เรื่อง “ท่านคิดว่าการคุ้มครองสิทธิในการสร้างสรรค์มีประโยชน์ต่ออาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด การคุ้มครองสิทธิในเรื่องการสร้างสรรค์ เป็นการป้องกันการถูกละเมิดสิทธิได้” เรื่อง ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ เรื่อง “ท่านเคยใช้สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ รองลงมาคือ ท่านคิดว่าสังคมไทยในปัจจุบันมองอาชีพ พริตตี้ในเชิงลบเสี่ยงต่อสภาพจิตใจหรือปัญหาสุขภาพของอาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด” ด้านการคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ เรื่อง “อาชีพพริตตี้เป็นอาชีพเสี่ยงต่อการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ในการถ่ายภาพ เพราะลักษณะการทำงานและการแต่งตัวที่ล่อแหลม”และน้อยที่สุด ด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ เรื่อง “กระแสวัตถุนิยมในสังคมไทยเป็นสาเหตุทำให้อาชีพพริตตี้ถูกละเมิดทางเพศโดยวิธีการหลายรูปแบบ
การวิจัยเรื่อง การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ และรายได้ แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กลุ่มตัวอย่าง คือ พริตตี้ และกระบวนการรับและปรับใช้วัฒนธรรมของพริตตี้เพื่อให้ดำรงอยู่ในกลุ่มอาชีพและสังคมได้ การศึกษานี้ ผู้วิจัยใช้วิธีคือเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่ศึกษาแบบเจาะลึก(In-depth interview) และมีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยมี พริตตี้ ในกรุงเทพมหานคร เป็นกรณีศึกษา จำนวน 11 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย(Mean; X) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation, S.D.) และทดสอบสมมติฐาน T-test และ F-test ค่าสถิติ ANOVA จำนวน 150 คน ผลการวิจัยพบว่า : 1. การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ การคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ และด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ ตามลำดับ 2.ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ และรายได้ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะของพริตตี้ที่มีความคิดเห็นต่อ การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร สรุปผลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและพนักงานพริตตี้ 5 ท่าน ตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ สรุปได้ว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนมากมีความคิดเห็นสอดคล้องกันส่วนมาก คือ ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล “ผู้ประกอบอาชีพพริตตี้มีศักยภาพและแรงจูงใจมีผู้ติดตาม เป็นเหตุให้ถูกละเมิดข้อมูลส่วนตัวได้” รองลงมาได้แก่ ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ เรื่อง “ท่านคิดว่าการคุ้มครองสิทธิในการสร้างสรรค์มีประโยชน์ต่ออาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด การคุ้มครองสิทธิในเรื่องการสร้างสรรค์ เป็นการป้องกันการถูกละเมิดสิทธิได้” เรื่อง ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ เรื่อง “ท่านเคยใช้สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ รองลงมาคือ ท่านคิดว่าสังคมไทยในปัจจุบันมองอาชีพ พริตตี้ในเชิงลบเสี่ยงต่อสภาพจิตใจหรือปัญหาสุขภาพของอาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด” ด้านการคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ เรื่อง “อาชีพพริตตี้เป็นอาชีพเสี่ยงต่อการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ในการถ่ายภาพ เพราะลักษณะการทำงานและการแต่งตัวที่ล่อแหลม”และน้อยที่สุด ด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ เรื่อง “กระแสวัตถุนิยมในสังคมไทยเป็นสาเหตุทำให้อาชีพพริตตี้ถูกละเมิดทางเพศโดยวิธีการหลายรูปแบบ
The objectives of this research are as follows: 1) to study opinions on the rights protection of pretty professionals, 2) to compare opinions on the rights protection of pretty professionals with different gender, age, education level, experience and income, and 3) to provide suggestions on problems and guidelines for the protection of pretty professionals. The quantitative and qualitative research methods were used in the study. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 11 pretty professionals, and the quantitative data were collected by questionnaires from 150 samples obtained by purposive sampling. The data were analyzed frequency distribution, Percentage, Mean; x ̅ Standard deviation s.D., T-test and F-test. The research found that: 1. The rights protection under the Act of Pretty Occupation in Bangkok in all 5 areas is at a high level. When considering each side in descending order of mean, the highest is on protection of personal rights, followed by protection of creators' rights, protection of rights in matters of health, protection of photography, and protection of rights in sexual violations respectively. 2. The results of a comparison of opinions on the protection of the rights of pretty professionals in Bangkok of respondents with different gender, age, education level, work experience and income are not different. 3. The suggestions with comments on Rights protection under the Act of Pretty Professionals in Bangkok can be summarized that: Most of the interviewees have consistent opinions and are on the protection of privacy. “Pretty professionals have potential and motivation. It can cause personal information to be violated. Followed by on the protection of the rights of creators, “How do you think protecting the rights to creativity has the benefit of pretty careers?, protection of the rights to creativity can prevent rights violations. On the protection of the rights in the area of health with the question “How vulnerable is pretty negative to the psychological or professional health problems?”, “Pretty is a career that is vulnerable to copyright infringement in photography because of their precarious behavior and dress, and minimal sexual rights violation: "Materialism in Thai society is the cause of the pretty career and the pretty professionals were sexually abused by many means.