Search results

5,470 results in 0.22s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (รศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (รศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (รัฐศาสตร์การปกครอง)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (รัฐศาสตร์การปกครอง)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการค้นคว้าทางการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน การสั่งการ และการบริหาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก หนังสือ ตำรา งานวิจัย และเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง มีด้วยกัน 5 ด้าน 1) งานด้านวิศวกรรม 2) งานด้านสาธารณูปโภค 3) งานด้านสวนสาธารณะ 4) งานด้านจัดสถานที่ 5) งานด้านการไฟฟ้าสาธารณะ สภาพการปฏิบัติงานนั้นต้องประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผนที่ดีเพื่อให้มีความสัมพันธ์กับการจัดวางโครงการซึ่งเป็นนโยบายที่กำหนดกรอบไว้ตามวัตถุประสงค์ และแผนการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า กำหนดอำนาจหน้าที่ชัดเจน โครงการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ความรับผิดชอบทางสายงานตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของแต่ละบุคคล การสั่งการในการดำเนินโครงการในแต่ละครั้งต้องมีแบบแผนปฏิบัติและต้องปฏิบัติตามแผน การแบ่งงานกันทำจึงจำเป็นอย่างยิ่ง กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรม การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารจัดการแก่ประชาชนมีคุณภาพที่ดีขึ้น 2. การปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุเป็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว 4 ประการ คือ 1) ทาน การให้ 2) ปิยวาจา วาจาเป็นที่รัก 3) อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์ 4) สมานัตตตา การวางตนสม่ำเสมอ การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่กองช่าง ทาน ทำได้ด้วยการ มีใจเผื่อแผ่ ให้ทาน เอื้อเฟื้อต่อหน้าที่ ให้ความรู้กับประชาชน ปิยวาจา ทำได้ด้วยการพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวานวาจาเป็นที่รัก หรือวาจาซาบซึ้งใจพูดคำจริง มีเหตุผลได้สาระประโยชน์ และถูกกาลเทศะ ถนอมน้ำใจไม่ดุด่าหรือกล่าวคำหยาบคาย การแสดงออกทางกายที่สำรวม มีมารยาท สุภาพอ่อนน้อม อัตถจริยา ทำได้ด้วยการบำเพ็ญประโยชน์ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการของส่วนรวม ไม่มุ่งหวังว่าจะได้รับประโยชน์ตอบแทน สิ่งของหรือ คำชมเชย มีจิตสำนึกในการให้บริการแก่เพื่อนร่วมงาน ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ รวดเร็วและถูกต้อง ทำงานในหน้าที่โดยมีจิตสำนึกและหลักการ รักษาผลประโยชน์ของทางราชการและเอื้อประโยชน์ต่อประชาชน สมานัตตตา ทำได้ด้วยการวางตนให้เหมาะสมกับฐานะในสังคม ปฏิบัติตนอย่างสม่ำเสมอต่อบุคคลอื่นหรือประชาชน ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานด้วยความเป็นกันเอง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักวางตนให้เหมาะสม ซื่อตรง อุทิศเวลาต่อหน้าที่ มีสัมพันธ์อันดีกับชุมชนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย 3.
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการค้นคว้าทางการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน การสั่งการ และการบริหาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก หนังสือ ตำรา งานวิจัย และเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง มีด้วยกัน 5 ด้าน 1) งานด้านวิศวกรรม 2) งานด้านสาธารณูปโภค 3) งานด้านสวนสาธารณะ 4) งานด้านจัดสถานที่ 5) งานด้านการไฟฟ้าสาธารณะ สภาพการปฏิบัติงานนั้นต้องประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผนที่ดีเพื่อให้มีความสัมพันธ์กับการจัดวางโครงการซึ่งเป็นนโยบายที่กำหนดกรอบไว้ตามวัตถุประสงค์ และแผนการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า กำหนดอำนาจหน้าที่ชัดเจน โครงการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ความรับผิดชอบทางสายงานตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของแต่ละบุคคล การสั่งการในการดำเนินโครงการในแต่ละครั้งต้องมีแบบแผนปฏิบัติและต้องปฏิบัติตามแผน การแบ่งงานกันทำจึงจำเป็นอย่างยิ่ง กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรม การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารจัดการแก่ประชาชนมีคุณภาพที่ดีขึ้น 2. การปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุเป็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว 4 ประการ คือ 1) ทาน การให้ 2) ปิยวาจา วาจาเป็นที่รัก 3) อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์ 4) สมานัตตตา การวางตนสม่ำเสมอ การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่กองช่าง ทาน ทำได้ด้วยการ มีใจเผื่อแผ่ ให้ทาน เอื้อเฟื้อต่อหน้าที่ ให้ความรู้กับประชาชน ปิยวาจา ทำได้ด้วยการพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวานวาจาเป็นที่รัก หรือวาจาซาบซึ้งใจพูดคำจริง มีเหตุผลได้สาระประโยชน์ และถูกกาลเทศะ ถนอมน้ำใจไม่ดุด่าหรือกล่าวคำหยาบคาย การแสดงออกทางกายที่สำรวม มีมารยาท สุภาพอ่อนน้อม อัตถจริยา ทำได้ด้วยการบำเพ็ญประโยชน์ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการของส่วนรวม ไม่มุ่งหวังว่าจะได้รับประโยชน์ตอบแทน สิ่งของหรือ คำชมเชย มีจิตสำนึกในการให้บริการแก่เพื่อนร่วมงาน ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ รวดเร็วและถูกต้อง ทำงานในหน้าที่โดยมีจิตสำนึกและหลักการ รักษาผลประโยชน์ของทางราชการและเอื้อประโยชน์ต่อประชาชน สมานัตตตา ทำได้ด้วยการวางตนให้เหมาะสมกับฐานะในสังคม ปฏิบัติตนอย่างสม่ำเสมอต่อบุคคลอื่นหรือประชาชน ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานด้วยความเป็นกันเอง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักวางตนให้เหมาะสม ซื่อตรง อุทิศเวลาต่อหน้าที่ มีสัมพันธ์อันดีกับชุมชนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย 3.
ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 อยู่ร่วมกันในสังคมมีความอนุเคราะห์ สงเคราะห์ แบ่งปันช่วยเหลือกันและกัน ทำให้อยู่ร่วมกันทำงานร่วมกัน เต็มใจช่วยเหลือเกื้อกูล ร่วมแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์ทำให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ การมีหลักธรรมสังคหวัตถุ 4 เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจะทำให้รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นหมู่ช่วยเหลือกันมีความสามัคคีกันแบ่งปันกันไม่ว่าจะเกิดเหตุการณ์ที่เลวร้ายก็สามารถแก้ปัญหาและช่วยเหลือกัน ด้านรวมไปถึงด้านให้กำลังใจที่ส่งถึงกันเพื่อให้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม สามารถมีทัศนคติใช้ปฏิบัติในทางที่ในการสนับสนุนและช่วยเหลือกัน เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจะทำให้รวมกันเป็นหมู่ คนในประเทศชาติประพฤติดีมีศีลธรรมรู้จักเกื้อกูลกันไม่ขัดแย้งแตกแยกกัน ให้กำลังใจซึ่งกันและกันเหนี่ยวน้ำใจของกัน จะประสานกลมเกลียวสอดคล้องกัน เพื่องานที่ทำบรรลุผลมีประโยชน์ หากร่วมมือกันในทุกฝ่ายแล้วย่อมสร้างความเจริญรุ่งเรืองและมั่นคงของประเทศชาติ
The objective of this thesis is 1) to study the working conditions. Of the Technician Division Lam Sam Kaew Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province 2) to study the work according to Sangahavatthu 4 principles of the Technician Division Lam Sam Kaew City Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province 3) To suggest the operational guidelines according to Sangahavatthu 4 principles of the Technician Division Lam Sam Kaeo Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province This research is a qualitative research by researching in-depth interviews. Those responsible for operations, commanding, and administration by studying from the Tripitaka, books, research textbooks and related academic documents The research found that 1. Operating conditions There are 5 aspects of the technician staff: 1) Engineering 2) Utilities 3) Public parks 4) Site management 5) Public electricity The operating conditions must consist of good planning procedures in order to relate to the project layout, which is a policy that is defined in accordance with the objectives. And work plans in advance Set clear authority. The project has a common goal. Responsibility in line with each individual's expertise and expertise. Each project operation order must have a pattern of action and must follow the plan. The division of work is therefore very necessary. Determine the relationship between workers and activities The use of organization resources for maximum efficiency. Management for the public has improved quality. 2. Performance according to the principles of Sanghavatthu 4, Sanghavatthaya is fair, the following are 4 things: 1) giving alms 2) giving the words to the words that are loved 3) the self-behavior, the behavior 4) the constant self-determination The duties of the staff of the Food Mechanics Division are made by generosity and generosity. To educate the people, to make words through speech with sweet, sweet words and beloved words. Or verbally spoken words Have reason and benefit And timely Be considerate and not curse or vulgar Comprehensive physical expression, courteous, polite, docile, attentive, can be achieved through service. Striving to help public affairs Not aiming to receive benefits in return Things or compliments Have a sense of service to colleagues People at full capacity Fast and accurate Work on duty with awareness and principles Maintain the government benefits and benefit the people. Samantha Tata can do by placing oneself appropriate to the status in society. Treat oneself consistently with other people or the public. Equality Treat colleagues with friendliness. Behave as a role model Knowing how to position oneself appropriately, honestly, devoting time to duty Have consistently good relations with the community 3. Suggestions on how to perform the work according to Sangahavatthu 4, coexist in society, provide assistance, share and help each other Make it together, work together Willing to help Solving problems for the benefit of bringing together peace Having the Sanghavatthu 4 principle as an anchor will make it a group. Be a group to help each other, to have unity and to share, no matter how bad events can solve problems and help each other Side, including the encouraging side sent to each other for the sake of the common good Can have an attitude and practice in a way that supports and helps one another As an anchor to make one together People in the nation are well behaved, morally, supportive, not conflict, divided. Encouraging each other to encourage each other Will harmonize harmoniously For work to be successful If collaborating in all parties, it will create prosperity and stability for the nation.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) บริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) บริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามเพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็น ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 63 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่น(Reliability) เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่า t–test (Independent Sample) และ F–test (One way ANOVA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ คือ การสร้างโอกาสทางการศึกษา รองลงมา คือ การสร้างความเข้มแข็งและความพรอมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน 2) ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามเพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน การสร้างโอกาสทางการศึกษา การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน การสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก การส่งเสริม การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นต่อการดำเนินการตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ของเพศชายและเพศหญิง ด้านการสร้างโอกาสทางการศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 สรุปได้ดังนี้ 1) การสร้างโอกาสทางการศึกษา ควรร่วมมือกันในการสร้างความเป็นเลิศในทุกๆ โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรวม การใช้สื่อนวัตกรรมที่สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก 3) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ควรจัดให้มีการจัดตารางการเรียนการสอนในระดับชั้นเดียวกันให้ตรงกันทุกโรงเรียนในเครือข่ายหรือโรงเรียนที่อยู่ใกล้กันแล้วจัดการหมุนเวียนเข้าเรียนในแต่ละวัน 4) ด้านการสร้างความเข้มแข็งและความพรอมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามเพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็น ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 63 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่น(Reliability) เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่า t–test (Independent Sample) และ F–test (One way ANOVA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ คือ การสร้างโอกาสทางการศึกษา รองลงมา คือ การสร้างความเข้มแข็งและความพรอมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน 2) ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามเพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน การสร้างโอกาสทางการศึกษา การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน การสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก การส่งเสริม การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นต่อการดำเนินการตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ของเพศชายและเพศหญิง ด้านการสร้างโอกาสทางการศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 สรุปได้ดังนี้ 1) การสร้างโอกาสทางการศึกษา ควรร่วมมือกันในการสร้างความเป็นเลิศในทุกๆ โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรวม การใช้สื่อนวัตกรรมที่สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก 3) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ควรจัดให้มีการจัดตารางการเรียนการสอนในระดับชั้นเดียวกันให้ตรงกันทุกโรงเรียนในเครือข่ายหรือโรงเรียนที่อยู่ใกล้กันแล้วจัดการหมุนเวียนเข้าเรียนในแต่ละวัน 4) ด้านการสร้างความเข้มแข็งและความพรอมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
โรงเรียนขนาดเล็กทุกโรงในเครือข่ายจะต้องมีการบริหารจัดการด้านวิชาการร่วมกัน และพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวมคละชั้นให้กับครูทุกคน และ 5) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา โรงเรียนขนาดเล็กทุกโรงเรียนในเครือข่ายจะต้องร่วมกันประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการที่ประสบผลสำเร็จให้ประชาชนในชุมชนได้รับทราบ และจะต้องหาช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่สามารถเข้าถึงประชาชนได้อย่างแท้จริง
The objectives of the research were 1) to study the guidelines for developing education quality of small-sized schools in the sixteenth education development center of Khok Nakhum under the jurisdiction of the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 2, 2) to compare the attitude of the executives and teachers toward the guidelines for developing education quality of the said small-sized schools, classified by gender, position and job experience, and 3) to find out the suggestions and recommendations about the guidelines for developing education quality of the small-sized schools as earlier mentioned. The samples were 63 administrators and teachers in the said schools, who were selected via the means of simplistic sampling based on the Krejcie and Morgan table. The five-rating scale questionnaire was used as a tool to collect the data, with its content validity in the range of 0.67 – 1.00 and its reliability at 0.96. The statistical devices used for data analysis consisted of Frequency, Percentage, Mean (), S.D., t – test (Independent Samples) and F – test (One–way ANOVA). The research results were as follows: 1) The guidelines for developing education quality of small-sized schools in the sixteenth education quality center of Khok Nakhum under the jurisdiction of the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 2 were found , in an overall aspect, to exist at the ‘MUCH’ level. Taking into account the individual aspect, the item that stood on top of the scale was the aspect of opportunity extension, followed by the enhancement of strength and readiness for administration of small-sized schools, and the sustainable and effective development of administration and management system, respectively. 2) The comparison of the attitude of the executives and teachers toward the guidelines for developing education quality of the said small-sized schools, classified by gender, position and job experience, was found, in an overall aspect, to feature no statistically significant difference in such fields as opportunity extension, quality and standards development, sustainable and effective development of administration and management system, enhancement of strength and readiness for administration of small-sized schools and promotion of multi-participation. The different attitude of male and female gender was found in the aspect of opportunity extension which showed the statistically significant difference at .05. 3) The recommendations suggested by the correspondents were the following: (1) As for the opportunity extension, all the small-sized schools in the network should cooperate in promotion of excellences in all fields, especially the pupil care aspect. (2) As for the quality and standards development, the research on the classroom pool arrangement and the innovative media to increase the pupils’ effectiveness. (3) The sustainable and effective development of administration and management system required all the schools in the network to design the identical time table for rotation of class attendances. (4) The enhancement of strength and readiness for administration of small-sized schools recommended all the schools to cooperate in academic administration and cross-class teaching management on the part of teachers. (5) As regards the promotion of multi-participation, all the schools were required to publicize their own successful performances and find out the channels of public relations which were able to meet with the public interest.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551