Search results

5,166 results in 0.21s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาสัมมาทิฏฐิตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาการสร้างสันติสุขตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อวิเคราะห์สัมมาทิฏฐิ ในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก และจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักคำสอนเรื่องสัมมาทิฏฐิที่ปรากฏในพุทธปรัชญาเถรวาท ผลการวิจัยพบว่า สัมมาทิฏฐิเป็นองค์ประกอบข้อแรกของมรรคมีองค์ ๘ ซึ่งเป็นองค์ ต้นทางแห่งมรรค โดยที่องค์มรรคอีกทั้ง ๗ ข้อ ก็มีคำว่า สัมมา อยู่ข้างหน้าทุกองค์ ๒ และจะเห็นว่า “สัมมา” แปลว่า “ชอบ” หรือ “ถูก” และ “ทิฏฐิ” แปลว่า “ความเห็น” สัมมาทิฏฐินั้นเปรียบประดุจแกนนำ หรือในมุมของปฏิจจสมุปบาท ถ้ามีสัมมาทิฏฐิเป็นตัวนำวิถีชีวิตก็จะดำเนินไปในสายดับทุกข์ (นิโรธวาร) หรือ ปฏิบัติตามมรรคมีองค์ ๘ การสร้างสันติสุขมี ๒ ปัจจัย ได้แก่ (๑) ปัจจัยภายนอก สำหรับคนสามัญนั้นต้องอาศัยการชี้แนะจากคนดี มีปัญญา มีคุณธรรม ทำหน้าที่ช่วยเหลือแนะนำสั่งสอนให้ผู้อื่นมีความเห็นถูกและคล้อยไปตามคำแนะนำชักจูงที่ฉลาดได้ง่ายและจะต้องฝึกหัดให้สามารถใช้ความคิดอย่างถูกวิธีด้วยตนเองได้ เป็นกัลยาณมิตรโดยแท้มี ๒ ด้าน คือ (๑) คุณสมบัติที่แสดงออกภายนอก คือ คุณสมบัติมิตรที่ดี ๗ ได้แก่ ๑) มิตรมีใจงามชนิดอุปการะ ๒) ทมะ ๓) มิตรมีใจงามชนิดมีใจรัก ๔) สัจจะ ๕) ขันติ ๖) มิตรมีใจงามชนิดร่วมทุกข์ร่วมสุข ๗) มิตรมีใจงามชนิดแนะนำประโยชน์ (๒) ปัจจัยภายใน ได้แก่ ฝึกหัดอบรม กาย วาจา จิตใจ และปัญญาให้ยิ่งขึ้นไปจนบรรลุจุดหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ผลการวิเคราะห์สัมมาทิฏฐในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยนั้น ก่อให้เกิดความเห็นถูก เห็นชอบซึ่งต้องตั้งต้นด้วยความเห็นชอบเสมอ อีกทั้งเพื่อให้มีความสมดุล ในด้านต่างๆเช่น ด้านการศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านการศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อมจากวัฒนธรรมอื่นที่หลั่งไหลเข้ามาจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาสัมมาทิฏฐิตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาการสร้างสันติสุขตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อวิเคราะห์สัมมาทิฏฐิ ในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก และจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักคำสอนเรื่องสัมมาทิฏฐิที่ปรากฏในพุทธปรัชญาเถรวาท ผลการวิจัยพบว่า สัมมาทิฏฐิเป็นองค์ประกอบข้อแรกของมรรคมีองค์ ๘ ซึ่งเป็นองค์ ต้นทางแห่งมรรค โดยที่องค์มรรคอีกทั้ง ๗ ข้อ ก็มีคำว่า สัมมา อยู่ข้างหน้าทุกองค์ ๒ และจะเห็นว่า “สัมมา” แปลว่า “ชอบ” หรือ “ถูก” และ “ทิฏฐิ” แปลว่า “ความเห็น” สัมมาทิฏฐินั้นเปรียบประดุจแกนนำ หรือในมุมของปฏิจจสมุปบาท ถ้ามีสัมมาทิฏฐิเป็นตัวนำวิถีชีวิตก็จะดำเนินไปในสายดับทุกข์ (นิโรธวาร) หรือ ปฏิบัติตามมรรคมีองค์ ๘ การสร้างสันติสุขมี ๒ ปัจจัย ได้แก่ (๑) ปัจจัยภายนอก สำหรับคนสามัญนั้นต้องอาศัยการชี้แนะจากคนดี มีปัญญา มีคุณธรรม ทำหน้าที่ช่วยเหลือแนะนำสั่งสอนให้ผู้อื่นมีความเห็นถูกและคล้อยไปตามคำแนะนำชักจูงที่ฉลาดได้ง่ายและจะต้องฝึกหัดให้สามารถใช้ความคิดอย่างถูกวิธีด้วยตนเองได้ เป็นกัลยาณมิตรโดยแท้มี ๒ ด้าน คือ (๑) คุณสมบัติที่แสดงออกภายนอก คือ คุณสมบัติมิตรที่ดี ๗ ได้แก่ ๑) มิตรมีใจงามชนิดอุปการะ ๒) ทมะ ๓) มิตรมีใจงามชนิดมีใจรัก ๔) สัจจะ ๕) ขันติ ๖) มิตรมีใจงามชนิดร่วมทุกข์ร่วมสุข ๗) มิตรมีใจงามชนิดแนะนำประโยชน์ (๒) ปัจจัยภายใน ได้แก่ ฝึกหัดอบรม กาย วาจา จิตใจ และปัญญาให้ยิ่งขึ้นไปจนบรรลุจุดหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ผลการวิเคราะห์สัมมาทิฏฐในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยนั้น ก่อให้เกิดความเห็นถูก เห็นชอบซึ่งต้องตั้งต้นด้วยความเห็นชอบเสมอ อีกทั้งเพื่อให้มีความสมดุล ในด้านต่างๆเช่น ด้านการศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านการศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อมจากวัฒนธรรมอื่นที่หลั่งไหลเข้ามาจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
This thesis serves the purposes: 1) to study Right Understanding in Theravada Buddhist philosophy, 2) to study creating peace in Theravada Buddhist Philosophy, and 3) to analyze right understanding to create peace of Thai’s society in Theravada Buddhist Philosophy. It has been carried out with qualitative research methodology, of which its sources include The Tipitaka, relevant researches and other texts to supplement it. The results of the research were found that: The righteous thoughts are the first element of the eight paths of the path. By the 7 other paragraphs, the word is right in front of all 2, and see that “right” means “right” or “right” and “point” means “opinion”. There are two levels of peace building: (1) external factors For ordinary people, it requires the guidance of the good, the wise, the virtuous, the help, the instruction, the instruction to others, the right opinion, and follow the instructions to induce the smart and easy to practice to be able to use the right thinking. The analysis of the expected results when applied Sammathit to create peace in Thai society. It is for the opinion to be approved, which must always be initiated with approval. Also to be balanced. In such areas as education, social and environmental, to be ready to accommodate the rapid and widespread change in education, society, environment, from other cultures flowing from the outside world as well.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหาอุปสรรคการบริหารหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2) เพื่อศึกษานโยบายปฏิรูปประเทศไทยด้านการอุดมศึกษา 20 ปี 3) เพื่อศึกษาหลักการบริหารและการพัฒนาการอุดมศึกษาในอนาคต และ 4) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาที่สนองนโยบายปฏิรูปประเทศไทยระยะ 20 ปี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยมี 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักศึกษา และกลุ่มนักวิชาการและอาจารย์ประจำหลักสูตร เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( xˉ ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันในการบริหารหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้าน พบว่า การบริหารหลักสูตรด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านนักศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการจัดการหลักสูตร และด้านการบริหารอาจารย์ประจำหลักสูตร มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลางตามลำดับ 2) นโยบายปฏิรูปประเทศไทยด้านการอุดมศึกษา 20 ปี จะมุ่งเน้นคุณภาพบัณฑิต คุณภาพการวิจัยและนวัตกรรม การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศระดับโลก สร้างความเสมอภาค โอกาสและความหลากหลายของผู้รับบริการ การพัฒนากลุ่มผู้ด้อยโอกาส และตอบสนองบทบาทที่เปลี่ยนแปลง โดยการปรับตัวในการผลิตบัณฑิตเข้าสู่ความต้องการของสังคมและตลาดแรงงาน การลดช่องว่างทักษะของบัณฑิตกับความต้องการของนายจ้าง การสร้างงาน การเป็นผู้ประกอบการและการมีงานทำ 3) หลักการบริหารและการพัฒนาการอุดมศึกษาในอนาคต ได้แก่ การสร้างพลเมืองคุณภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน การพัฒนาหลักสูตรเพื่อทําให้ผู้เรียนสามารถกําหนดแนวทางในการประกอบอาชีพได้ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง การปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อสร้างคนที่ เป็น “คนไทย 4.0” การกระจายโอกาสและการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การบริหาร จัดการงบประมาณและทรัพยากรของอุดมศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิตที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 4) แนวทางการพัฒนาหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษา ควรขับเคลื่อนตามแนวนโยบายมหาวิทยาลัย 4.0 โดยมีการบริหารจัดการความเสี่ยงและวางแผนด้านอัตรากำลังของอาจารย์ประจําหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ปรับกลยุทธ์การรับเข้าเพื่อให้ได้ผู้เรียนตรงตามเป้าหมาย โดยการประชาสัมพันธ์เชิงรุกไปยังกลุ่มเป้าหมาย สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและเอกชนเพื่อหาผู้เรียนในกลุ่มคนวัยทำงานและผู้สูงวัย มีการเพิ่มช่องทางการรับเข้า เช่น จัดทําการตลาด (Marketing) การจัดกิจกรรม Open House เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตร สร้างหลักสูตรให้มีความทันสมัย ยืดหยุ่นและสามารถตอบโจทย์ความต้องการของสังคมได้ พัฒนาหลักสูตรเชิงบูรณาการในลักษณะของสหกิจศึกษาเพื่อให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งส่งเสริมนวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่โดยมีพุทธศาสนาเป็นฐาน รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหาอุปสรรคการบริหารหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2) เพื่อศึกษานโยบายปฏิรูปประเทศไทยด้านการอุดมศึกษา 20 ปี 3) เพื่อศึกษาหลักการบริหารและการพัฒนาการอุดมศึกษาในอนาคต และ 4) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาที่สนองนโยบายปฏิรูปประเทศไทยระยะ 20 ปี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยมี 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักศึกษา และกลุ่มนักวิชาการและอาจารย์ประจำหลักสูตร เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( xˉ ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันในการบริหารหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้าน พบว่า การบริหารหลักสูตรด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านนักศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการจัดการหลักสูตร และด้านการบริหารอาจารย์ประจำหลักสูตร มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลางตามลำดับ 2) นโยบายปฏิรูปประเทศไทยด้านการอุดมศึกษา 20 ปี จะมุ่งเน้นคุณภาพบัณฑิต คุณภาพการวิจัยและนวัตกรรม การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศระดับโลก สร้างความเสมอภาค โอกาสและความหลากหลายของผู้รับบริการ การพัฒนากลุ่มผู้ด้อยโอกาส และตอบสนองบทบาทที่เปลี่ยนแปลง โดยการปรับตัวในการผลิตบัณฑิตเข้าสู่ความต้องการของสังคมและตลาดแรงงาน การลดช่องว่างทักษะของบัณฑิตกับความต้องการของนายจ้าง การสร้างงาน การเป็นผู้ประกอบการและการมีงานทำ 3) หลักการบริหารและการพัฒนาการอุดมศึกษาในอนาคต ได้แก่ การสร้างพลเมืองคุณภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน การพัฒนาหลักสูตรเพื่อทําให้ผู้เรียนสามารถกําหนดแนวทางในการประกอบอาชีพได้ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง การปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อสร้างคนที่ เป็น “คนไทย 4.0” การกระจายโอกาสและการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การบริหาร จัดการงบประมาณและทรัพยากรของอุดมศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิตที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 4) แนวทางการพัฒนาหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษา ควรขับเคลื่อนตามแนวนโยบายมหาวิทยาลัย 4.0 โดยมีการบริหารจัดการความเสี่ยงและวางแผนด้านอัตรากำลังของอาจารย์ประจําหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ปรับกลยุทธ์การรับเข้าเพื่อให้ได้ผู้เรียนตรงตามเป้าหมาย โดยการประชาสัมพันธ์เชิงรุกไปยังกลุ่มเป้าหมาย สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและเอกชนเพื่อหาผู้เรียนในกลุ่มคนวัยทำงานและผู้สูงวัย มีการเพิ่มช่องทางการรับเข้า เช่น จัดทําการตลาด (Marketing) การจัดกิจกรรม Open House เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตร สร้างหลักสูตรให้มีความทันสมัย ยืดหยุ่นและสามารถตอบโจทย์ความต้องการของสังคมได้ พัฒนาหลักสูตรเชิงบูรณาการในลักษณะของสหกิจศึกษาเพื่อให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งส่งเสริมนวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่โดยมีพุทธศาสนาเป็นฐาน
Note: รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการดังนี้1) เพื่อศึกษาสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 3) เพื่อเสนอแนะการเพิ่มขีดความสามารถในการสอนธรรมและการนำปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหาม กุฏราชวิทยาลัย (ส่วนกลาง) สังกัดพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ จำนวน 222 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่แบบสอบถาม สำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และแบบสัมภาษณ์สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X̅) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน(Pearson’s Product Moment Correlation) นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบการบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้านพบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการนำปฏิบัติธรรม มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (X̅= 4.134) รองลงมาคือด้านเนื้อหาหลักสูตร มีค่าเฉลี่ย (X̅=4.084) และมีค่าน้อยสุดคือด้านการวัดผลและการประเมินผล มีค่าเฉลี่ย (X̅= 4.036) ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแสดงธรรมและนำการปฏิบัติธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้านพบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสถานภาพและการยอมรับนับถือ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (X̅=4.20) รองลงมาคือ ด้านความถนัดและความพึงพอใจในงาน (X̅=4.00) ด้านความเอาใจใส่ของผู้บังคับบัญชา (X̅= 3.95) และมีค่าน้อยสุดคือ ด้านการพิจารณาความดีความชอบและสวัสดิการ (X̅= 3.68) ตามลำดับ 3) ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถกับสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถกับสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมมีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับค่อนข้างสูง (rxy = 0.601) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หรือมีความสัมพันธ์ในลักษณะคล้อยตามกัน สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 4) รูปแบบการเพิ่มขีดความสามารถพบว่า พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ด้านความรู้ ควรมีรูปแบบที่เน้นการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้วยการสนับสนุนส่งเสริมการศึกษาทั้งทางโลกและทางธรรม จัดอบรมพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ด้านทักษะ ควรมีรูปแบบที่หลากหลายเพราะมีสถานศึกษาแต่ละพื้นที่พระสอนศีลธรรมไปปฏิบัติหน้าที่มีบริบทที่แตกต่างกันด้านบุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล ควรมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐานอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยดึงศักยภาพหรือบุคลิกลักษณะประจำตัวที่โดดเด่นของพระสอนศีลธรรมแต่ละรูปมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านทัศนคติและค่านิยม รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากโครงการการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการดังนี้1) เพื่อศึกษาสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 3) เพื่อเสนอแนะการเพิ่มขีดความสามารถในการสอนธรรมและการนำปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหาม กุฏราชวิทยาลัย (ส่วนกลาง) สังกัดพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ จำนวน 222 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่แบบสอบถาม สำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และแบบสัมภาษณ์สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X̅) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน(Pearson’s Product Moment Correlation) นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบการบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้านพบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการนำปฏิบัติธรรม มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (X̅= 4.134) รองลงมาคือด้านเนื้อหาหลักสูตร มีค่าเฉลี่ย (X̅=4.084) และมีค่าน้อยสุดคือด้านการวัดผลและการประเมินผล มีค่าเฉลี่ย (X̅= 4.036) ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแสดงธรรมและนำการปฏิบัติธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้านพบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสถานภาพและการยอมรับนับถือ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (X̅=4.20) รองลงมาคือ ด้านความถนัดและความพึงพอใจในงาน (X̅=4.00) ด้านความเอาใจใส่ของผู้บังคับบัญชา (X̅= 3.95) และมีค่าน้อยสุดคือ ด้านการพิจารณาความดีความชอบและสวัสดิการ (X̅= 3.68) ตามลำดับ 3) ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถกับสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถกับสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมมีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับค่อนข้างสูง (rxy = 0.601) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หรือมีความสัมพันธ์ในลักษณะคล้อยตามกัน สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 4) รูปแบบการเพิ่มขีดความสามารถพบว่า พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ด้านความรู้ ควรมีรูปแบบที่เน้นการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้วยการสนับสนุนส่งเสริมการศึกษาทั้งทางโลกและทางธรรม จัดอบรมพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ด้านทักษะ ควรมีรูปแบบที่หลากหลายเพราะมีสถานศึกษาแต่ละพื้นที่พระสอนศีลธรรมไปปฏิบัติหน้าที่มีบริบทที่แตกต่างกันด้านบุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล ควรมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐานอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยดึงศักยภาพหรือบุคลิกลักษณะประจำตัวที่โดดเด่นของพระสอนศีลธรรมแต่ละรูปมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านทัศนคติและค่านิยม
ควรจะรูปแบบควรมีลักษณะที่หลากหลายสอดคล้องกับสถานการณ์ของปัญหาและควรมีการบูรณาการรูปแบบต่าง ๆ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 5) ข้อเสนอแนะในการเพิ่มขีดความสามารถ พบว่า การส่งเสริมการศึกษาต่อของพระสอนศีลธรรมควรจะมีการส่งเสริมด้านการศึกษาในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับงาน การอบรม พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ควรจะเข้ารับการฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พระสอนศีลธรรมควรจะเข้าสัมมนาประจำปีควรจัดการศึกษาดูงานการปฏิบัติที่ดีและการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์การปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมแต่ละพื้นที่ ควรมีการศึกษาดูงานของหน่วยงาน ในสังกัดที่อยู่ต่างพื้นที่ เนื่องจากขีดความสามารถในการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมแต่ละรูปนั้น ไม่เท่ากัน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาเป็นรายบุคคล โดยการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมตามความถนัด เน้นพัฒนาขีดความสามารถเฉพาะตัว ทั้งนี้โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ควรจะเร่งดำเนินการตามแผนงานยุทธศาสตร์และกลยุทธ์การพัฒนาความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมอย่างเป็นรูปธรรม มีการวัดผลและประเมินผลที่เป็นมาตรฐาน ในด้านตัวของพระสอนศีลธรรมแต่ละรูป ควรจะเรียนรู้เกี่ยวกับงานในหน้าที่รับผิดชอบ และควรมีการพัฒนาตนเองอยู่สม่ำเสมอ
This research was composed of three objectives as follows; 1) To study the competency for Dhamma teaching and performing chief of school moral teaching monk. 2) To study the factors which are affected to Dhamma teaching component and performing chief of school moral teaching monk. 3) To present the guideline to promote Dhamma teaching competency and performing chief of school moral teaching monk. The population were composed of school moral teaching monksunder Mahamakut Buddhist University (central) for 222 persons under four provinces i.e. Bangkok, Nonthaburi, Pathum Thani and Samutprakarn. The instruments were questionnaire for quantitative research and qualitative research by in-depth interview sheet. The statistical analysis i.e. frequency, percentage, mean and standard deviation and to test the hypothesis by Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient and to present the tables for descriptive distribution. The findings were as follows; 1) The competency for Dhamma teaching and performing chief of school moral teaching monk by overview was at more level. When considered in each aspect found that the aspect of performing chief was the most level (x = 4.134) and followed up the aspect of curriculum (x = 4.084) and content, the aspect of curriculum, and the aspect of assessment was the lowest (x = 4.036) respectively. 2) The factors which are affected to Dhamma teaching competency and performing chief of school moral teaching monk by overview was at more level when classified in each aspect found that all are at more level from more to less as follows; the aspect of status and admiration was the highest mean (x = 4.20) and followed up the aspect of job satisfaction (x = 4.00) and commander regarding (x = 3.95) and the aspect of compensation and welfare was the lowest mean (x = 3.68) respectively. 3) The result of hypothesis test by Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient for Dhamma teaching competency and performing chief of school moral teaching monk found that status factors and admiration are related with Dhamma teaching competency and performing chief in positive rather high level (r=0.601) at the statistical significance of .01 or to accordance relation with setting hypothesis. 4) The model for adding competency found that the aspect of knowledge there should have the model emphasized on motivation in work performance by promotion on studying in secular and religious studies to be trained usually for competency development. The aspect of skill, there should have variety of forms for difference of surroundings performance. The aspect of personnel personality, there should have standard form as unity by selection of specialist for adaption the aspect of attitude and value, there should have variety and accordance with problem situation and should have integration for any forms and same direction. 5) The guideline to promote Dhamma teaching competency found that they should be further studies of them. There should promote on education in curriculum which are concerned with school moral teaching. There should be trained on information technology in yearly. There should have study tour on good work performance and experience changing each other. There should have study tour for office to addition of competency according to special skill and they should perform according to strategic plan in competency development of moral teaching monk as touch ability. To have assessment as universal standard for each one. There should learn about work in responsible duty and usually develop oneself.
Note: รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากโครงการการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
หนังสือ

    โครงการวัดบันดาลใจ โดยความร่วมมือของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบันอาศรมศิลป์
Note: โครงการวัดบันดาลใจ โดยความร่วมมือของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบันอาศรมศิลป์
TOC:
  • ครุสติสถาน
  • แนวคิดการออกแบบ
  • การใช้งานอาคารและสถานที่
  • ศาลาส่วนกลาง
  • ห้องครัว
  • ที่พัก
  • ลู่เดินจงกรม
  • กุฏิพระสงฆ์
  • สิ่งที่น่าสนใจของครุสติสถาน
หนังสือ

    สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พิมพ์เป็นที่ระลึกในงานวันอนุสรณ์ 17 กันยายน 2540
สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พิมพ์เป็นที่ระลึกในงานวันอนุสรณ์ 17 กันยายน 2540
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการค้นคว้าทางการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน การสั่งการ และการบริหาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก หนังสือ ตำรา งานวิจัย และเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง มีด้วยกัน 5 ด้าน 1) งานด้านวิศวกรรม 2) งานด้านสาธารณูปโภค 3) งานด้านสวนสาธารณะ 4) งานด้านจัดสถานที่ 5) งานด้านการไฟฟ้าสาธารณะ สภาพการปฏิบัติงานนั้นต้องประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผนที่ดีเพื่อให้มีความสัมพันธ์กับการจัดวางโครงการซึ่งเป็นนโยบายที่กำหนดกรอบไว้ตามวัตถุประสงค์ และแผนการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า กำหนดอำนาจหน้าที่ชัดเจน โครงการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ความรับผิดชอบทางสายงานตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของแต่ละบุคคล การสั่งการในการดำเนินโครงการในแต่ละครั้งต้องมีแบบแผนปฏิบัติและต้องปฏิบัติตามแผน การแบ่งงานกันทำจึงจำเป็นอย่างยิ่ง กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรม การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารจัดการแก่ประชาชนมีคุณภาพที่ดีขึ้น 2. การปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุเป็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว 4 ประการ คือ 1) ทาน การให้ 2) ปิยวาจา วาจาเป็นที่รัก 3) อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์ 4) สมานัตตตา การวางตนสม่ำเสมอ การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่กองช่าง ทาน ทำได้ด้วยการ มีใจเผื่อแผ่ ให้ทาน เอื้อเฟื้อต่อหน้าที่ ให้ความรู้กับประชาชน ปิยวาจา ทำได้ด้วยการพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวานวาจาเป็นที่รัก หรือวาจาซาบซึ้งใจพูดคำจริง มีเหตุผลได้สาระประโยชน์ และถูกกาลเทศะ ถนอมน้ำใจไม่ดุด่าหรือกล่าวคำหยาบคาย การแสดงออกทางกายที่สำรวม มีมารยาท สุภาพอ่อนน้อม อัตถจริยา ทำได้ด้วยการบำเพ็ญประโยชน์ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการของส่วนรวม ไม่มุ่งหวังว่าจะได้รับประโยชน์ตอบแทน สิ่งของหรือ คำชมเชย มีจิตสำนึกในการให้บริการแก่เพื่อนร่วมงาน ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ รวดเร็วและถูกต้อง ทำงานในหน้าที่โดยมีจิตสำนึกและหลักการ รักษาผลประโยชน์ของทางราชการและเอื้อประโยชน์ต่อประชาชน สมานัตตตา ทำได้ด้วยการวางตนให้เหมาะสมกับฐานะในสังคม ปฏิบัติตนอย่างสม่ำเสมอต่อบุคคลอื่นหรือประชาชน ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานด้วยความเป็นกันเอง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักวางตนให้เหมาะสม ซื่อตรง อุทิศเวลาต่อหน้าที่ มีสัมพันธ์อันดีกับชุมชนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย 3.
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการค้นคว้าทางการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน การสั่งการ และการบริหาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก หนังสือ ตำรา งานวิจัย และเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง มีด้วยกัน 5 ด้าน 1) งานด้านวิศวกรรม 2) งานด้านสาธารณูปโภค 3) งานด้านสวนสาธารณะ 4) งานด้านจัดสถานที่ 5) งานด้านการไฟฟ้าสาธารณะ สภาพการปฏิบัติงานนั้นต้องประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผนที่ดีเพื่อให้มีความสัมพันธ์กับการจัดวางโครงการซึ่งเป็นนโยบายที่กำหนดกรอบไว้ตามวัตถุประสงค์ และแผนการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า กำหนดอำนาจหน้าที่ชัดเจน โครงการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ความรับผิดชอบทางสายงานตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของแต่ละบุคคล การสั่งการในการดำเนินโครงการในแต่ละครั้งต้องมีแบบแผนปฏิบัติและต้องปฏิบัติตามแผน การแบ่งงานกันทำจึงจำเป็นอย่างยิ่ง กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรม การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารจัดการแก่ประชาชนมีคุณภาพที่ดีขึ้น 2. การปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุเป็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว 4 ประการ คือ 1) ทาน การให้ 2) ปิยวาจา วาจาเป็นที่รัก 3) อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์ 4) สมานัตตตา การวางตนสม่ำเสมอ การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่กองช่าง ทาน ทำได้ด้วยการ มีใจเผื่อแผ่ ให้ทาน เอื้อเฟื้อต่อหน้าที่ ให้ความรู้กับประชาชน ปิยวาจา ทำได้ด้วยการพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวานวาจาเป็นที่รัก หรือวาจาซาบซึ้งใจพูดคำจริง มีเหตุผลได้สาระประโยชน์ และถูกกาลเทศะ ถนอมน้ำใจไม่ดุด่าหรือกล่าวคำหยาบคาย การแสดงออกทางกายที่สำรวม มีมารยาท สุภาพอ่อนน้อม อัตถจริยา ทำได้ด้วยการบำเพ็ญประโยชน์ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการของส่วนรวม ไม่มุ่งหวังว่าจะได้รับประโยชน์ตอบแทน สิ่งของหรือ คำชมเชย มีจิตสำนึกในการให้บริการแก่เพื่อนร่วมงาน ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ รวดเร็วและถูกต้อง ทำงานในหน้าที่โดยมีจิตสำนึกและหลักการ รักษาผลประโยชน์ของทางราชการและเอื้อประโยชน์ต่อประชาชน สมานัตตตา ทำได้ด้วยการวางตนให้เหมาะสมกับฐานะในสังคม ปฏิบัติตนอย่างสม่ำเสมอต่อบุคคลอื่นหรือประชาชน ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานด้วยความเป็นกันเอง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักวางตนให้เหมาะสม ซื่อตรง อุทิศเวลาต่อหน้าที่ มีสัมพันธ์อันดีกับชุมชนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย 3.
ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 อยู่ร่วมกันในสังคมมีความอนุเคราะห์ สงเคราะห์ แบ่งปันช่วยเหลือกันและกัน ทำให้อยู่ร่วมกันทำงานร่วมกัน เต็มใจช่วยเหลือเกื้อกูล ร่วมแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์ทำให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ การมีหลักธรรมสังคหวัตถุ 4 เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจะทำให้รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นหมู่ช่วยเหลือกันมีความสามัคคีกันแบ่งปันกันไม่ว่าจะเกิดเหตุการณ์ที่เลวร้ายก็สามารถแก้ปัญหาและช่วยเหลือกัน ด้านรวมไปถึงด้านให้กำลังใจที่ส่งถึงกันเพื่อให้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม สามารถมีทัศนคติใช้ปฏิบัติในทางที่ในการสนับสนุนและช่วยเหลือกัน เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจะทำให้รวมกันเป็นหมู่ คนในประเทศชาติประพฤติดีมีศีลธรรมรู้จักเกื้อกูลกันไม่ขัดแย้งแตกแยกกัน ให้กำลังใจซึ่งกันและกันเหนี่ยวน้ำใจของกัน จะประสานกลมเกลียวสอดคล้องกัน เพื่องานที่ทำบรรลุผลมีประโยชน์ หากร่วมมือกันในทุกฝ่ายแล้วย่อมสร้างความเจริญรุ่งเรืองและมั่นคงของประเทศชาติ
The objective of this thesis is 1) to study the working conditions. Of the Technician Division Lam Sam Kaew Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province 2) to study the work according to Sangahavatthu 4 principles of the Technician Division Lam Sam Kaew City Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province 3) To suggest the operational guidelines according to Sangahavatthu 4 principles of the Technician Division Lam Sam Kaeo Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province This research is a qualitative research by researching in-depth interviews. Those responsible for operations, commanding, and administration by studying from the Tripitaka, books, research textbooks and related academic documents The research found that 1. Operating conditions There are 5 aspects of the technician staff: 1) Engineering 2) Utilities 3) Public parks 4) Site management 5) Public electricity The operating conditions must consist of good planning procedures in order to relate to the project layout, which is a policy that is defined in accordance with the objectives. And work plans in advance Set clear authority. The project has a common goal. Responsibility in line with each individual's expertise and expertise. Each project operation order must have a pattern of action and must follow the plan. The division of work is therefore very necessary. Determine the relationship between workers and activities The use of organization resources for maximum efficiency. Management for the public has improved quality. 2. Performance according to the principles of Sanghavatthu 4, Sanghavatthaya is fair, the following are 4 things: 1) giving alms 2) giving the words to the words that are loved 3) the self-behavior, the behavior 4) the constant self-determination The duties of the staff of the Food Mechanics Division are made by generosity and generosity. To educate the people, to make words through speech with sweet, sweet words and beloved words. Or verbally spoken words Have reason and benefit And timely Be considerate and not curse or vulgar Comprehensive physical expression, courteous, polite, docile, attentive, can be achieved through service. Striving to help public affairs Not aiming to receive benefits in return Things or compliments Have a sense of service to colleagues People at full capacity Fast and accurate Work on duty with awareness and principles Maintain the government benefits and benefit the people. Samantha Tata can do by placing oneself appropriate to the status in society. Treat oneself consistently with other people or the public. Equality Treat colleagues with friendliness. Behave as a role model Knowing how to position oneself appropriately, honestly, devoting time to duty Have consistently good relations with the community 3. Suggestions on how to perform the work according to Sangahavatthu 4, coexist in society, provide assistance, share and help each other Make it together, work together Willing to help Solving problems for the benefit of bringing together peace Having the Sanghavatthu 4 principle as an anchor will make it a group. Be a group to help each other, to have unity and to share, no matter how bad events can solve problems and help each other Side, including the encouraging side sent to each other for the sake of the common good Can have an attitude and practice in a way that supports and helps one another As an anchor to make one together People in the nation are well behaved, morally, supportive, not conflict, divided. Encouraging each other to encourage each other Will harmonize harmoniously For work to be successful If collaborating in all parties, it will create prosperity and stability for the nation.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียน จำนวน 121 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 92 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 460 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครู เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การพัฒนาสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามลำดับ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จากการทดสอบของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (2561) ในภาพรวมอยู่ในระดับผ่าน โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ วิชาภาษาไทยวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคณิตศาสตร์ ตามลำดับ 3) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.607 (R = 0.607) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ร้อยละ 36.8 (R^2= 0.368) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 7.923 + 1.988 (x4) + 2.394 (x2) (R^2= 0.368) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.385 (x4) + 0.298 (x4) (R^2= 0.368)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียน จำนวน 121 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 92 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 460 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครู เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การพัฒนาสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามลำดับ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จากการทดสอบของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (2561) ในภาพรวมอยู่ในระดับผ่าน โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ วิชาภาษาไทยวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคณิตศาสตร์ ตามลำดับ 3) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.607 (R = 0.607) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ร้อยละ 36.8 (R^2= 0.368) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 7.923 + 1.988 (x4) + 2.394 (x2) (R^2= 0.368) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.385 (x4) + 0.298 (x4) (R^2= 0.368)
The objectives of this research were: 1) to study academic affairs administration of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2, 2) to study learning achievement of students in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2, and 3) to study academic affairs administration of administrators affecting the learning achievement of students in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2. The data were collected from 460 informants from 92 schools out of 121 schools by using questionnaire. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple regressions. The results of the study were found that: 1) The academic affairs administration of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 was at a high level overall. In ranging order, the highest level was on learning innovation and technology development, followed by internal quality assurance assessment, evaluation, measurement and transfer of credits, curriculum development, learning process development, education supervision, and educational quality development research respectively. 2) The learning achievement of students in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 from National Institute of Educational Testing Service (2561) was at a passed level in total. The highest average level was on Thai language, followed by Science, English and Mathematics respectively. 3) The academic affairs administration of administrators affecting the learning achievement of students in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 was at a statistic significant level at 0.01. The most significant level was on educational quality development research and learning process development with a statistic figure at 0.01 and multiple correlation coefficient at 0.607 (R = 0.607) which can explain the variance of academic affairs administration of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 at 36.8% (R^2= 0.368). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 7.923 + 1.988 (x4) + 2.394 (x2) (R^2= 0.368) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.385 (x4) + 0.298 (x4) (R^2= 0.368)
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ที่ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ ประชาชน จำนวน 382 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติการบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ("x" ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ สถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่า (t–test) และ (One Way ANOVA/F–test) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์จากผู้บริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม ทางการเมืองของนักศึกษา จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ด้านการรณรงค์ ทางการเมือง และด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ดังนี้ (1) ประชาชนที่มีเพศ ต่างกัน มีส่วนร่วมทาง การเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) ประชาชนที่มีอายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ ต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งเอาไว้ 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า 1) ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ว่ามีการได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ให้รับรู้และรับทราบ ตรวจสอบข้อมูลตนเอง ได้รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญที่กำหนด 2) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง เมื่อมีการเลือกตั้ง มีการแจ้งประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการเลือกตั้ง จะได้รับข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ ในการตัดสินใจเลือกผู้แทนของตนเองทำให้ประชาชนเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตน ไปใช้สิทธิเลือกตั้งให้มากที่สุด 3) ด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง เป็นการประชุมมากกว่า มีการจัดอบรม ให้ความรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อให้ผู้มีอำนาจหน้าที่เข้าไปแก้ปัญหาเหล่านั้น 4) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ส่วนใหญ่ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร ทางสื่อโทรทัศน์ วิทยุ อินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ และข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ รวมทั้งสื่อออนไลน์ การติดตามข่าวสารให้ได้ข้อมูลที่แท้จริง
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ที่ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ ประชาชน จำนวน 382 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติการบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ("x" ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ สถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่า (t–test) และ (One Way ANOVA/F–test) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์จากผู้บริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม ทางการเมืองของนักศึกษา จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ด้านการรณรงค์ ทางการเมือง และด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ดังนี้ (1) ประชาชนที่มีเพศ ต่างกัน มีส่วนร่วมทาง การเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) ประชาชนที่มีอายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ ต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งเอาไว้ 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า 1) ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ว่ามีการได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ให้รับรู้และรับทราบ ตรวจสอบข้อมูลตนเอง ได้รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญที่กำหนด 2) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง เมื่อมีการเลือกตั้ง มีการแจ้งประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการเลือกตั้ง จะได้รับข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ ในการตัดสินใจเลือกผู้แทนของตนเองทำให้ประชาชนเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตน ไปใช้สิทธิเลือกตั้งให้มากที่สุด 3) ด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง เป็นการประชุมมากกว่า มีการจัดอบรม ให้ความรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อให้ผู้มีอำนาจหน้าที่เข้าไปแก้ปัญหาเหล่านั้น 4) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ส่วนใหญ่ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร ทางสื่อโทรทัศน์ วิทยุ อินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ และข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ รวมทั้งสื่อออนไลน์ การติดตามข่าวสารให้ได้ข้อมูลที่แท้จริง
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the political participation of people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng District, Si Sa Ket Province. 2) to compare the political participation of people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng District, Si Sa Ket Province classified by gender, age, educational level, occupation, and income, and 3) to propose the political participation of the people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng District, Si Sa Ket Province. The quantitative data were collected from 382 samples by questionnaires and the qualitative data were collected by interview forms from the 5 informants concerning political participation of students. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, value testing (t–test) and (One Way ANOVA/F–test). If statistically significant differences were found, LSD (Least Significant Difference) was used. The results of the research showed that: 1) Political participation of people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng district of Sisaket province was at a medium level overall. When considering in each aspect in order of average order from the highest to the least level, election voting was the first, followed by tracking political news, political campaigning, and the participation in political assembly respectively. 2) Comparison results; (1) People of different genders had political participation in 4 aspects indifferently which was not in accordance with the study hypothesis. (2) People with different educational backgrounds, occupations, and incomes had political participation in all 4 areas differently with statistically significant figure at the 0.05 level, which was in accordance with the study hypothesis. 3) Suggestions were as follows: 1) In exercising the right to vote; there was public relations to people to know, check and aware of their rights and duties under the constitution. 2) In political campaigns; in the election, there was public announcement about the election and people could obtain information from their leaders in making decision to their representatives, understand their roles and responsibilities for exercise the rights in voting. 3) in terms of political assembly; there were meeting, training, and knowledge sharing In order that the authority could help solve the problems. 4) In tracking political news; most people accessed information through television, radio, internet, newspapers and message from their leaders.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) บริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) บริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    The purposes of this research were as follows; 1) to study the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province, 2) to compare the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province having different gender, monthly income, working experience, and positions in the village funds, and 3) to have interviews for the guideline in the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected from documents in the primary source and secondary source, in-depth interviews, and by using questionnaires. The research results found that 1. The administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province in 3 aspects was at a high level overall. In details, the highest level was on planning, followed by operation, and evaluation respectively. 2. The results of comparison, the administration of the village fund committee having different genders, monthly income, work experience, and position in the village funds in 3 aspects was not different. 3. The results of interviews regarding the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province indicated that: In Loving-kindness, the administrators should assign work and duty relevant to the ability and knowledge of the subordinates, should support them in developing knowledge and ability. The administrators should work fulltime as the sample of the subordinates, and should be kind, friendly, and justice to the subordinates. In Compassion, the administrators should collaborate with the subordinates to work, share work experiences and knowledge to them, and provide assistance to them when in need. In Sympathetic joy, the administrators should praise and reward the subordinates on their achievement in work and duty performance, support and publicize their work outcome sincerely. In Equanimity, the administrators should assign job and work to the subordinates according to their knowledge and ability without bias, support them to work together in team, and treat everyone equally with neutral mind
The purposes of this research were as follows; 1) to study the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province, 2) to compare the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province having different gender, monthly income, working experience, and positions in the village funds, and 3) to have interviews for the guideline in the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected from documents in the primary source and secondary source, in-depth interviews, and by using questionnaires. The research results found that 1. The administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province in 3 aspects was at a high level overall. In details, the highest level was on planning, followed by operation, and evaluation respectively. 2. The results of comparison, the administration of the village fund committee having different genders, monthly income, work experience, and position in the village funds in 3 aspects was not different. 3. The results of interviews regarding the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province indicated that: In Loving-kindness, the administrators should assign work and duty relevant to the ability and knowledge of the subordinates, should support them in developing knowledge and ability. The administrators should work fulltime as the sample of the subordinates, and should be kind, friendly, and justice to the subordinates. In Compassion, the administrators should collaborate with the subordinates to work, share work experiences and knowledge to them, and provide assistance to them when in need. In Sympathetic joy, the administrators should praise and reward the subordinates on their achievement in work and duty performance, support and publicize their work outcome sincerely. In Equanimity, the administrators should assign job and work to the subordinates according to their knowledge and ability without bias, support them to work together in team, and treat everyone equally with neutral mind
TOC:
  • วิทยานิพนธ์เรื่อง การบริหารกองทุนหมู่บ้านของคณะกรรมการตามหลักพรหมวิหารธรรมอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม มี เพศ รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์ในการทำงาน ตำแหน่งในกองทุนหมู่บ้าน ที่ต่างกัน และ 3) เพื่อสัมภาษณ์แนวทางการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านตามหลักพรหมวิหารธรรม เป็นการศึกษาวิจัยแบบเชิงผสมผสาน (Mixed Method Research) ที่ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งเน้นวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยการแจกแบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ (Qualitative Research by interviews) เป็นการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากเอกสารปฐมภูมิและเอกสารทุติยภูมิรวมทั้งสร้างแบบสอบถาม (Questionnaires) ผลการวิจัยพบว่า 1.บริหารของคณะกรรมการกองทุนของหมู่บ้านตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียง ด้านการวางแผนตามหลักพรหมวิหารธรรม ด้านการดำเนินงานตามหลักพรหมวิหารธรรม และด้านการประเมินผลตามหลักพรหมวิหารธรรม 2.ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยเปรียบเทียบการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ที่มีเพศ รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์ ตำแหน่งในกองทุนหมู่บ้าน ไม่แตกต่างกัน มีการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3.ผลการวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย พบว่า เมตตา คือ ควรมอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถของผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน ควรสนับสนุนบุคลากรให้ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ปฏิบัติงานให้เต็มเวลา เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ภายใต้ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทำประโยชน์แก่มนุษย์สัตว์ทั่วหน้า กรุณา คือ ร่วมแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่องในการทำงานร่วมกัน ประสานงานกับผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างสม่ำเสมอ ถ่ายทอดถอดความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้วยความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปลื้องบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อน มุทิตา คือ ยกย่องชมเชยแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความจริงใจด้วยการประกาศความดีความชอบ สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้บริหาร สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานที่ดีของผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง กอปรด้วยอาการแช่มชื่นเบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ดำรงในปกติสุข พลอยยินดีด้วยเมื่อเขาได้ดีมีสุข เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป อุเบกขา คือ แบ่งงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างชดเจน เหมาะสมตามความรู้ ความสามารถ จัดจัดสรรผลประโยชน์แก่ผู้ร่วมงานอย่างเสมอภาค และส่งเสริม สนับสนุนให้ฝ่ายต่าง ๆ ทำงานร่วมกัน เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ ความวางใจเป็นกลางในส่วนของการจ่ายเงินของกองทุนเป็นการจ่ายตามลำดับอันจะให้ดำรงอยู่ในธรรมตามที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญา คือ มีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตราชั่ง ไม่เอนเอียงด้วยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สัตว์ทั้งหลายกระทำแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือชั่ว สมควรแก่เหตุอันตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบัติไปตามธรรม รวมทั้งรู้จักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทำ เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควรรับผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รับผลอันสมกับความรับผิดชอบของตน
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558