Search results

115 results in 0.18s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและทดสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ ธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 795 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่าเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้คือ 1) ตัวบ่งชี้การวิจัย 60 ตัว มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.23-4.74 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายอยู่ระหว่าง 11.35-15.86 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงมีความเหมาะสมได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.86-1.06 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.73-1.02 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-1.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและทดสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ ธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 795 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่าเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้คือ 1) ตัวบ่งชี้การวิจัย 60 ตัว มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.23-4.74 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายอยู่ระหว่าง 11.35-15.86 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงมีความเหมาะสมได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.86-1.06 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.73-1.02 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-1.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The data was collected by using the questionnaire for estimation from a sample of the administrators of the Office of Primary Education Area of 795 people which were obtained by multi-stage random sampling.Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypothesis : 1) The 60 indicators used have mean of 4.23-4.74 which meets the specified criteria as mean equal to or higher than 3.00 and the distribution coefficient is between 11.35-15.86. All were selected in the model. 2) Structural relationship model Indicator of Good Governance for Administrators of the Primary Educational Service Area Office, the development from theory and research are consisted of congruence with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), Goodness-of-Fit Index (GFI), Adjusted Goodness-of-Fit Index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and Normed Fit Index (NFI), were In accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.86-1.06, which is higher than criterion as 0.70 in all major factor. The minor components had factor loading between 0.73-1.02 and the indicator had factor loading ranged from 0.30-1.00, which are higher level than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ของบุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 85 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยคำนวณจากสูตรทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง (Inferential Statistics) ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักความโปร่งใส และด้านหลักคุณธรรม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรซึ่งมีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน มี มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม และรายด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ และ 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก ได้แก่ ควรเปิดโอกาสให้บุคลากรได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดำเนินงานเพื่อแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพของเทศบาล, เทศบาลควรเพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและรายละเอียดเกี่ยวกับงานบริหารของเทศบาลเพิ่มขึ้นโดยเลือกสื่อที่สามารถเข้าถึงตัวของประชาชนได้ เช่น เว็บไซด์ หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น หอกระจายข่าว เป็นต้น และ เทศบาลควรมีการจัดหน่วยให้บริการประชาชนอย่างสม่ำเสมอและทั่วถึงโดยควรจัดทำตารางในการออกหน่วยให้บริการประชาชนล่วงหน้าและแจ้งให้กับประชาชนในแต่ละพื้นที่ทราบโดยทั่วกัน ตามลำดับ
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ของบุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 85 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยคำนวณจากสูตรทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง (Inferential Statistics) ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักความโปร่งใส และด้านหลักคุณธรรม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรซึ่งมีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน มี มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม และรายด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ และ 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก ได้แก่ ควรเปิดโอกาสให้บุคลากรได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดำเนินงานเพื่อแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพของเทศบาล, เทศบาลควรเพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและรายละเอียดเกี่ยวกับงานบริหารของเทศบาลเพิ่มขึ้นโดยเลือกสื่อที่สามารถเข้าถึงตัวของประชาชนได้ เช่น เว็บไซด์ หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น หอกระจายข่าว เป็นต้น และ เทศบาลควรมีการจัดหน่วยให้บริการประชาชนอย่างสม่ำเสมอและทั่วถึงโดยควรจัดทำตารางในการออกหน่วยให้บริการประชาชนล่วงหน้าและแจ้งให้กับประชาชนในแต่ละพื้นที่ทราบโดยทั่วกัน ตามลำดับ
The purposes of this paper were: 1) to study personnel’s opinions on good governance-based administrations at Tambon Thung Kula Municipality in Roi Et province’s Suwannaphum district, 2) to compare their opinions on good governance-based administrations at the preceding municipality to differing variables of their genders, ages and educational levels, 3) to examine their suggestions for enhancing its good governance-based administrations at the same municipality. Samples comprised personnel performing their duties at the municipality, which they prompted the sampling group of 85 individuals through Taro Yamane’s table. The research instrument was the five-rating scale questionnaire handout with the whole questions possessing the reliability at 0.99. Descriptive statistics used for analyzing data encompasses frequency, percentage, mean and standard deviation, including inferential Statistics on t-test and F-test (One-way ANOVA). Results of the research have found the following findings: 1) Personnel’s opinions on good governance-based administrations at the above municipality have been rated high in the overall aspect, as has a single aspect taken into consideration. All five aspects embrace: rule of law, value of money, accountability, participation, and morality respectively. 2) The hypothesis testing results have confirmed that differing variables of their genders, ages and educational levels show no differences in their opinions as such at the municipality in both the overall aspect and a single one. Therefore, the target results are not conducive to the established hypotheses. 3) Suggestions garnered from the research ranked in descending order of first three frequencies are that the municipality should: first, open up opportunities to personnel taking part in scrutinizing its operations to prove its transparency and efficacy; secondly, increase channels of public relations on information and details of its administrations by opting for such easily accessible media as websites, local newspapers, loud speaker towers, etc.; finally, has its mobile service units patrolled for rendering services to residents on the regular and thorough basis with arranging tables of exact dates, times and venues of such units in advance and keeping residents in every area informed respectively.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ของบุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 86 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) โดยการทดสอบ F-test ผลการวิจัย พบว่า 1) ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ดด โดยรวมทั้งหกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความโปร่งใส และด้านหลักนิติธรรม 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ไม่แตกต่างกัน 3) บุคลากรได้เสนอแนะการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก คือ ควรที่จะปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และถูกต้อง เมื่อรับเรื่องไปแล้วก็ควรที่จะดำเนินการทันทีและควรที่จะชี้แจงให้ประชาชนทราบด้วย และควรมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานขององค์การบริหารส่วนตำบลให้มากขึ้น
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ของบุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 86 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) โดยการทดสอบ F-test ผลการวิจัย พบว่า 1) ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ดด โดยรวมทั้งหกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความโปร่งใส และด้านหลักนิติธรรม 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ไม่แตกต่างกัน 3) บุคลากรได้เสนอแนะการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก คือ ควรที่จะปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และถูกต้อง เมื่อรับเรื่องไปแล้วก็ควรที่จะดำเนินการทันทีและควรที่จะชี้แจงให้ประชาชนทราบด้วย และควรมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานขององค์การบริหารส่วนตำบลให้มากขึ้น
This research served the purposes: 1) to study personnel’s opinions on Tambon Dunoi Administrative Organization’s good governance-based administration in ChaturaphakPhiman district of Roi Et province, 2) to compare such opinions related to their differing genders, ages and educational levels, 3) to offer suggestions for enhancing its good governance-based administration. The sampling groups taking part in the research comprised its own personnel, numbering 86 individuals. The research instrument was the Likert-type questionnaire with each question possessing the reliability at .86. Statistics used for data analyses embraced percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test (One-way ANOVA). Results of research findings: 1) Personnel’s opinions on its good governance-based administration in the aforesaid district have been rated at the high scale in the overall aspect. Considering each one in its descending order of means, they formed: morality, accountability, participation, value of money, transparency and rule of law. 2) Comparative hypothesis testing results have found that their differing genders, ages and educational levels show no significant differences in their opinions in the overall aspect. 3) Personnel have offered suggestions for enhancing its good governance-based administration in descending order of three frequencies that authorities of the administrative organization should: i) perform their duties with justice and decency; ii) carry out processing document sat once after receiving them and clarify the duration of ongoing documents to residents in contact, iii) increasingly disseminate pieces of information on tasks of the administrative organization.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของครูจากการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และ F – test (One – way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Fisher’s Least – Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวางแผนอัตรากำลังและการกำหนดตำแหน่ง รองลงมา คือ ด้านการออกจากราชการ ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ และด้านวินัยและการรักษาวินัย ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 2.1 ครูที่เพศต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวม ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านไม่แตกต่างกัน 2.2 ครูที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของครูจากการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และ F – test (One – way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Fisher’s Least – Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวางแผนอัตรากำลังและการกำหนดตำแหน่ง รองลงมา คือ ด้านการออกจากราชการ ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ และด้านวินัยและการรักษาวินัย ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 2.1 ครูที่เพศต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวม ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านไม่แตกต่างกัน 2.2 ครูที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 มีค่าความถี่สูงสุดในแต่ละด้าน มีดังนี้ ด้านการวางแผนอัตรากำลังและการกำหนด ผู้บริหารควรให้ความสำคัญในการวางแผนงานบุคคล และให้ความสำคัญในการปฏิบัติตามแผนการบริหารงานบุคคล ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ควรเลือกสรรบุคคล สอบคัดเลือก และคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วยหลักคุณธรรมเป็นไปตามระเบียบของทางราชการ ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ควรมีการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ด้านวินัยและการรักษาวินัย ควรมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมวินัยเชิงบวก การสร้างขวัญกำลังใจ การจูงใจเพื่อป้องกันการกระทำผิดวินัย รวมถึงการส่งเสริมให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรม ด้านการออกจากราชการ เมื่อมีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากระทำผิดวินัย ควรมีการพิจารณาโทษโดยปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการด้วยความเป็นธรรม
The objectives of the research were: 1) to study the teachers’ opinions about the personnel administration based on the principles of good governance in the schools under the Office of Primary Education Service, Kalasin Area 2’ 2) to compare the teachers’ opinions relevant to the personnel administration based on the principles of good governance in the said schools, classified by gender and school size, and 3) to survey the suggestions proposed by the teachers in the schools as mentioned. The samples were 308 in number, consisting of teachers and education-related personnel of the schools in the said area. The device used for data collection was the five-rating scale questionnaire .The reliability was 0.95, and the statistical tools employed for data analysis were frequency, percentage, mean, S.D., t-test (Independent Samples) and F-test (One-way ANOVA). In case the significantly statistical difference was found, the LSD (Fisher’s Least – Significant Difference) method was used to test the difference. The research results were as follows: 1) The teachers’ opinions about the personnel administration based on the principles of good governance in the schools under the Office of Primary Education Service, Kalasin Area 2 were found, on both overall and individual aspects, to stand at the ‘MUCH’ level. The aspect that showed the highest mean was manpower planning and position specification, followed by layoffs and early retirement, and the aspect that stood on the bottom was discipline and disciplinary observance. 2) The comparison of the teachers’ related opinions, classified by gender, was found to show no statistically significant difference in both overall and individual aspects, whereas the comparison classified by school size was found, in both overall and individual dimensions, to show the statistically significant difference at the same rate of .05. 3) The suggestions proposed by the respondents were the following: As top priority of the administration, the manpower planning and position specification required the administrators’ focal emphasis and strict practice of the plan set. The recruitment and appointment was suggested to be strict to the rules. The promotion of operational effectiveness needed the human resource development by means of promoting the higher-level study. The discipline and disciplinary observance required the training workshop to promote disciplinary observance, boost morale and motivate the prevention of disciplinary violation. Besides, the support of the staff members to be fulfilled with morality and ethics should be conducted. For the layoffs and early retirement, should there be the case of disciplinary violation, the fair treatment was required in order to provide justice and prevent injustice.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) มีวัตถุประสงค์สามประการดังนี้ 1) เพี่อศึกษาความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ของคณะกรรมการหมู่บ้านที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ คณะกรรมการหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 114 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) กับการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) หรือ F-test ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านหรือตัวแทน จำนวน 12 คน จาก 12 หมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) กล้องถ่ายรูป และเทปบันทึกเสียง ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วมและด้านหลักนิติธรรม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า คณะกรรมการหมู่บ้าน ที่มีเพศ และระดับการศึกษา ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารตามหลัก ธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดโดยรวม ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก คือ ผู้บริหารควรบริหารงานโดยยึดความถูกต้องและความต้องการของประขาชนเป็นหลัก คณะผู้บริหารและพนักงานส่วนตำบลควรสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เกิดขึ้นในการปฏิบัติหน้าที่ และควรบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดโดยคำนึงถึงหลักความประหยัดใช้ของให้เกิดความคุ้มค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) มีวัตถุประสงค์สามประการดังนี้ 1) เพี่อศึกษาความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ของคณะกรรมการหมู่บ้านที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ คณะกรรมการหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 114 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) กับการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) หรือ F-test ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านหรือตัวแทน จำนวน 12 คน จาก 12 หมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) กล้องถ่ายรูป และเทปบันทึกเสียง ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วมและด้านหลักนิติธรรม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า คณะกรรมการหมู่บ้าน ที่มีเพศ และระดับการศึกษา ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารตามหลัก ธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดโดยรวม ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก คือ ผู้บริหารควรบริหารงานโดยยึดความถูกต้องและความต้องการของประขาชนเป็นหลัก คณะผู้บริหารและพนักงานส่วนตำบลควรสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เกิดขึ้นในการปฏิบัติหน้าที่ และควรบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดโดยคำนึงถึงหลักความประหยัดใช้ของให้เกิดความคุ้มค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
This Thesis was the mixed methods research, which consisted of three specific objectives namely; 1) to study village committees’ opinions on good governance-based administration at Tambon Kamphaeng Administrative Organization in Kaset Wisai district, Roi Et province, 2) to compare their opinions on good governance-based administration at the aforesaid area, resting upon differences in their genders, ages and educational levels and, 3) to study their suggestions and development guidelines on good governance-based administration at the aforesaid area. The research populations comprised village committees from 12 villages of Kamphaeng sub-districts in Kaset Wisai District’s authorized area, numbering 159 individuals. The sampling group was set against Taro Yamane’s table, earning 114 subjects. The instrument used for data collection was the five-rating-scale questionnaires, each of which was endowed with the reliability at 0.86. The statistical tools for computing data encompassed percentage, mean, standard deviation. The statistics used for the research incorporate: percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. In the qualitative research, the target population of this type consisted of villages’ headmen or representatives from from 12 villages of Kamphaeng sub-districts with a total of 12 people. All of them were the key informants who were purposely selected, one informant from each sub-district. The research tools were composed of a semi-structured interview, a camera and a tape recorder. Outcomes of the research summarized the following major findings: 1) Village committees’ opinions on good governance-based administration at Tambon Kamphaeng Administrative Organization in Kaset Wisai district, Roi Et province were comprehensively rated at the ‘more’ scales in all six aspects. In term of a single one, three aspects with the highest, lower and lowest means included those of: i) participation, ii) ethics) and iii) value of money. 2) The comparative results of residents’ opinions on its good governance-based administration in the district confirmed that variables of their genders, ages and educational levels showed no significant differences in the overall aspect. 3) Suggestions for its good governance-based administration were recommended in descending order of three frequencies that its administrators should: i) executives should be administered by the anchor and the requirements of main impacts, ii) the executives and Tambon Kamphaeng Administrative Organization’s officials should create conscience occurs in the performance of duties, iii) should manage and use the limited resources by consideration of the principal economy, cause value, and the most benefits to public.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ตามความคิดเห็นของประชาชนที่เพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพ ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชนในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่เป็นหัวหน้าครัวเรือน หรือตัวแทน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 381คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ จำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA : F-test) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบการวิเคราะห์ ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า : 1) ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านหลักความคุ้มค่า 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ไม่แตกต่างกัน และ 3) ประชาชนมีข้อเสนอแนะของในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ดเรียงลำดับตามความถี่จากสูงไปหาต่ำสามอันดับแรก ได้แก่ ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายการบริหารจัดการ ควรจัดอบรมด้านคุณธรรมให้กับบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลทุกปี และควรประชาสัมพันธ์ข้อบัญญัติให้ประชาชนทราบทุกครั้ง ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด บริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาลทั้งหกด้านปรากฏในระดับมาก ทั้งนี้เป็นเพราะเพราะเป็นองค์การและบุคลากรมีที่มาโดยกฎหมาย จึงต้องบริหารจัดการตามที่กฎหมายกำหนด ยึดหลักศาสนาพุทธเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารอย่างพร้อมเพียง การบริหารจัดการ มีความโปร่งใสด้วย มีการเชิญประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจรับงานต่างๆอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารและสมาชิกสภามีความรับผิดชอบสูงเพราะมี ประชาชนคอยติดตามตรวจสอบ การบริหารจัดงานดำเนินการอย่างคุ้มค่า เพราะมีการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ตามความคิดเห็นของประชาชนที่เพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพ ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชนในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่เป็นหัวหน้าครัวเรือน หรือตัวแทน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 381คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ จำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA : F-test) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบการวิเคราะห์ ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า : 1) ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านหลักความคุ้มค่า 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ไม่แตกต่างกัน และ 3) ประชาชนมีข้อเสนอแนะของในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ดเรียงลำดับตามความถี่จากสูงไปหาต่ำสามอันดับแรก ได้แก่ ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายการบริหารจัดการ ควรจัดอบรมด้านคุณธรรมให้กับบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลทุกปี และควรประชาสัมพันธ์ข้อบัญญัติให้ประชาชนทราบทุกครั้ง ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด บริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาลทั้งหกด้านปรากฏในระดับมาก ทั้งนี้เป็นเพราะเพราะเป็นองค์การและบุคลากรมีที่มาโดยกฎหมาย จึงต้องบริหารจัดการตามที่กฎหมายกำหนด ยึดหลักศาสนาพุทธเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารอย่างพร้อมเพียง การบริหารจัดการ มีความโปร่งใสด้วย มีการเชิญประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจรับงานต่างๆอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารและสมาชิกสภามีความรับผิดชอบสูงเพราะมี ประชาชนคอยติดตามตรวจสอบ การบริหารจัดงานดำเนินการอย่างคุ้มค่า เพราะมีการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี
The objectives of the research were 1) to study the residents’ opinions on good governance-based administration of tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District, Roi-et Provice, 2) to compare their opinions on its good governance-based administration, resting on the classification of the genders, ages, educational levels and occupations and 3) to regulate suggestions to improve good governance-based administration of tambon administrative organizations. The sample group comprised of 381 residents who are the heads of the families or his/her representatives pertaining to tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District. The research instrument was 30 items of five rating questionnaires gaining the reliability at .92. The statistic tools exploited for the research for the research encompassed frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and One Way ANOVA : F-test. The results of the quantitative research were as follows; 1) The opinions of the residents on good governance-based administration of tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District, Roi-et Province as overall and all aspects were rated at high level. The aspects placed in descending order of means take in; responsibility, rule of law, virtues, transparency, participation and effectiveness. 2) The comparative results of their opinions of the residents on good governance-based administration indicated that the variables of their genders, ages, educational levels and occupations showed no significant differences in the overall and aspects. 3) Their suggestions in descending order of three frequencies for its good governance-based administration were recommended. First, the people should be participated in the administrative public policy. Second, the virtue training of personnel should be held yearly, Finally, people should be informed of all rule and laws of tambon administrative organizations. The result of the qualitative research was found that the opinions of the residents on good governance-based administration of tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District, Roi-et Province as overall and all aspects were rated at high level because the organizations and the personnel were established by law and administers under the law, performing work as the teaching of Buddhism, the residents participate in administration, the work management was carried on transparently, the executive and the members of the assembly were elected work under accountability due to the checking of the residents, the work administration and management was carried on effectively because there are changes in good ways.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในเขตองค์การบริการส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวนคน 381 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .81 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน t-test และ F-test (One-way ANOVA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่า 1) ประชาชนเห็นว่า องค์การบริหารส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า มีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล อยู่ในระดับมาก 3 ด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ และมีการบริหารอยู่ในระดับปานกลางอีก 3 ด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใส และเมื่อจำแนกรายด้านในแต่ละด้านเป็นรายข้อ พบว่า 2) ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาต่างกัน เห็นว่าองค์การบริหาร ส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล โดยรวมและรายด้านทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอาชีพต่างกัน เห็นว่าองค์การบริหารส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล ด้านหลักความรับผิดชอบ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะของประชาชนเกี่ยวกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ ควรมีการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารและบุคลากรในหน่วยงานอย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ ควรนำข้อเสนอแนะที่ได้รับจากประชาชนทุกปัญหามาปรับปรุงแก้ไขให้ทันต่อสภาวะที่เกิดขึ้น และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการหน่วยงานหรือดำเนินโครงการแต่ละโครงการ เพื่อให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชน เกิดความรัก หวงแหนต่อหน่วยงาน
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในเขตองค์การบริการส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวนคน 381 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .81 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน t-test และ F-test (One-way ANOVA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่า 1) ประชาชนเห็นว่า องค์การบริหารส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า มีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล อยู่ในระดับมาก 3 ด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ และมีการบริหารอยู่ในระดับปานกลางอีก 3 ด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใส และเมื่อจำแนกรายด้านในแต่ละด้านเป็นรายข้อ พบว่า 2) ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาต่างกัน เห็นว่าองค์การบริหาร ส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล โดยรวมและรายด้านทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอาชีพต่างกัน เห็นว่าองค์การบริหารส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล ด้านหลักความรับผิดชอบ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะของประชาชนเกี่ยวกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ ควรมีการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารและบุคลากรในหน่วยงานอย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ ควรนำข้อเสนอแนะที่ได้รับจากประชาชนทุกปัญหามาปรับปรุงแก้ไขให้ทันต่อสภาวะที่เกิดขึ้น และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการหน่วยงานหรือดำเนินโครงการแต่ละโครงการ เพื่อให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชน เกิดความรัก หวงแหนต่อหน่วยงาน
The thesis was to serve the purposes: 1) to study good governance-based administration of Tambon Prue Yai Administrative Organization in Si Sa Ket province’s Khukhan district, 2) to compare its good governance-based administration based on classification of residents’ genders, ages, educational levels and occupations, 3) to examine their suggestions for its good governance-based administration. The sampling groups for conducting the research comprised 381 eligible voters in its constituencies. The research instrument was the five-rating scale questionnaire containing thirty questions, each of which possessed the reliability at .81. Statistics used for data analyses embraced percentage, mean, standard deviation. Another one used for the hypothesis testing results included t-test and F-test (One-Way ANOVA), by making use of the ready-made software package. Results of the research findings: 1) Its good governance-based administration has been rated ‘moderate’ in the overall aspect. Given each of aspects, its target administration of three aspects has been scaled ‘high’ in such descending order of means as participation, values of money and accountability. On the contrary, its target administration of other three aspects has been measured ‘moderate’ in the descending order of means, namely rule of law, morality and transparency. 2) As classified by one single aspect, their genders, ages and educational levels yield no differences in their opinions on its target administration in the overall aspect and a single one; whereas their occupations prove ‘moderate’ with the statistical significance level at .05. 3) Their suggestions for enhancing its target administration are that it should: 3.1) open opportunities to residents to take part in assessing administrators’ and personnel’s work performance in the agency on thorough and regular bases, 3.2) take residents’ suggestions for addressing every problem to keep abreast of ongoing circumstances, 3.3) open opportunities to them participating in managing the agency or carrying out each project so as to make them feel as though they became owners of their communities, thereby prompting affection and cherishing the agency.
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาล, 2) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา และ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการบริหารที่ว่าด้วยการสร้างระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชนได้ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในการบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมให้มีประสิทธิภาพตามหลักกฎหมาย โดยอาศัยหลัก 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานของรัฐหรือในองค์การ ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่รัฐและองค์การ ซึ่งจะส่งผลให้สังคมดำรงอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 2) การบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือ การดำเนินการของผู้บริหารในการนำเอาหลักธรรมที่ปรากฏในทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ พรหมวิหาร 4 อิทธิบาท 4 สัปปุริสธรรม 7 สังคหวัตถุ 4 ไปใช้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือมีคุณค่า ด้านความยุติธรรมในองค์การ ด้านการลดความเหลื่อมล้ำในองค์การ และด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาล, 2) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา และ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการบริหารที่ว่าด้วยการสร้างระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชนได้ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในการบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมให้มีประสิทธิภาพตามหลักกฎหมาย โดยอาศัยหลัก 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานของรัฐหรือในองค์การ ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่รัฐและองค์การ ซึ่งจะส่งผลให้สังคมดำรงอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 2) การบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือ การดำเนินการของผู้บริหารในการนำเอาหลักธรรมที่ปรากฏในทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ พรหมวิหาร 4 อิทธิบาท 4 สัปปุริสธรรม 7 สังคหวัตถุ 4 ไปใช้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือมีคุณค่า ด้านความยุติธรรมในองค์การ ด้านการลดความเหลื่อมล้ำในองค์การ และด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล
The objectives of this thesis ware as follows 1) to study the Organization Administration by the Principle of Good Governance, 2) to study the Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach and 3) to analyze the value of the Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach. The sample groups were the Tipitaka Commentaries. Texts and relevant researches. The thesis was the documentary qualitative research works. All the data, collected during January-September 2017, were then analyzed by content analysis and analytic induction. The results of research are found as follows: 1) The Principle of Good Governance for the Organization Administration is the good method for the management of the whole country including public sector, business sector, private sector and people sector to achieve the everyone happiness and well-being by the six principles as follows : (1) the principle of law (2) the principle of virtue (3) the principle of openness and transparency (4) the principle of participation (5) the principle of accountability and (6) the principle of effectiveness. 2) The Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach is the management of the organization following the Buddhist Doctrines to achieve effectively the given objectives including Brahmavihara 4, Iddhipada 4, Sappurisa-dhamma 7, Noble Eightfold Path and Raja-dhamma. 3) The results of the analysis of the values of the Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach are the value of the justice, the value of the reduction of the inequality and the value of the efficiency and effectiveness in the organization.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 3) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียน โดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายงานบริหาร ครูผู้สอน รวมทั้งหมด 280 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา และ การบริหารจัดการ ของสถานศึกษา สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า : 1. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 10 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักภาระรับผิดชอบ ด้านหลักความเสมอภาค ด้านหลักประสิทธิผล ด้านหลักการกระจายอำนาจ ด้านมุ่งเน้นฉันทามติ ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักประสิทธิภาพ และด้านหลักการตอบสนอง ตามลำดับ 2. การบริหารจัดการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานวิชาการ ด้านบริหารงานงบประมาณ และด้านบริหารงานบุคคล ตามลำดับ 3. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านนิติธรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 64.00 (R2 = 0.640) สามารถเขียนเป็นรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 1.262+ 0.217 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.258 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.254 (ด้านหลักนิติธรรม) สมการคะแนนมาตรฐาน = 0.257 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.307 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.293 (ด้านหลักนิติธรรม
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 3) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียน โดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายงานบริหาร ครูผู้สอน รวมทั้งหมด 280 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา และ การบริหารจัดการ ของสถานศึกษา สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า : 1. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 10 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักภาระรับผิดชอบ ด้านหลักความเสมอภาค ด้านหลักประสิทธิผล ด้านหลักการกระจายอำนาจ ด้านมุ่งเน้นฉันทามติ ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักประสิทธิภาพ และด้านหลักการตอบสนอง ตามลำดับ 2. การบริหารจัดการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานวิชาการ ด้านบริหารงานงบประมาณ และด้านบริหารงานบุคคล ตามลำดับ 3. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านนิติธรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 64.00 (R2 = 0.640) สามารถเขียนเป็นรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 1.262+ 0.217 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.258 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.254 (ด้านหลักนิติธรรม) สมการคะแนนมาตรฐาน = 0.257 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.307 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.293 (ด้านหลักนิติธรรม
The objectives of this research were: 1) to study good governance of administrators under Office of Secondary Educational Service Area 1, 2) to study school administration under Office of Secondary Educational Service Area 1, and 3) to study the good governance of administrators affecting school administration under Office of Secondary Educational Service Area 1. The data were collected by questionnaires from 280 samples in 56 schools consisting of school directors, heads of departments, and teachers. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regressions in steps. The results of the study were found that: 1. The level of good governance of school administrators under Office of Secondary Educational Service Area 1 was high overall. In each aspect, the highest level started at rule of law, followed by cooperation, responsibility, equality, efficiency, decentralization, agreement, transparency, effectiveness, and responsiveness respectively. 2. The administration of schools under Office of Secondary Educational Service Area 1 was at a high level totally. In details, the highest mean was on general administration, followed by academic administration, budget administration, and personnel administration respectively. 3. The good governance of school administrators affected the administration of schools under Office of Secondary Educational Service Area 1 with a significantly statistical level at 0.01 starting from transparency, responsibility , and rule of law with coefficient or prediction power at 64.00% (R2 = 0.640) and it could be written in predictive patterns as follows; Raw score equation = 1.262+ 0.217(transparency) + 0.258 (responsibility) + 0.254 (rule of law) Standard score equation = 0.257 (transparency) + 0.307 (responsibility) + 0.293 (rule of law