Search results

89 results in 0.1s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของครูจากการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และ F – test (One – way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Fisher’s Least – Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวางแผนอัตรากำลังและการกำหนดตำแหน่ง รองลงมา คือ ด้านการออกจากราชการ ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ และด้านวินัยและการรักษาวินัย ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 2.1 ครูที่เพศต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวม ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านไม่แตกต่างกัน 2.2 ครูที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของครูจากการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และ F – test (One – way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Fisher’s Least – Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวางแผนอัตรากำลังและการกำหนดตำแหน่ง รองลงมา คือ ด้านการออกจากราชการ ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ และด้านวินัยและการรักษาวินัย ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 2.1 ครูที่เพศต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวม ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านไม่แตกต่างกัน 2.2 ครูที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 มีค่าความถี่สูงสุดในแต่ละด้าน มีดังนี้ ด้านการวางแผนอัตรากำลังและการกำหนด ผู้บริหารควรให้ความสำคัญในการวางแผนงานบุคคล และให้ความสำคัญในการปฏิบัติตามแผนการบริหารงานบุคคล ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ควรเลือกสรรบุคคล สอบคัดเลือก และคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วยหลักคุณธรรมเป็นไปตามระเบียบของทางราชการ ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ควรมีการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ด้านวินัยและการรักษาวินัย ควรมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมวินัยเชิงบวก การสร้างขวัญกำลังใจ การจูงใจเพื่อป้องกันการกระทำผิดวินัย รวมถึงการส่งเสริมให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรม ด้านการออกจากราชการ เมื่อมีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากระทำผิดวินัย ควรมีการพิจารณาโทษโดยปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการด้วยความเป็นธรรม
The objectives of the research were: 1) to study the teachers’ opinions about the personnel administration based on the principles of good governance in the schools under the Office of Primary Education Service, Kalasin Area 2’ 2) to compare the teachers’ opinions relevant to the personnel administration based on the principles of good governance in the said schools, classified by gender and school size, and 3) to survey the suggestions proposed by the teachers in the schools as mentioned. The samples were 308 in number, consisting of teachers and education-related personnel of the schools in the said area. The device used for data collection was the five-rating scale questionnaire .The reliability was 0.95, and the statistical tools employed for data analysis were frequency, percentage, mean, S.D., t-test (Independent Samples) and F-test (One-way ANOVA). In case the significantly statistical difference was found, the LSD (Fisher’s Least – Significant Difference) method was used to test the difference. The research results were as follows: 1) The teachers’ opinions about the personnel administration based on the principles of good governance in the schools under the Office of Primary Education Service, Kalasin Area 2 were found, on both overall and individual aspects, to stand at the ‘MUCH’ level. The aspect that showed the highest mean was manpower planning and position specification, followed by layoffs and early retirement, and the aspect that stood on the bottom was discipline and disciplinary observance. 2) The comparison of the teachers’ related opinions, classified by gender, was found to show no statistically significant difference in both overall and individual aspects, whereas the comparison classified by school size was found, in both overall and individual dimensions, to show the statistically significant difference at the same rate of .05. 3) The suggestions proposed by the respondents were the following: As top priority of the administration, the manpower planning and position specification required the administrators’ focal emphasis and strict practice of the plan set. The recruitment and appointment was suggested to be strict to the rules. The promotion of operational effectiveness needed the human resource development by means of promoting the higher-level study. The discipline and disciplinary observance required the training workshop to promote disciplinary observance, boost morale and motivate the prevention of disciplinary violation. Besides, the support of the staff members to be fulfilled with morality and ethics should be conducted. For the layoffs and early retirement, should there be the case of disciplinary violation, the fair treatment was required in order to provide justice and prevent injustice.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลง และปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของชาวปกาเกอะญอบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนทั้งสิ้น ๓๐ ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพนี้ คือ แบบสอบถามปลายเปิด จำนวน ๔ ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์ ตอนที่ ๒ บริบทชุมชนบ้านแม่เหาะ ตอนที่ ๓ สภาพชีวิตของชุมชนบ้านแม่เหาะ และตอนที่ ๔ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนบ้านแม่เหาะ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ อ้างอิงเปรียบเทียบข้อมูลในเอกสารงานวิจัยอื่น ๆ ผลการวิจัยพบว่า: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีวิดีชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา ไม่ว่าจะเป็นในด้านปัจจัยภายในของสังคม และปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นจากกระแสของการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยใหม่ ซึ่งมีปัจจัยเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ ปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบต่อชุมชนบ้านแม่เหาะควบคู่กันไป เหตุที่เป็นดังนี้ก็เนื่องมากจากการที่ระบบทางสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชี่อมโยงกันอยู่ตลอดเวลาจึงทำให้ต้องการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลง และปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของชาวปกาเกอะญอบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนทั้งสิ้น ๓๐ ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพนี้ คือ แบบสอบถามปลายเปิด จำนวน ๔ ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์ ตอนที่ ๒ บริบทชุมชนบ้านแม่เหาะ ตอนที่ ๓ สภาพชีวิตของชุมชนบ้านแม่เหาะ และตอนที่ ๔ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนบ้านแม่เหาะ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ อ้างอิงเปรียบเทียบข้อมูลในเอกสารงานวิจัยอื่น ๆ ผลการวิจัยพบว่า: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีวิดีชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา ไม่ว่าจะเป็นในด้านปัจจัยภายในของสังคม และปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นจากกระแสของการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยใหม่ ซึ่งมีปัจจัยเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ ปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบต่อชุมชนบ้านแม่เหาะควบคู่กันไป เหตุที่เป็นดังนี้ก็เนื่องมากจากการที่ระบบทางสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชี่อมโยงกันอยู่ตลอดเวลาจึงทำให้ต้องการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
The objective of the Study of changes in the Karen Pagagayaw, Ban Mae Hoh Community, Mae Hoh Sub-District, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province is to study the history, changing and factors that cause changing of the Pagagayaw people in Ban Mae Hoh, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province. The population in this study is 30 cases living in Ban Mae Hoh community, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province. The qualitative research tools were 4 sections of open-ended questionnaires, consisted of part 1) general information about interviewees, part 2) about Ban Mae Hoh community, part 3) about life conditions in Ban Mae Hoh and part 4) the community factors that cause changes within the Ban Mae Hoh community. The data was analyzed from the interview and the study of previous research papers. The research found that: From the study of changes in the Karen Pagagayaw, Ban Mae Hoh Community, Mae Hoh Sub-District, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province, their way of life has different from the traditional practice in terms of internal factors like society and external factors arising from the current trend of changing according to the modern era for Ban. The important factor that results in the changes is both Internal and external factors. These factors will cause both positive and negative impacts to the Mae Hoh community in the same time. The reasons are that the social and cultural systems of human beings are constantly intertwined and therefore want to study the changes of the Karen Pagagayaw community, Ban Mae Hoh Community, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของครอบครัวต่อเดือน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ปกครองที่มีบุตรหลานเรียนอยู่ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 123 คน และได้ใช้วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่มีระดับความเชื่อมั่น 95 % และให้ค่าความคาดเคลื่อนไม่เกิน 5% แล้วจึงสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิอย่างมีสัดส่วน (Proportional Stratified Random Sampling) จากนั้นจึงทำการสุ่มแบบง่าย ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 95 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.85 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการทดสอบค่า t-test ค่า F-test และวิเคราะห์เพื่อหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Scheffe ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับจากข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปหาต่ำ คือ ด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน รองลงมาคือ ด้านอาคารสถานที่สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ด้านส่งเสริมเครือข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวัย ด้านวิชาการและกิจกรรมหลักสูตร ด้านบุคลากร ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านที่มีด้านการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามลำดับ 2) การเปรียบเทียบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของครอบครัวต่อเดือน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของครอบครัวต่อเดือน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ปกครองที่มีบุตรหลานเรียนอยู่ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 123 คน และได้ใช้วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่มีระดับความเชื่อมั่น 95 % และให้ค่าความคาดเคลื่อนไม่เกิน 5% แล้วจึงสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิอย่างมีสัดส่วน (Proportional Stratified Random Sampling) จากนั้นจึงทำการสุ่มแบบง่าย ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 95 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.85 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการทดสอบค่า t-test ค่า F-test และวิเคราะห์เพื่อหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Scheffe ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับจากข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปหาต่ำ คือ ด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน รองลงมาคือ ด้านอาคารสถานที่สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ด้านส่งเสริมเครือข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวัย ด้านวิชาการและกิจกรรมหลักสูตร ด้านบุคลากร ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านที่มีด้านการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามลำดับ 2) การเปรียบเทียบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของครอบครัวต่อเดือน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน
The research served the purposes: 1) to study student guardians’ decision-making for having their kids be nurtured at Tambon Khilek Administration Organization’s preschool child development centre in Pathum Rat district of Roi Et province, 2) compare their decision-making for having their kids be nurtured at its center with different variables of their genders, educational levels, occupations, and incomes of a household per month. Populations employed for the research were guardians whose children were nurtured at the preceding center in academic year B.E. 2558, tallying 123 student guardians. Samples were set using Taro Yamane’s formula with the reliability at 95% and the error standing at 5%. Subsequently, samples’ number was screened through proportional stratified random sampling and simple random one, having the sampling groups earn 95 individuals. The device used for eliciting data was the questionnaire handouts with the content validity of every question between 0.67 and 1.00, and the reliability standing at 0.85. Data were processed with the ready computer software package to find frequencies, percentages, arithmetic means, standard deviations, t-tests and F-tests. Pair differences were analyzed with Scheffe’s method Results of the research have found yielding the following findings. 1) Student guardians’ decision-making for having their kids be nurtured at its preschool child development centre in the district mentioned above has been rated at the high scale ( = 4.34) in the overall aspect. When taking each aspect into consideration, they have been found that the first three aspects in descending order of arithmetic means are: participation and support from every sector ( = 4.42), premises, environments and security ( = 4.35), academic affairs and curriculum activities ( = 4.34), and managements of its center ( = 4.25). 2) The comparative results of student guardians’ decision-making for having their kids be nurtured at its center as classified by different variables of genders, educational levels, occupations and incomes of a household per month have not found differences in their decision-making in the overall aspect and each one.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามเพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็น ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 63 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่น(Reliability) เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่า t–test (Independent Sample) และ F–test (One way ANOVA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ คือ การสร้างโอกาสทางการศึกษา รองลงมา คือ การสร้างความเข้มแข็งและความพรอมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน 2) ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามเพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน การสร้างโอกาสทางการศึกษา การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน การสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก การส่งเสริม การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นต่อการดำเนินการตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ของเพศชายและเพศหญิง ด้านการสร้างโอกาสทางการศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 สรุปได้ดังนี้ 1) การสร้างโอกาสทางการศึกษา ควรร่วมมือกันในการสร้างความเป็นเลิศในทุกๆ โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรวม การใช้สื่อนวัตกรรมที่สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก 3) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ควรจัดให้มีการจัดตารางการเรียนการสอนในระดับชั้นเดียวกันให้ตรงกันทุกโรงเรียนในเครือข่ายหรือโรงเรียนที่อยู่ใกล้กันแล้วจัดการหมุนเวียนเข้าเรียนในแต่ละวัน 4) ด้านการสร้างความเข้มแข็งและความพรอมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามเพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็น ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 63 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่น(Reliability) เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่า t–test (Independent Sample) และ F–test (One way ANOVA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ คือ การสร้างโอกาสทางการศึกษา รองลงมา คือ การสร้างความเข้มแข็งและความพรอมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน 2) ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามเพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน การสร้างโอกาสทางการศึกษา การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน การสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก การส่งเสริม การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นต่อการดำเนินการตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ของเพศชายและเพศหญิง ด้านการสร้างโอกาสทางการศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 16 โคกนาคำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 สรุปได้ดังนี้ 1) การสร้างโอกาสทางการศึกษา ควรร่วมมือกันในการสร้างความเป็นเลิศในทุกๆ โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนรวม การใช้สื่อนวัตกรรมที่สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก 3) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ควรจัดให้มีการจัดตารางการเรียนการสอนในระดับชั้นเดียวกันให้ตรงกันทุกโรงเรียนในเครือข่ายหรือโรงเรียนที่อยู่ใกล้กันแล้วจัดการหมุนเวียนเข้าเรียนในแต่ละวัน 4) ด้านการสร้างความเข้มแข็งและความพรอมในการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
โรงเรียนขนาดเล็กทุกโรงในเครือข่ายจะต้องมีการบริหารจัดการด้านวิชาการร่วมกัน และพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวมคละชั้นให้กับครูทุกคน และ 5) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา โรงเรียนขนาดเล็กทุกโรงเรียนในเครือข่ายจะต้องร่วมกันประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการที่ประสบผลสำเร็จให้ประชาชนในชุมชนได้รับทราบ และจะต้องหาช่องทางการประชาสัมพันธ์ที่สามารถเข้าถึงประชาชนได้อย่างแท้จริง
The objectives of the research were 1) to study the guidelines for developing education quality of small-sized schools in the sixteenth education development center of Khok Nakhum under the jurisdiction of the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 2, 2) to compare the attitude of the executives and teachers toward the guidelines for developing education quality of the said small-sized schools, classified by gender, position and job experience, and 3) to find out the suggestions and recommendations about the guidelines for developing education quality of the small-sized schools as earlier mentioned. The samples were 63 administrators and teachers in the said schools, who were selected via the means of simplistic sampling based on the Krejcie and Morgan table. The five-rating scale questionnaire was used as a tool to collect the data, with its content validity in the range of 0.67 – 1.00 and its reliability at 0.96. The statistical devices used for data analysis consisted of Frequency, Percentage, Mean (), S.D., t – test (Independent Samples) and F – test (One–way ANOVA). The research results were as follows: 1) The guidelines for developing education quality of small-sized schools in the sixteenth education quality center of Khok Nakhum under the jurisdiction of the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 2 were found , in an overall aspect, to exist at the ‘MUCH’ level. Taking into account the individual aspect, the item that stood on top of the scale was the aspect of opportunity extension, followed by the enhancement of strength and readiness for administration of small-sized schools, and the sustainable and effective development of administration and management system, respectively. 2) The comparison of the attitude of the executives and teachers toward the guidelines for developing education quality of the said small-sized schools, classified by gender, position and job experience, was found, in an overall aspect, to feature no statistically significant difference in such fields as opportunity extension, quality and standards development, sustainable and effective development of administration and management system, enhancement of strength and readiness for administration of small-sized schools and promotion of multi-participation. The different attitude of male and female gender was found in the aspect of opportunity extension which showed the statistically significant difference at .05. 3) The recommendations suggested by the correspondents were the following: (1) As for the opportunity extension, all the small-sized schools in the network should cooperate in promotion of excellences in all fields, especially the pupil care aspect. (2) As for the quality and standards development, the research on the classroom pool arrangement and the innovative media to increase the pupils’ effectiveness. (3) The sustainable and effective development of administration and management system required all the schools in the network to design the identical time table for rotation of class attendances. (4) The enhancement of strength and readiness for administration of small-sized schools recommended all the schools to cooperate in academic administration and cross-class teaching management on the part of teachers. (5) As regards the promotion of multi-participation, all the schools were required to publicize their own successful performances and find out the channels of public relations which were able to meet with the public interest.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561

... 2561

หนังสือ

    งานวิจัยเรื่องภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตาม เพศ อายุ และระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม 3) เพื่อรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 125 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และการทดสอบค่า F – test (One - way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. ผลการเปรียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านกาลัญญุตา จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่างสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีดังนี้ ปัญหาคือ ผู้บริหารสถานศึกษาไม่รู้จักเหตุผล ใช้ความคิดของตนเองมากเกินไปในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาขาดการวางแผนในการบริหารสถานศึกษาในด้านต่างๆ และผู้บริหารสถานศึกษาใช้อารมณ์มากเกินไปในการบริหารงาน พูดจาไม่สุภาพ ไม่เหมาะสมกับการเป็นผู้บริหาร มีข้อเสนอแนะคือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรใช้หลักเหตุผลให้ตรงกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้บริหารสถานศึกษาควรวางแผนการบริหารสถานศึกษา โดยคิดวิเคราะห์ผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากการบริหารงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในสถานศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษาควรมีปิยะวาจา มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ในการสนทนาและการบริหารงาน
งานวิจัยเรื่องภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตาม เพศ อายุ และระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม 3) เพื่อรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 125 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และการทดสอบค่า F – test (One - way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. ผลการเปรียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านกาลัญญุตา จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่างสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีดังนี้ ปัญหาคือ ผู้บริหารสถานศึกษาไม่รู้จักเหตุผล ใช้ความคิดของตนเองมากเกินไปในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาขาดการวางแผนในการบริหารสถานศึกษาในด้านต่างๆ และผู้บริหารสถานศึกษาใช้อารมณ์มากเกินไปในการบริหารงาน พูดจาไม่สุภาพ ไม่เหมาะสมกับการเป็นผู้บริหาร มีข้อเสนอแนะคือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรใช้หลักเหตุผลให้ตรงกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้บริหารสถานศึกษาควรวางแผนการบริหารสถานศึกษา โดยคิดวิเคราะห์ผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากการบริหารงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในสถานศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษาควรมีปิยะวาจา มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ในการสนทนาและการบริหารงาน
The objectives of the research were 1) to study the Buddhism-oriented leadership of school administrators of the Muangswang education development group under the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 3, 2) to compare the opinions of the teachers and education-related staff members towards the Buddhism-oriented leadership of school administrators of the Muangswang education development group as mentioned, classified by gender, age and education, and 3) to survey the prevalent problems and suggestions proposed by the teachers and education-related staff members in the said schools. The samples were totally 125 in number, consisting of teachers and education-related personnel of the schools in the said area. The device used for data collection was the five-rating scale questionnaire with reliability at the rate of 0.96, and the statistical tools employed for data analysis were frequency, percentage, mean, S.D., t-test (Independent Samples) and f-test (One way ANOVA). In case the significantly statistical difference was found, the LSD method was used to test the difference. The research results were as follows: 1) The Buddhism-oriented leadership of the school administrators of the Muangswang Education Development Group under the Office of Primary Education Service. Roi Et Area 3 were found, on both overall and individual aspects, to stand at the ‘MUCH’ level. 2) The comparison of the respondents’ related opinions, classified by gender, was found to show no statistically significant difference in both overall and individual aspects. The comparison classified by age was found, in both overall and individual dimensions, to show the statistically significant difference at the same rate of .05 except Kalaññutã (Knowledge of time). The comparison classified by education was found, in both overall and individual aspects, to show the statistically significant difference at the same rate of .05. 3) The problems found comprised the administrators’ reliance on their own judgment instead of the reasoning principle, lack of the PDCA theory applied in the administration, and absence of tender manners in both physical and verbal actions. The suggestions proposed by the respondents were the following: (1) The administrators were recommended to bring into practice the principle of reasoning or participatory administration and the theory of both PDCA and SWOT. (2) The respect of other opinions, tender speech and good human relations were suggested to be applied in the administration.