Search results

1 results in 0.03s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของครอบครัวต่อเดือน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ปกครองที่มีบุตรหลานเรียนอยู่ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 123 คน และได้ใช้วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่มีระดับความเชื่อมั่น 95 % และให้ค่าความคาดเคลื่อนไม่เกิน 5% แล้วจึงสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิอย่างมีสัดส่วน (Proportional Stratified Random Sampling) จากนั้นจึงทำการสุ่มแบบง่าย ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 95 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.85 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการทดสอบค่า t-test ค่า F-test และวิเคราะห์เพื่อหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Scheffe ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับจากข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปหาต่ำ คือ ด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน รองลงมาคือ ด้านอาคารสถานที่สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ด้านส่งเสริมเครือข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวัย ด้านวิชาการและกิจกรรมหลักสูตร ด้านบุคลากร ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านที่มีด้านการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามลำดับ 2) การเปรียบเทียบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของครอบครัวต่อเดือน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของครอบครัวต่อเดือน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ปกครองที่มีบุตรหลานเรียนอยู่ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 123 คน และได้ใช้วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่มีระดับความเชื่อมั่น 95 % และให้ค่าความคาดเคลื่อนไม่เกิน 5% แล้วจึงสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิอย่างมีสัดส่วน (Proportional Stratified Random Sampling) จากนั้นจึงทำการสุ่มแบบง่าย ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 95 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.85 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการทดสอบค่า t-test ค่า F-test และวิเคราะห์เพื่อหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Scheffe ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับจากข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปหาต่ำ คือ ด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน รองลงมาคือ ด้านอาคารสถานที่สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ด้านส่งเสริมเครือข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวัย ด้านวิชาการและกิจกรรมหลักสูตร ด้านบุคลากร ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านที่มีด้านการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามลำดับ 2) การเปรียบเทียบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลขี้เหล็ก อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของครอบครัวต่อเดือน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน
The research served the purposes: 1) to study student guardians’ decision-making for having their kids be nurtured at Tambon Khilek Administration Organization’s preschool child development centre in Pathum Rat district of Roi Et province, 2) compare their decision-making for having their kids be nurtured at its center with different variables of their genders, educational levels, occupations, and incomes of a household per month. Populations employed for the research were guardians whose children were nurtured at the preceding center in academic year B.E. 2558, tallying 123 student guardians. Samples were set using Taro Yamane’s formula with the reliability at 95% and the error standing at 5%. Subsequently, samples’ number was screened through proportional stratified random sampling and simple random one, having the sampling groups earn 95 individuals. The device used for eliciting data was the questionnaire handouts with the content validity of every question between 0.67 and 1.00, and the reliability standing at 0.85. Data were processed with the ready computer software package to find frequencies, percentages, arithmetic means, standard deviations, t-tests and F-tests. Pair differences were analyzed with Scheffe’s method Results of the research have found yielding the following findings. 1) Student guardians’ decision-making for having their kids be nurtured at its preschool child development centre in the district mentioned above has been rated at the high scale ( = 4.34) in the overall aspect. When taking each aspect into consideration, they have been found that the first three aspects in descending order of arithmetic means are: participation and support from every sector ( = 4.42), premises, environments and security ( = 4.35), academic affairs and curriculum activities ( = 4.34), and managements of its center ( = 4.25). 2) The comparative results of student guardians’ decision-making for having their kids be nurtured at its center as classified by different variables of genders, educational levels, occupations and incomes of a household per month have not found differences in their decision-making in the overall aspect and each one.