Search results

104 results in 0.11s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทักษะชีวิตและกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต 2) เพื่อศึกษาหลักคำสอนเรื่องกายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต 3) เพื่อศึกษากายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตแนวพุทธ ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้วยวิธีศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เพื่อหาข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า : ทักษะชีวิตและกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต พบว่าองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นผู้แพร่คำว่า “ทักษะชีวิต” (Life Skill) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาด้าน ร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ โดยมีองค์ประกอบ 10 ด้านคือ 1) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2) ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์3) ทักษะด้านการตระหนักรู้ในตน 4) ทักษะด้านการเข้าใจผู้อื่น 5) ทักษะด้านการตัดสินใจ 6) ทักษะด้านการแก้ปัญหา 7) ทักษะด้านการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 8) ทักษะด้านการจัดการกับความเครียด 9) ทักษะด้านการจัดการกับอารมณ์ และ 10) ทักษะด้านการจัดการกับความเครียด โดยมีแนวทางแห่งการพัฒนาแบ่งออกเป็น 4 ด้านคือ 1) การพัฒนาด้านกายภาพ 2) การพัฒนาด้านศีลธรรม 3) การพัฒนาด้านจิตใจหรืออารมณ์ 4) การพัฒนาทางสติปัญญา กายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต พบว่า กายคตาสติ เป็นกรรมฐานเพื่อพัฒนาสติโดยใช้พิจารณาองค์ประกอบของร่างกาย คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็นของไม่สะอาด ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น เพื่อให้เกิดความเบื่อหน่าย เป็นหลักทำให้เกิดทักษะ 4 ด้าน คือ 1) ทักษะด้านการตระหนักรู้ในตน 2) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3) ทักษะด้านการจัดการกับอารมณ์ 4) ทักษะด้านการแก้ปัญหา กายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตแนวพุทธ พบว่า การปฏิบัติกายคตาสติทำให้เกิดปัญญาเห็นความเป็นจริงในกฏไตรลักษณ์ของกายและใจ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางพัฒนาทักษะชีวิต 2 ประการคือ พัฒนาด้านกาย และพัฒนาด้านจิตใจ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทักษะชีวิตและกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต 2) เพื่อศึกษาหลักคำสอนเรื่องกายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต 3) เพื่อศึกษากายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตแนวพุทธ ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้วยวิธีศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เพื่อหาข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า : ทักษะชีวิตและกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต พบว่าองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นผู้แพร่คำว่า “ทักษะชีวิต” (Life Skill) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาด้าน ร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ โดยมีองค์ประกอบ 10 ด้านคือ 1) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2) ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์3) ทักษะด้านการตระหนักรู้ในตน 4) ทักษะด้านการเข้าใจผู้อื่น 5) ทักษะด้านการตัดสินใจ 6) ทักษะด้านการแก้ปัญหา 7) ทักษะด้านการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 8) ทักษะด้านการจัดการกับความเครียด 9) ทักษะด้านการจัดการกับอารมณ์ และ 10) ทักษะด้านการจัดการกับความเครียด โดยมีแนวทางแห่งการพัฒนาแบ่งออกเป็น 4 ด้านคือ 1) การพัฒนาด้านกายภาพ 2) การพัฒนาด้านศีลธรรม 3) การพัฒนาด้านจิตใจหรืออารมณ์ 4) การพัฒนาทางสติปัญญา กายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต พบว่า กายคตาสติ เป็นกรรมฐานเพื่อพัฒนาสติโดยใช้พิจารณาองค์ประกอบของร่างกาย คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็นของไม่สะอาด ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น เพื่อให้เกิดความเบื่อหน่าย เป็นหลักทำให้เกิดทักษะ 4 ด้าน คือ 1) ทักษะด้านการตระหนักรู้ในตน 2) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3) ทักษะด้านการจัดการกับอารมณ์ 4) ทักษะด้านการแก้ปัญหา กายคตาสติในฐานะเป็นกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตแนวพุทธ พบว่า การปฏิบัติกายคตาสติทำให้เกิดปัญญาเห็นความเป็นจริงในกฏไตรลักษณ์ของกายและใจ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางพัฒนาทักษะชีวิต 2 ประการคือ พัฒนาด้านกาย และพัฒนาด้านจิตใจ
The objectives of this thesis are: 1) to study life skills and life skills reinforcement processes, 2) to study the doctrine of mindfulness with regard to the body as a life skills reinforcement process, and 3) to study mindfulness with regard to the body as a Buddhist life skills reinforcement process. The data were collected from textbooks, documents and related research papers and then analyzed for conclusion. The results of the research showed that: "Life Skills" was publicized by The World Health Organization with the aim to provide people to take care of themselves physically, mentally and emotionally. There are 10 components as follows: 1) Critical thinking skills, 2) Creative thinking skills, 3) Self-awareness, 4) Understanding others, 5) Decision making skills, 6) Problem solving skills, 7) Effective communication skills, 8) Interpersonal relationship building skills, 9) Emotional management skills, and 10) Stress management skills divided into 4 areas: 1) physical development, 2) moral development, 3) Mental or emotional development, and 4) Intellectual development. The mindfulness with regard to the body as the reinforcement process in life skills indicates that it is the practice of concentration on body components as hair on the head, hair on the body, nails, teeth, skin, etc. as unclean, should not be attached to, but should feel boredom on it. They are the practices to create 4 skills: 1) self-awareness skills, 2) reflection skills, 3) emotional management skills, and 4) problem solving skills. Physical consciousness as a process in enhancing Buddhist life skills indicates that the practice of physical consciousness can originate wisdom in realizing body and mind according to the Three Common Characteristics and it is in line with 2 methods in life skills development; physical development and mental development.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ตามความคิดเห็นของพนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะ ที่มี เพศ อายุ อายุงาน ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ประชากรได้แก่พนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะ ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ในแขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร จำนวนประชากรทั้งหมด 2,800 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie&Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 338 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า F-test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีความคิดเห็นที่มีต่อภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) โดยรวมทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดย เรียงลําดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านวิสัยทัศน์ (จักขุมา) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการบริหาร (วิธูโร) ส่วน ด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ (นิสสยสัมปันโน) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ตามความคิดเห็นของพนักงาน ที่มี เพศ อายุ อายุงาน ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) คือ ควรเพิ่มการจัดให้มีการอบรมเพื่อเติมความรู้และเพิ่มประสบการณ์ในการบริหารงานให้แก่ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ ผู้บริหารควรพบปะพนักงานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของพนักงาน ควรเป็นผู้ที่มีความสัมพันธ์อันดีกับพนักงานและสร้างการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกภาคส่วน ควรศึกษาปัญหาและความต้องการของพนักงานให้เข้าใจเพื่อจะได้แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเปิดโอกาสให้พนักงานได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กร
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ตามความคิดเห็นของพนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะ ที่มี เพศ อายุ อายุงาน ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ประชากรได้แก่พนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานใหญ่ราษฎร์บูรณะ ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ในแขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร จำนวนประชากรทั้งหมด 2,800 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie&Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 338 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า F-test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีความคิดเห็นที่มีต่อภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) โดยรวมทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดย เรียงลําดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านวิสัยทัศน์ (จักขุมา) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการบริหาร (วิธูโร) ส่วน ด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ (นิสสยสัมปันโน) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ตามความคิดเห็นของพนักงาน ที่มี เพศ อายุ อายุงาน ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาของผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) คือ ควรเพิ่มการจัดให้มีการอบรมเพื่อเติมความรู้และเพิ่มประสบการณ์ในการบริหารงานให้แก่ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ ผู้บริหารควรพบปะพนักงานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของพนักงาน ควรเป็นผู้ที่มีความสัมพันธ์อันดีกับพนักงานและสร้างการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกภาคส่วน ควรศึกษาปัญหาและความต้องการของพนักงานให้เข้าใจเพื่อจะได้แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเปิดโอกาสให้พนักงานได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กร
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the Buddhist leadership of executives of Kasikornbank Public Company Limited, 2) to compare the Buddhist leadership of executives of Kasikornbank Public Company Limited based on opinions of the employees working in Rat Burana Head Office with different genders, ages, work-durations, education levels and monthly incomes, and 3) to study suggestions about the problems and guidelines for solving leadership according to Buddhism of executives of Kasikornbank Public Company Limited. The populations used in the study were 2800 employees working in the Rat Burana Headquarters, in Rat Burana sub-district, Rat Burana District of Bangkok. 338 samples were obtained by using Krejcie and Morgan tables. The data were collected by questionnaire and analyzed by a ready-made computer program. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and the LSD method. The results reveal that: 1) The opinion of employees on the leadership according to the Buddhist concept of executives of Kasikornbank Public Company Limited in all three areas was at a high level. When considering in details with descending order, the vision (Cakkhuma) was at the highest level, followed by management (Vidhuro) and interpersonal relations (Nissayasampanno) respectively. 2) The results of comparison, the employees with different genders, ages, employments, education levels and monthly incomes had no different opinions with statistically significant figure at the .05 level. 3) The suggestions for solving the problems and the solutions in leadership according to Buddhism of executives of Kasikornbank Public Company Limited are that; the executives should be trained, re-skilled and up-skilled in administration, the meetings between the executives and employees should be arranged regularly to build a good relationship to each other, listen to problems in work and seek for cooperation and participation, and the employees should be allowed to share their opinions and participate in organization development.

... 2564

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการยอมรับนับถือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการเข้าสังคม ด้านการประสานงาน ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการมีความคิดริเริ่ม และด้านการโน้มน้าวจิตใจ ตามลำดับ 2) การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ และด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ตามลำดับ 3) ภาวะผู้นำของผู้บริหารส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการประสานงานด้านการมีความคิดริเริ่ม ด้านการเข้าสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.992 (R = 0.992) ซึ่งตัวแปรทั้งสี่ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้ร้อยละ 98.4 (R^2 = 0.984) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 0.052 + 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการยอมรับนับถือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการเข้าสังคม ด้านการประสานงาน ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการมีความคิดริเริ่ม และด้านการโน้มน้าวจิตใจ ตามลำดับ 2) การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ และด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ตามลำดับ 3) ภาวะผู้นำของผู้บริหารส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการประสานงานด้านการมีความคิดริเริ่ม ด้านการเข้าสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.992 (R = 0.992) ซึ่งตัวแปรทั้งสี่ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้ร้อยละ 98.4 (R^2 = 0.984) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 0.052 + 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984)
The objectives of this research were: 1) to study the Leadership of school administrators under the Pathum Thani primary educational service area office 2, 2) to study the committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2 and, 3) to study the school administrators’ leadership affecting the committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2. A sample was collected from 295 informants from 59 schools including director, the committee of fundamental education and teachers. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple regressions. The results of the research ware as follows: 1) The leadership of school administrators under the Pathum Thani primary educational service area office 2 in overall was at a high level. The ranging by the average from high to low that respect, assistance, socializing, co-ordination, knowing improve, initiatives and mental persuasion respectively. 2) The committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2 in overall was at a high level. The ranging by the average from high to low that participation in evaluation, participation in decision making, participation in benefits and participation in operations respectively. 3) The administrators leadership affecting the committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2 was statistically significant at the 0.01 level. The most significant level was on knowing improve, co-ordination, initiatives, socializing was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.992 (R = 0.992) which can explain the variance of the school administrators’ leadership under the Pathum Thani primary educational service area office 2 at 98.4% (R^2 = 0.984). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 0.052 + 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984)
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารกิจกรรมลูกเสือที่ส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างจำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป ด้านบุคลากร และด้านการติดตามประเมินผล ตามลำดับ 2) สุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านสุขภาวะทางกาย ด้านสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ด้านสุขภาวะทางจิต และด้านสุขภาวะทางสังคม ตามลำดับ 3) การบริหารกิจกรรมลูกเสือส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.763 (R = 0.0.763) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารกิจกรรมลูกเสือ ได้ร้อยละ 58.3 (R^2= 0.583) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 2.316 + 0.379 (x3) + 0.126 (x1) (R^2= 0.583) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.59 (x3) + 0.187 (x1) (R^2= 0.583)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารกิจกรรมลูกเสือที่ส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างจำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป ด้านบุคลากร และด้านการติดตามประเมินผล ตามลำดับ 2) สุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านสุขภาวะทางกาย ด้านสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ด้านสุขภาวะทางจิต และด้านสุขภาวะทางสังคม ตามลำดับ 3) การบริหารกิจกรรมลูกเสือส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.763 (R = 0.0.763) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารกิจกรรมลูกเสือ ได้ร้อยละ 58.3 (R^2= 0.583) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 2.316 + 0.379 (x3) + 0.126 (x1) (R^2= 0.583) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.59 (x3) + 0.187 (x1) (R^2= 0.583)
The objectives of this research were: 1) to study the conditions of administration boy scouts activities in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province, 2) to study the conditions of the students in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province and, 3) to study the administration of boy scout activities in school affecting health for student under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province. The 327 informants’ cases were included as a sample. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and Multiple Linear Regression by Stepwise Regression. The results of the research ware as follows: 1) The administration boy scout activities in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province in overall was at a medium level. The ranging by the average from high to low that supporting and promoting scout activities, general administration, personnel, and monitoring evaluation respectively. 2) the conditions of the students in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province in overall was at a high level The ranging by the average from high to low that physical health conditions, Spiritual health conditions, mental health conditions and social health conditions respectively. 3) The administration of boy scout activities in school affecting health for student under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani province was statistically significant at the 0.01 level.The most significant level was on supporting and promoting scout activities and general administration was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.763 (R = 0.0.763) which can explain the variance of the conditions of administration boy scout activities in schools at 58.3% (R^2= 0.583). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 2.316 + 0.379 (x3) + 0.126 (x1) (R^2= 0.583) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.59 (x3) + 0.187 (x1) (R^2= 0.583)
หนังสือ

    งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทย, 2) เพื่อศึกษาพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เกี่ยวกับการศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จ, 3) เพื่อวิเคราะห์การศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จตามแนวพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นวิจัยเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนรวม 7 รูป/คน และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทยในปัจจุบันนี้ เป็นการศึกษาเพื่อรักษาและสืบทอด คำสอนทางพระพุทธศาสนา อีกทั้งยังเป็นการศึกษาพิเศษที่สำนักเรียนแต่ละสำนักสามารถจัดการศึกษาได้ด้วยตนเอง แต่พอถึงเวลาสอบวัดผลก็สามารถเข้าสอบได้พร้อมกันทั้งหมด ผู้สอบผ่านจะได้เข้ารับการตั้งเปรียญธรรมตามที่กำหนดไว้ และใบประกาศนียบัตรเทียบเท่าระบบสามัญศึกษาและอุดมศึกษาตามแต่ละชั้นได้ สามารถนำไปต่อยอดการศึกษาสาขาวิชาอื่น ๆ ได้ด้วย แนวพระดำริที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงวางไว้ในการศึกษาภาษาบาลี คือ 1. ใช้เวลาเรียนน้อย 2. ได้ความรู้มาก 3. นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง ซึ่งพระองค์ก็ทรงจัดวิธีการศึกษาแบบใหม่ โดยมีการจัดชั้นเรียนที่ชัดเจน ระบุวันสอบและสถานที่สอบที่ชัดเจน และมีการกำหนดคะแนนสอบได้ สอบตก เปลี่ยนจากการแปลด้วยปากเปล่ามาเป็นวิธีเขียน ทำให้ผู้เข้าสอบมีความสะดวกสบายและง่ายขึ้น การศึกษาภาษาบาลีนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงประสงค์ให้ผู้ศึกษาได้ศึกษาตามลำดับหลักสูตร มีการเข้าชั้นเรียน กำหนดเวลาเรียนให้เกิดความชัดเจน แล้วทำการวัดผลสอบในชั้นเรียน เพื่อเป็นการทดสอบความรู้ความสามารถพระภิกษุสามเณรก่อนเข้าสอบบาลีสนามหลวงจริง ซึ่งผู้ศึกษาจะได้มีความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษาและสามารถนำเอาผลของการศึกษาไปใช้ในทางปฏิบัติ จนทำให้มีผู้สำเร็จการศึกษามากยิ่งขึ้น พระองค์ทรงปรีชาสามารถในการจัดการศึกษา นับว่าเป็นพระอัจฉริยภาพอย่างยิ่งของพระองค์ท่านโดยแท้
งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทย, 2) เพื่อศึกษาพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เกี่ยวกับการศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จ, 3) เพื่อวิเคราะห์การศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จตามแนวพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นวิจัยเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนรวม 7 รูป/คน และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทยในปัจจุบันนี้ เป็นการศึกษาเพื่อรักษาและสืบทอด คำสอนทางพระพุทธศาสนา อีกทั้งยังเป็นการศึกษาพิเศษที่สำนักเรียนแต่ละสำนักสามารถจัดการศึกษาได้ด้วยตนเอง แต่พอถึงเวลาสอบวัดผลก็สามารถเข้าสอบได้พร้อมกันทั้งหมด ผู้สอบผ่านจะได้เข้ารับการตั้งเปรียญธรรมตามที่กำหนดไว้ และใบประกาศนียบัตรเทียบเท่าระบบสามัญศึกษาและอุดมศึกษาตามแต่ละชั้นได้ สามารถนำไปต่อยอดการศึกษาสาขาวิชาอื่น ๆ ได้ด้วย แนวพระดำริที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงวางไว้ในการศึกษาภาษาบาลี คือ 1. ใช้เวลาเรียนน้อย 2. ได้ความรู้มาก 3. นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง ซึ่งพระองค์ก็ทรงจัดวิธีการศึกษาแบบใหม่ โดยมีการจัดชั้นเรียนที่ชัดเจน ระบุวันสอบและสถานที่สอบที่ชัดเจน และมีการกำหนดคะแนนสอบได้ สอบตก เปลี่ยนจากการแปลด้วยปากเปล่ามาเป็นวิธีเขียน ทำให้ผู้เข้าสอบมีความสะดวกสบายและง่ายขึ้น การศึกษาภาษาบาลีนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงประสงค์ให้ผู้ศึกษาได้ศึกษาตามลำดับหลักสูตร มีการเข้าชั้นเรียน กำหนดเวลาเรียนให้เกิดความชัดเจน แล้วทำการวัดผลสอบในชั้นเรียน เพื่อเป็นการทดสอบความรู้ความสามารถพระภิกษุสามเณรก่อนเข้าสอบบาลีสนามหลวงจริง ซึ่งผู้ศึกษาจะได้มีความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษาและสามารถนำเอาผลของการศึกษาไปใช้ในทางปฏิบัติ จนทำให้มีผู้สำเร็จการศึกษามากยิ่งขึ้น พระองค์ทรงปรีชาสามารถในการจัดการศึกษา นับว่าเป็นพระอัจฉริยภาพอย่างยิ่งของพระองค์ท่านโดยแท้
The objectives of this thesis were as follows: 1. to study the Pali language study in Thailand, 2. to study the view of Somdej Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros in the Pali language study, and 3. to analyze the success in study of Pali according to the view of Somdet Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros. The data of this qualitative research were collected from documents and in-depth interviews with 7 experts and then analyzed in a descriptive way. The results of research were found that: The Pali language study in Thailand today is to preserve and transfer the Buddhist teachings. It is also a special education system that each school can operate its study but they have to send their students to take the examination-pool once a year. Those who passed in the examination will be certified as ones versed in Pali or Pariandham. The certificate of Pali study in a specific level is equivalent to the level in general and higher education system. The certificate can be used to apply for further study in other disciplines as well. The views of Somdej Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros in the Pali study were as follows; 1. It takes a little time to learn, 2. The learners gain a lot of knowledge, 3. It can be used for real benefit. In his time, a new educational system was set up; class arrangement, examination schedule and examination criteria were clearly specified; and the oral examination was changed to written examination. In the Pali language study, Somdej Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros wished students study according to the course order, regularly attend class, and do the classroom quizzes to assess their knowledge and understanding in Pali before attending the examination. By this way, students of Pali study can understand the Pali language and can apply their knowledge in work and practice. All these improvements confirmed and showed capability and genius of His Highness in educational management.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้แก่ ประชาคมในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 5,656 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 374 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาคมมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล ส่วนด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้าน การมีส่วนร่วมในการเสนอปัญหา มีความถี่มากที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเสนอปัญหาแผนงานหรือโครงการด้านการพัฒนาสาธารณูปโภค เช่น ถนนและไฟฟ้า เป็นต้นเพียงใด รองลงมา ด้าน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ คือ ท่านมีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจและกำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้แก่ ประชาคมในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 5,656 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 374 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาคมมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล ส่วนด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้าน การมีส่วนร่วมในการเสนอปัญหา มีความถี่มากที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเสนอปัญหาแผนงานหรือโครงการด้านการพัฒนาสาธารณูปโภค เช่น ถนนและไฟฟ้า เป็นต้นเพียงใด รองลงมา ด้าน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ คือ ท่านมีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจและกำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น
This thesis has the following objectives: 1) to study the community participation in the local development plan in Sam Phran District 2) to compare the participation of local people in the development of local development plans in Sampran district Nakhon Pathom province of the community that has different gender, age, education level, status and monthly income. 3) To suggest the participation of the community in formulating the local development plan in Sampran district. Nakhon Pathom province, namely Parachakham in Sam Phran district Nakhon Pathom Province, amount 5,656 people. Determine the size of the samples using the formula of Taro. Yamane received a sample of 385 people. The tools used to collect data were questionnaires. Closed-end and open-ended type Data analysis was done by using a computer program. Statistics for data analysis LSD, frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA or F-test and the Least Significant Difference LSD. The findings were as follows; 1) The community participates in the development of the local administrative organization development plan. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province, in all 5 areas, at the highest level When looking at each aspect, sorted in descending average order, it was found that the participation of There was the highest average, followed by participation in monitoring and evaluation. As for participation, receiving benefits Have the lowest mean respectively When classified by sex, age, educational level, occupation status and monthly income, overall was the highest. 2) The results of comparison of participation in the development plan of the local government organization. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province of the community with different sex, age, education level, occupation status and monthly income were found to be statistically significant difference at 0.05 level. 3) Suggestions on guidelines for promoting community participation in the development of the local administrative organization development plan. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province The results were found in descending order of frequency. How often are you involved with the local government organization in proposing problems, plans or projects in the area of utility development such as roads and electricity, etc. Make decisions and formulate development solutions to address local problems.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดทางญาณวิทยา และ 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ตามแนวญาณวิทยา เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ซึ่งศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1) พุทธปฏิมาที่พบรอบองค์พระปฐมเจดีย์มีทั้งสิ้น 80 ปาง และมีจำนวน 67 ปาง ที่มีเอกลักษณ์ในการแสดงพระหัตถ์ที่เรียกว่าการแสดงมุทราตามพุทธประวัติแต่ละตอน จึงทำให้พุทธปฏิมามีท่าทางไม่เหมือนกัน แต่เมื่อพิจารณาโดยรวมแล้วจะได้เป็นอิริยาบถหลัก ๆ 4 อิริยาบถ คือ อิริยาบถยืน 24 ปาง อิริยาบถเดิน 2 ปาง อิริยาบถนั่ง 37 ปาง อิริยาบถนอน 5 ปาง อาการกิริยาที่เห็นต่างนี้เกิดจากช่างปั้นและช่างหล่อจินตนาการสร้างสรรค์งานตามเนื้อหาของพุทธประวัติ 2) ญาณวิทยา เป็นวิชาที่ว่าด้วยทฤษฎีความรู้ ที่มีขอบข่ายของความรู้กว้างขวางตามแนวคิดทฤษฎีที่หลากหลายของนักญาณวิทยาหรือนักปรัชญา มีทั้งแนวคิดที่ตรงกันและขัดแย้งกัน สำหรับในบริบทนี้ได้สรุปแนวคิดทฤษฎีออกเป็น 4 ประเด็น คือ บ่อเกิดของความรู้ ขอบเขตของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และความสมเหตุสมผลของความรู้ 3) วิเคราะห์คุณค่าพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ตามแนวญาณวิทยาในอิริยาบถ ทั้ง 4 คือ อิริยาบถยืน ได้แก่ ปางโปรดพุทธบิดา อิริยาบถเดิน ได้แก่ ปางจงกรมแก้ว อิริยาบถนั่ง ได้แก่ ปางปฐมเทศนา และอิริยาบถนอน ได้แก่ ปางปรินิพพาน วิเคราะห์ตามขอบข่ายของญาณวิทยาทั้ง 4 ประการ คือ บ่อเกิดของความรู้ ขอบเขตของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และความสมเหตุสมผล ของความรู้ คุณค่าของพุทธปฏิมาทั้ง 4 ปาง แสดงให้เห็นถึงบ่อเกิดของความรู้นั้นเกิดขึ้นได้ใน ทุกอิริยาบถไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใดก็สามารถทำให้เกิดความรู้ได้ ด้านขอบเขตของความรู้ มีตั้งแต่ความรู้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตของคนทั่วไป จนถึงความรู้สูงสุดคือ การหลุดพ้นจากกิเลสด้านธรรมชาติของความรู้นั้นความรู้มีธรรมชาติที่ทำให้มนุษย์มีความรู้ตั้งแต่การดำเนินชีวิต และความรู้สูงสุดคือ ทำลายความไม่รู้คือ อวิชชาได้ ด้านความสมเหตุสมผลของความรู้นั้นสามารถพิสูจน์ได้ใน ทุกขณะในทุกเวลาไม่ขึ้นอยู่กับกาล ที่เรียกว่า “อกาลิโก” ความรู้ทั้งหลายมีปรากฏอยู่ในพุทธปฏิมา ต้องวิเคราะห์แยกแยะด้วยปัญญา โดยการพิจารณาโดยแยบคายจึงจะเข้าถึงองค์ความรู้ในพุทธปฏิมา
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดทางญาณวิทยา และ 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ตามแนวญาณวิทยา เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ซึ่งศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1) พุทธปฏิมาที่พบรอบองค์พระปฐมเจดีย์มีทั้งสิ้น 80 ปาง และมีจำนวน 67 ปาง ที่มีเอกลักษณ์ในการแสดงพระหัตถ์ที่เรียกว่าการแสดงมุทราตามพุทธประวัติแต่ละตอน จึงทำให้พุทธปฏิมามีท่าทางไม่เหมือนกัน แต่เมื่อพิจารณาโดยรวมแล้วจะได้เป็นอิริยาบถหลัก ๆ 4 อิริยาบถ คือ อิริยาบถยืน 24 ปาง อิริยาบถเดิน 2 ปาง อิริยาบถนั่ง 37 ปาง อิริยาบถนอน 5 ปาง อาการกิริยาที่เห็นต่างนี้เกิดจากช่างปั้นและช่างหล่อจินตนาการสร้างสรรค์งานตามเนื้อหาของพุทธประวัติ 2) ญาณวิทยา เป็นวิชาที่ว่าด้วยทฤษฎีความรู้ ที่มีขอบข่ายของความรู้กว้างขวางตามแนวคิดทฤษฎีที่หลากหลายของนักญาณวิทยาหรือนักปรัชญา มีทั้งแนวคิดที่ตรงกันและขัดแย้งกัน สำหรับในบริบทนี้ได้สรุปแนวคิดทฤษฎีออกเป็น 4 ประเด็น คือ บ่อเกิดของความรู้ ขอบเขตของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และความสมเหตุสมผลของความรู้ 3) วิเคราะห์คุณค่าพุทธปฏิมารอบองค์พระปฐมเจดีย์ตามแนวญาณวิทยาในอิริยาบถ ทั้ง 4 คือ อิริยาบถยืน ได้แก่ ปางโปรดพุทธบิดา อิริยาบถเดิน ได้แก่ ปางจงกรมแก้ว อิริยาบถนั่ง ได้แก่ ปางปฐมเทศนา และอิริยาบถนอน ได้แก่ ปางปรินิพพาน วิเคราะห์ตามขอบข่ายของญาณวิทยาทั้ง 4 ประการ คือ บ่อเกิดของความรู้ ขอบเขตของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และความสมเหตุสมผล ของความรู้ คุณค่าของพุทธปฏิมาทั้ง 4 ปาง แสดงให้เห็นถึงบ่อเกิดของความรู้นั้นเกิดขึ้นได้ใน ทุกอิริยาบถไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใดก็สามารถทำให้เกิดความรู้ได้ ด้านขอบเขตของความรู้ มีตั้งแต่ความรู้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตของคนทั่วไป จนถึงความรู้สูงสุดคือ การหลุดพ้นจากกิเลสด้านธรรมชาติของความรู้นั้นความรู้มีธรรมชาติที่ทำให้มนุษย์มีความรู้ตั้งแต่การดำเนินชีวิต และความรู้สูงสุดคือ ทำลายความไม่รู้คือ อวิชชาได้ ด้านความสมเหตุสมผลของความรู้นั้นสามารถพิสูจน์ได้ใน ทุกขณะในทุกเวลาไม่ขึ้นอยู่กับกาล ที่เรียกว่า “อกาลิโก” ความรู้ทั้งหลายมีปรากฏอยู่ในพุทธปฏิมา ต้องวิเคราะห์แยกแยะด้วยปัญญา โดยการพิจารณาโดยแยบคายจึงจะเข้าถึงองค์ความรู้ในพุทธปฏิมา
The objectives of this thesis are 1) to study the Buddha images around Phra Pathom Chedi, 2) to study the concept of epistemology, and 3) to analyze the values of Buddha images around Phra Pathom Chedi according to the epistemology. The data of this documentary qualitative study were from the Tipitaka, Commentaries, textbooks and related research works. The results of the study were shown as follows 1) There are 80 attitudes of the Buddha images around Phra Pathom Chedi and 67 Buddha images have a unique attitude with the hand posture called Mudra. According to the Buddha's history, each episode makes the Buddha image a different posture. But when considering overall, there are 4 postures; 24 standing attitudes, 2 walking attitudes, 37 seated attitudes, and 5 reclining attitudes. These attitudes were created by potters’ or casters’ imagination according to the contents of the Buddha’s life story. 2) Epistemology is the theory of knowledge with a wide range of knowledge according to various theoretical concepts of epistemologists or philosophers. The concepts may be corresponding and contrasting. The theory can be summarized into 4 main points; the source of knowledge, scope of knowledge, nature of knowledge and reasonability of knowledge. 3) Analyze the values of the Buddha images around Phra Pathom Chedi according to the epistemology of the four gestures: Standing posture in Preaching His father, Walking postures in walking meditation, Sitting posture in Preaching the First Sermon, and Reclining posture in entering to Nibbana. The analysis was done in the framework of the four concepts in epistemology; the source of knowledge, the scope of knowledge, the nature of knowledge, and the reasonability of knowledge. The values of the four Buddha image postures show that the origin of knowledge that can be occurred in every posture. The scope of knowledge is varied from the basic knowledge in daily life to the highest knowledge for liberation from passion. The nature of knowledge is from knowledge in living a life to the ultimate knowledge in destroying ignorance. The reasonability of knowledge can be proven at any moment without space and time called Akaliko”. The knowledge embedded in the Buddha images can be achieved by considerably analyzing and synthesizing with wisdom.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 และ 3) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนจำนวน 61 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 56 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 392 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ แบบที่ 5 ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหา แบบที่ 4 ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำการตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น แบบที่ 3 ผู้บริหารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอวิธีการแก้ปัญหาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ แบบที่ 1 ผู้บริหารตัดสินใจด้วยตนเอง และแบบที่ 2 ผู้บริหารตัดสินใจแล้วขอความคิดเห็นจากผู้ใต้บังคับบัญชาตามลำดับ 2. ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านลักษณะงาน ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านเพื่อนร่วมงาน ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านผู้บังคับบัญชา ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านโอกาสก้าวหน้า และความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านค่าตอบแทนตามลำดับ 3. การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ แบบที่ 1 ผู้บริหารตัดสินใจด้วยตนเอง แบบที่ 3 ผู้บริหารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอวิธีการแก้ปัญหาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ แบบที่ 4 ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำการตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น และแบบที่ 5 ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ เท่ากับ 0.745 (R = 0.745) ซึ่งตัวแปรได้ร่วมกันอภิบายความแปรปรวนของการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ได้ร้อยละ 55.6 (R2 = 0.556) ซึ่งเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y = 1.097 + 0.300 (x3)+ 0.152 (x4)+ 0.121 (x1)+ 0.145 (x5) (R2 = 0.556) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy = 0.374 (x3)+ 0.183 (x4)+ 0.122 (x1)+ 0.186 (x5) (R2 = 0.556)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 และ 3) เพื่อศึกษาการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนจำนวน 61 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 56 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 392 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ แบบที่ 5 ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหา แบบที่ 4 ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำการตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น แบบที่ 3 ผู้บริหารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอวิธีการแก้ปัญหาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ แบบที่ 1 ผู้บริหารตัดสินใจด้วยตนเอง และแบบที่ 2 ผู้บริหารตัดสินใจแล้วขอความคิดเห็นจากผู้ใต้บังคับบัญชาตามลำดับ 2. ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านลักษณะงาน ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านเพื่อนร่วมงาน ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านผู้บังคับบัญชา ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านโอกาสก้าวหน้า และความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียนด้านค่าตอบแทนตามลำดับ 3. การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ แบบที่ 1 ผู้บริหารตัดสินใจด้วยตนเอง แบบที่ 3 ผู้บริหารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอวิธีการแก้ปัญหาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ แบบที่ 4 ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำการตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น และแบบที่ 5 ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจและแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ เท่ากับ 0.745 (R = 0.745) ซึ่งตัวแปรได้ร่วมกันอภิบายความแปรปรวนของการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ได้ร้อยละ 55.6 (R2 = 0.556) ซึ่งเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y = 1.097 + 0.300 (x3)+ 0.152 (x4)+ 0.121 (x1)+ 0.145 (x5) (R2 = 0.556) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy = 0.374 (x3)+ 0.183 (x4)+ 0.122 (x1)+ 0.186 (x5) (R2 = 0.556)
The objectives of this research were: 1) to study decision making of school administrators under the secondary educational service area office 9, 2) to study satisfaction of subordinates in schools under the secondary educational service area office 9 and, 3) to study decision making of school administrators affecting satisfaction of subordinates in schools under the secondary educational service area office 9. The data were collected from 392 informants from 56 schools out of 61 schools including administrators and teachers. The study was a quantitative research. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple regressions. The results of the research ware as follows: 1) The decision making of school administrators under the secondary educational service area office 9 in overall was at a high level. The ranging by the average from high to low that the type 5; administrators entrust subordinates to make decisions and solve problems, type 4; administrators point out the constraint and have subordinates make decisions within area, type 3; administrators let their subordinates propose solutions and take into account decisions, type 1; administrators make decisions by themselves, and type 2; administrators make decisions and ask for the opinion of the subordinates respectively. 2) The satisfaction of subordinates in schools under the secondary educational service area office 9 in overall was at a high level. The ranging by the average from high to low that satisfaction of school subordinates in work itself, co-worker, administrators, promotion opportunity, and satisfaction of school subordinates in payment respectively. 3) The decision making of school administrators affecting satisfaction of subordinates in schools under the secondary educational service area office 9 was statistically significant at the 0.01 level. The most significant level was on type 1; administrators make decisions by themselves, type 3; administrators let their subordinates propose solutions and take into account decisions, type 4; administrators point out the constraint and have subordinates make decisions within area and, type 5; administrators entrust subordinates to make decisions and solve problems was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.745 (R = 0.745) which can explain the variance of decision making of school administrators under the secondary educational service area office 9 at 55.6% (R2 = 0.556). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y = 1.097 + 0.300 (x3)+ 0.152 (x4)+ 0.121 (x1)+ 0.145 (x5) (R2 = 0.556) The predicting equation of standard score (Zy) Zy = 0.374 (x3)+ 0.183 (x4)+ 0.122 (x1)+ 0.186 (x5) (R2 = 0.556)
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1)เพื่อศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2)เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 3)เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมจำนวน 1,897 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโรยามาเน่(Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 330คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่าด้านการศึกษา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการพัฒนา ส่วนด้านฝึกอบรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมของบุคลากร ที่มีเพศ อายุระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกัน ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมของบุคลากร ที่มี สถานภาพ พบว่าโดยรวมทั้ง 3 ด้านไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านนอกนั้นไม่แตกต่างกัน
วิทยานิพนธ์นี้วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1)เพื่อศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2)เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 3)เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมจำนวน 1,897 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโรยามาเน่(Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 330คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่าด้านการศึกษา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการพัฒนา ส่วนด้านฝึกอบรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมของบุคลากร ที่มีเพศ อายุระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกัน ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมของบุคลากร ที่มี สถานภาพ พบว่าโดยรวมทั้ง 3 ด้านไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านนอกนั้นไม่แตกต่างกัน
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the human resource development of local government organizations in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province, 2) to compare human resource development of local government organizations in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province, and 3) to suggest guidelines on human resource development of the local government organization in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province. The data were collected by questionnaire from 330 samples out of 1,897 people in Sam Phran district. The sampling size was determined by using the formula of Taroyamane (Yamane). The data were analyzed by a computer program with frequency, percentage, mean, standard deviation, t - test, (One – Way ANOVA or F – test), and testing of the mean scores for each pair using the LSD method (Least Significant Difference). The findings were as follows: 1) The opinion on the human resource development of the local government organization in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province in all 3 areas was at a high level. When considering each aspect, sorted by average descending order, education had the highest average, followed by development and training respectively. 2) In the results of comparison of opinions on the human resource development of the local government organization in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province, the personnel with different sex, age, education level, and monthly income had no different level of opinions. In the results of comparing opinions towards the human resource development of local government organizations in Sam Phran district of Nakhon Pathom Province, the personnel with different marital status had no different level in 3 aspects. When considered in aspects, it was found that the personnel with different education level had different level of opinions with a statistically significant level at 0.05, while the difference was not found in other qualifications.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
The objective of this thesis were as follows; 1) to study the application of Sanghavatthu in work performance of the Local Administrative Organization Personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas: infrastructure, quality of life promotion, and management and conservation of natural resources and environment 2) to compare the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel Phuttamonthon district Nakhon Pathom province based on their sex age educational level and work experience, and 3) to propose a guidance on the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The quantitative data were collected from 196 samples by questionnaires and analyzed by frequency, mean, percentage, standard deviation, T-test, F-test, One-way ANOVA and LSD method. The qualitative data were collected by in-depth interview with 5 administrators of Local Administrative Organization in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The results of the study found that: 1) The application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas was at a high level overall. In details, the highest level was on management and conservation of natural resources and environment, followed by quality of life promotion, and infrastructure respectively. 2) From the hypothesis testing, the personnel with different sexes, ages, educational levels, and work experiences had no different levels in the application of Sangkhahawatthu in their performance. 3) The guidelines on the application of Sanghahavatthu in work performance of the local Administrative organization personnel in Phuttamonthon district of Nakhon Pathom province are that the personnel should be encouraged and supported in opinion exchange in work, in hospitality to each other, and in work motivation and responsibility.
หนังสือ

    การวิจัยเรื่อง การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ และรายได้ แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กลุ่มตัวอย่าง คือ พริตตี้ และกระบวนการรับและปรับใช้วัฒนธรรมของพริตตี้เพื่อให้ดำรงอยู่ในกลุ่มอาชีพและสังคมได้ การศึกษานี้ ผู้วิจัยใช้วิธีคือเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่ศึกษาแบบเจาะลึก(In-depth interview) และมีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยมี พริตตี้ ในกรุงเทพมหานคร เป็นกรณีศึกษา จำนวน 11 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย(Mean; X) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation, S.D.) และทดสอบสมมติฐาน T-test และ F-test ค่าสถิติ ANOVA จำนวน 150 คน ผลการวิจัยพบว่า : 1. การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ การคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ และด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ ตามลำดับ 2.ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ และรายได้ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะของพริตตี้ที่มีความคิดเห็นต่อ การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร สรุปผลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและพนักงานพริตตี้ 5 ท่าน ตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ สรุปได้ว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนมากมีความคิดเห็นสอดคล้องกันส่วนมาก คือ ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล “ผู้ประกอบอาชีพพริตตี้มีศักยภาพและแรงจูงใจมีผู้ติดตาม เป็นเหตุให้ถูกละเมิดข้อมูลส่วนตัวได้” รองลงมาได้แก่ ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ เรื่อง “ท่านคิดว่าการคุ้มครองสิทธิในการสร้างสรรค์มีประโยชน์ต่ออาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด การคุ้มครองสิทธิในเรื่องการสร้างสรรค์ เป็นการป้องกันการถูกละเมิดสิทธิได้” เรื่อง ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ เรื่อง “ท่านเคยใช้สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ รองลงมาคือ ท่านคิดว่าสังคมไทยในปัจจุบันมองอาชีพ พริตตี้ในเชิงลบเสี่ยงต่อสภาพจิตใจหรือปัญหาสุขภาพของอาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด” ด้านการคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ เรื่อง “อาชีพพริตตี้เป็นอาชีพเสี่ยงต่อการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ในการถ่ายภาพ เพราะลักษณะการทำงานและการแต่งตัวที่ล่อแหลม”และน้อยที่สุด ด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ เรื่อง “กระแสวัตถุนิยมในสังคมไทยเป็นสาเหตุทำให้อาชีพพริตตี้ถูกละเมิดทางเพศโดยวิธีการหลายรูปแบบ
การวิจัยเรื่อง การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ และรายได้ แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กลุ่มตัวอย่าง คือ พริตตี้ และกระบวนการรับและปรับใช้วัฒนธรรมของพริตตี้เพื่อให้ดำรงอยู่ในกลุ่มอาชีพและสังคมได้ การศึกษานี้ ผู้วิจัยใช้วิธีคือเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลที่ศึกษาแบบเจาะลึก(In-depth interview) และมีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยมี พริตตี้ ในกรุงเทพมหานคร เป็นกรณีศึกษา จำนวน 11 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย(Mean; X) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation, S.D.) และทดสอบสมมติฐาน T-test และ F-test ค่าสถิติ ANOVA จำนวน 150 คน ผลการวิจัยพบว่า : 1. การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ การคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ และด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ ตามลำดับ 2.ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการคุ้มครองสิทธิของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ และรายได้ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะของพริตตี้ที่มีความคิดเห็นต่อ การคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ กรุงเทพมหานคร สรุปผลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและพนักงานพริตตี้ 5 ท่าน ตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิตามพระราชบัญญัติของผู้ประกอบอาชีพพริตตี้ สรุปได้ว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนมากมีความคิดเห็นสอดคล้องกันส่วนมาก คือ ด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล “ผู้ประกอบอาชีพพริตตี้มีศักยภาพและแรงจูงใจมีผู้ติดตาม เป็นเหตุให้ถูกละเมิดข้อมูลส่วนตัวได้” รองลงมาได้แก่ ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้สร้างสรรค์ เรื่อง “ท่านคิดว่าการคุ้มครองสิทธิในการสร้างสรรค์มีประโยชน์ต่ออาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด การคุ้มครองสิทธิในเรื่องการสร้างสรรค์ เป็นการป้องกันการถูกละเมิดสิทธิได้” เรื่อง ด้านการคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ เรื่อง “ท่านเคยใช้สิทธิตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิในเรื่องของสุขภาพ รองลงมาคือ ท่านคิดว่าสังคมไทยในปัจจุบันมองอาชีพ พริตตี้ในเชิงลบเสี่ยงต่อสภาพจิตใจหรือปัญหาสุขภาพของอาชีพพริตตี้มากน้อยเพียงใด” ด้านการคุ้มครองสิทธิการถ่ายภาพ เรื่อง “อาชีพพริตตี้เป็นอาชีพเสี่ยงต่อการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ในการถ่ายภาพ เพราะลักษณะการทำงานและการแต่งตัวที่ล่อแหลม”และน้อยที่สุด ด้านการละเมิดสิทธิทางเพศ เรื่อง “กระแสวัตถุนิยมในสังคมไทยเป็นสาเหตุทำให้อาชีพพริตตี้ถูกละเมิดทางเพศโดยวิธีการหลายรูปแบบ
The objectives of this research are as follows: 1) to study opinions on the rights protection of pretty professionals, 2) to compare opinions on the rights protection of pretty professionals with different gender, age, education level, experience and income, and 3) to provide suggestions on problems and guidelines for the protection of pretty professionals. The quantitative and qualitative research methods were used in the study. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 11 pretty professionals, and the quantitative data were collected by questionnaires from 150 samples obtained by purposive sampling. The data were analyzed frequency distribution, Percentage, Mean; x ̅ Standard deviation s.D., T-test and F-test. The research found that: 1. The rights protection under the Act of Pretty Occupation in Bangkok in all 5 areas is at a high level. When considering each side in descending order of mean, the highest is on protection of personal rights, followed by protection of creators' rights, protection of rights in matters of health, protection of photography, and protection of rights in sexual violations respectively. 2. The results of a comparison of opinions on the protection of the rights of pretty professionals in Bangkok of respondents with different gender, age, education level, work experience and income are not different. 3. The suggestions with comments on Rights protection under the Act of Pretty Professionals in Bangkok can be summarized that: Most of the interviewees have consistent opinions and are on the protection of privacy. “Pretty professionals have potential and motivation. It can cause personal information to be violated. Followed by on the protection of the rights of creators, “How do you think protecting the rights to creativity has the benefit of pretty careers?, protection of the rights to creativity can prevent rights violations. On the protection of the rights in the area of health with the question “How vulnerable is pretty negative to the psychological or professional health problems?”, “Pretty is a career that is vulnerable to copyright infringement in photography because of their precarious behavior and dress, and minimal sexual rights violation: "Materialism in Thai society is the cause of the pretty career and the pretty professionals were sexually abused by many means.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษา ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม การวิจัยครั้งนี้ มีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระภิกษุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จำนวน 294 รูป เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปร ปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุกลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านการปกครองวัดแบบบูรณาการตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านการปกครองตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมาก และค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านการปกครองตามพระธรรมวินัยตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า พระภิกษุที่มี วุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพระภิกษุที่มีระดับ อายุ พรรษา และวุฒิการศึกษาทางโลก ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เห็นว่า เจ้าอาวาสเป็นผู้มีหน้าที่ปกครองบังคับบัญชา กำกับดูแล แนะนำสั่งสอนพระภิกษุสามเณรและฆราวาสผู้อยู่ในวัดให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยดีงามถูกต้องตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคมและจัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดี เป็นธุระในการศึกษาอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์ ให้ความสะดวกตามสมควรในการบำเพ็ญกุศล การบำรุงรักษาวัด การจัดกิจการของวัดตามหน้าที่ผู้ปกครองวัดและหน้าที่จัดกิจการแทนวัดในฐานะผู้แทนนิติบุคคล การดูแลรักษา การใช้จ่าย การจัดทรัพย์สินของวัด ทั้งส่วนที่เป็นศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนสมบัติของวัดที่ตนเป็นเจ้าอาวาส ให้เป็นไปด้วยดี และต้องปฏิบัติภารกิจของพระพุทธศาสนาซึ่งจะช่วยส่งเสริมทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองมั่นคงและช่วยสร้างศรัทธาของพุทธศาสนิกชนต่อพระพุทธศาสนา ดังนั้นเจ้าอาวาสจะต้องมีทั้งศาสตร์และศิลป์ในการบริหารและการจัดการ โดยเฉพาะภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสมีหน้าที่ในดูแล พระภิกษุ สามเณร ภายในวัดให้เกิดความเรียบร้อยดีงาม เจ้าอาวาสนอกจากจะมีความรู้ความ สามารถ มีบารมี และคุณธรรม มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีแล้ว จะต้องมีภาวะผู้นำที่มีประสิทธิภาพซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรม การปฏิบัติศาสนกิจของพระภิกษุสามเณร ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชายอมรับนับถือ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษา ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม การวิจัยครั้งนี้ มีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระภิกษุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จำนวน 294 รูป เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปร ปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุกลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านการปกครองวัดแบบบูรณาการตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านการปกครองตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมาก และค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดได้แก่ ด้านการปกครองตามพระธรรมวินัยตามหลักพรหมวิหาร อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า พระภิกษุที่มี วุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพระภิกษุที่มีระดับ อายุ พรรษา และวุฒิการศึกษาทางโลก ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการปกครองของเจ้าอาวาสตามหลักพรหมวิหาร 4 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เห็นว่า เจ้าอาวาสเป็นผู้มีหน้าที่ปกครองบังคับบัญชา กำกับดูแล แนะนำสั่งสอนพระภิกษุสามเณรและฆราวาสผู้อยู่ในวัดให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยดีงามถูกต้องตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคมและจัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดี เป็นธุระในการศึกษาอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์ ให้ความสะดวกตามสมควรในการบำเพ็ญกุศล การบำรุงรักษาวัด การจัดกิจการของวัดตามหน้าที่ผู้ปกครองวัดและหน้าที่จัดกิจการแทนวัดในฐานะผู้แทนนิติบุคคล การดูแลรักษา การใช้จ่าย การจัดทรัพย์สินของวัด ทั้งส่วนที่เป็นศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนสมบัติของวัดที่ตนเป็นเจ้าอาวาส ให้เป็นไปด้วยดี และต้องปฏิบัติภารกิจของพระพุทธศาสนาซึ่งจะช่วยส่งเสริมทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองมั่นคงและช่วยสร้างศรัทธาของพุทธศาสนิกชนต่อพระพุทธศาสนา ดังนั้นเจ้าอาวาสจะต้องมีทั้งศาสตร์และศิลป์ในการบริหารและการจัดการ โดยเฉพาะภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสมีหน้าที่ในดูแล พระภิกษุ สามเณร ภายในวัดให้เกิดความเรียบร้อยดีงาม เจ้าอาวาสนอกจากจะมีความรู้ความ สามารถ มีบารมี และคุณธรรม มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีแล้ว จะต้องมีภาวะผู้นำที่มีประสิทธิภาพซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรม การปฏิบัติศาสนกิจของพระภิกษุสามเณร ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชายอมรับนับถือ
โดยการนำหลักพรหมวิหารธรรมมาใช้เป็นแนวทางในการปกครอง เพื่อให้กิจการคณะสงฆ์ในด้านต่าง ๆ สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ซึ่งจะทำให้พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองถาวรมั่นคง เป็นศูนย์รวมทางจิตใจของพุทธศาสนิกชนชาวพุทธศาสนาสืบไป
The objectives of this research were: 1) to study the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province, 2) to compare the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province according to their ages, years in the monkhood and educational levels, and 3) to study the guidelines of the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province. The data were collected from 294 samples by questionnaire and interview forms and then analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and LSD. The results of the study showed that: 1) The opinion of the samples towards the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province was at a high level overall. In descending order, the highest level was on administration integrated with Brahmavihara Dhamma, followed by administration based on the Sangha Acts integrated with Brahmavihara Dhamma, and administration based on Dhamma and Vinaya integrated with Brahmavihara Dhamma respectively. 2) From the comparison, the samples with different levels in Dhamma study had different opinion levels towards the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province with a statistically significant figure at 0.05. But the samples with different ages, years in monkhood and general education levels showed levels of their opinions indifferently. 3) The guidelines of the administration based on Brahmavihara Dhamma of the abbots in Mueang district of Nakhon Pathom province indicate that the duty of the abbots is to administrate, govern, monitor, supervise, and teach and train monks, novices and lay-people according to Dhamma, Vinaya, law, rules, regulations and Sangha Acts. The abbots have to provide facilities to people in making merit, take care of religious properties and religious estate, and maintain faith and belief of Buddhists in Buddhism. The abbots have to use arts and sciences in their administration. They should also have knowledge, morality, virtues, human relations and leadership in administration. All these qualifications based on Brahmavihara Dhamma will result to the acceptance of their subordinates, achievement of the Buddhist affairs and the establishment of Buddhism in the long run.