Search results

5,166 results in 0.15s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2556
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2547
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ,2549
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ,2549
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลง และปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของชาวปกาเกอะญอบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนทั้งสิ้น ๓๐ ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพนี้ คือ แบบสอบถามปลายเปิด จำนวน ๔ ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์ ตอนที่ ๒ บริบทชุมชนบ้านแม่เหาะ ตอนที่ ๓ สภาพชีวิตของชุมชนบ้านแม่เหาะ และตอนที่ ๔ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนบ้านแม่เหาะ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ อ้างอิงเปรียบเทียบข้อมูลในเอกสารงานวิจัยอื่น ๆ ผลการวิจัยพบว่า: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีวิดีชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา ไม่ว่าจะเป็นในด้านปัจจัยภายในของสังคม และปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นจากกระแสของการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยใหม่ ซึ่งมีปัจจัยเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ ปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบต่อชุมชนบ้านแม่เหาะควบคู่กันไป เหตุที่เป็นดังนี้ก็เนื่องมากจากการที่ระบบทางสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชี่อมโยงกันอยู่ตลอดเวลาจึงทำให้ต้องการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลง และปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของชาวปกาเกอะญอบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนทั้งสิ้น ๓๐ ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพนี้ คือ แบบสอบถามปลายเปิด จำนวน ๔ ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์ ตอนที่ ๒ บริบทชุมชนบ้านแม่เหาะ ตอนที่ ๓ สภาพชีวิตของชุมชนบ้านแม่เหาะ และตอนที่ ๔ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนบ้านแม่เหาะ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ อ้างอิงเปรียบเทียบข้อมูลในเอกสารงานวิจัยอื่น ๆ ผลการวิจัยพบว่า: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีวิดีชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา ไม่ว่าจะเป็นในด้านปัจจัยภายในของสังคม และปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นจากกระแสของการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยใหม่ ซึ่งมีปัจจัยเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ ปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบต่อชุมชนบ้านแม่เหาะควบคู่กันไป เหตุที่เป็นดังนี้ก็เนื่องมากจากการที่ระบบทางสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชี่อมโยงกันอยู่ตลอดเวลาจึงทำให้ต้องการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
The objective of the Study of changes in the Karen Pagagayaw, Ban Mae Hoh Community, Mae Hoh Sub-District, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province is to study the history, changing and factors that cause changing of the Pagagayaw people in Ban Mae Hoh, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province. The population in this study is 30 cases living in Ban Mae Hoh community, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province. The qualitative research tools were 4 sections of open-ended questionnaires, consisted of part 1) general information about interviewees, part 2) about Ban Mae Hoh community, part 3) about life conditions in Ban Mae Hoh and part 4) the community factors that cause changes within the Ban Mae Hoh community. The data was analyzed from the interview and the study of previous research papers. The research found that: From the study of changes in the Karen Pagagayaw, Ban Mae Hoh Community, Mae Hoh Sub-District, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province, their way of life has different from the traditional practice in terms of internal factors like society and external factors arising from the current trend of changing according to the modern era for Ban. The important factor that results in the changes is both Internal and external factors. These factors will cause both positive and negative impacts to the Mae Hoh community in the same time. The reasons are that the social and cultural systems of human beings are constantly intertwined and therefore want to study the changes of the Karen Pagagayaw community, Ban Mae Hoh Community, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทฤษฎีญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค 3) เพื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา คัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560 - มิถุนายน 2561 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ล้วนเป็นสัจนิยม ที่เกี่ยวกับเรื่องความจริงเป็นหลัก และพบว่า บ่อเกิดของความรู้ มี 3 อย่าง คือ สุตะ-การศึกษา เล่าเรียน, จินตะ-การใคร่ครวญพิจารณา, และภาวนา-การทำให้เกิดขึ้น ทำให้มีขึ้นเจริญขึ้น เมื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค พบว่า มีอยู่ 4 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีเหตุผลนิยม จะใช้เพียงสุตะ การเรียนรู้ด้วย หรือจินตะ ใคร่ครวญ คงไม่อาจทำให้เข้าใจถึงธรรมชาติของจิตได้ 2) ทฤษฎีประจักษนิยม การนำเอาส่วนเดียวในสิกขา 3 ใช้มาเพื่อปฏิบัติถือเป็นทางที่ผิด 3) ทฤษฎีอนุมานนิยม บ่อเกิดของความรู้ 3 อย่าง คือ สุตะ จินตะและภาวนา 3 ส่วนนี้ทำให้ผลสมควรแก่เหตุ การกระทำตามขั้นตอนที่ถูก ผลที่หวังจึงจะสัมฤทธิ์ผล 4) ทฤษฎีอัชฌัตติกญาณนิยม ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ปัจจเวกขณญาณ เป็นญาณลำดับสุดท้ายของแต่ละอริยมรรค หรือญาณ 16 เป็นตัวตรวจสอบความว่าสังโยชน์ข้อใดขาดไปจากจิตสันดาน ยังเหลือกิจที่ยังต้องทำหรือไม่มีกิจอื่นที่ต้องทำ นี้จึงเป็นอัชฌัตติกญาณนิยม คือ ความรู้แจ้งภายใน
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทฤษฎีญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค 3) เพื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา คัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560 - มิถุนายน 2561 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ล้วนเป็นสัจนิยม ที่เกี่ยวกับเรื่องความจริงเป็นหลัก และพบว่า บ่อเกิดของความรู้ มี 3 อย่าง คือ สุตะ-การศึกษา เล่าเรียน, จินตะ-การใคร่ครวญพิจารณา, และภาวนา-การทำให้เกิดขึ้น ทำให้มีขึ้นเจริญขึ้น เมื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค พบว่า มีอยู่ 4 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีเหตุผลนิยม จะใช้เพียงสุตะ การเรียนรู้ด้วย หรือจินตะ ใคร่ครวญ คงไม่อาจทำให้เข้าใจถึงธรรมชาติของจิตได้ 2) ทฤษฎีประจักษนิยม การนำเอาส่วนเดียวในสิกขา 3 ใช้มาเพื่อปฏิบัติถือเป็นทางที่ผิด 3) ทฤษฎีอนุมานนิยม บ่อเกิดของความรู้ 3 อย่าง คือ สุตะ จินตะและภาวนา 3 ส่วนนี้ทำให้ผลสมควรแก่เหตุ การกระทำตามขั้นตอนที่ถูก ผลที่หวังจึงจะสัมฤทธิ์ผล 4) ทฤษฎีอัชฌัตติกญาณนิยม ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ปัจจเวกขณญาณ เป็นญาณลำดับสุดท้ายของแต่ละอริยมรรค หรือญาณ 16 เป็นตัวตรวจสอบความว่าสังโยชน์ข้อใดขาดไปจากจิตสันดาน ยังเหลือกิจที่ยังต้องทำหรือไม่มีกิจอื่นที่ต้องทำ นี้จึงเป็นอัชฌัตติกญาณนิยม คือ ความรู้แจ้งภายใน
The thesis served its specific purposes: 1) to study a theory on epistemology in Theravada Buddhist philosophy, 3) to pursue epistemology in Visuddhi Magga scripture, and 3) to analyze its essences in the scripture. The sampling groups comprised: The Tipitaka, commentaries, the target scripture, treatises and relevant research undertakings. It was derived from the qualitative methodology, the documentary research. Data were collected between October, B.E. 2560 and June, B.E. 2561. With these data, their essences were analyzed and inductive summaries constructed. Results of the research have found the following findings.: Epistemology in Theravada Buddhist philosophy is entire realism. It has found sources of knowledge with three types: 1) Suta, learning/hearing, 2) Cinta, active thoughts, 3) Bhavana, development, to make something happen/prosper. Upon analyzing types in the target scripture, they have found four theories: 1) Rationalism, it uses only learning or hearing (suta) or active thought (cinta); it may not have ones understand the nature of mind. 2) Empiricism, the introduction of one part of threefold trainings into practical uses is regarded as the wrong way. 3) Inductivism, its three sources of knowledge are: i) learning or hearing, ii) active thoughts, and iii) development. These elements make results fit causes. They are right acts. Expected outcomes can be achieved. 4) Internalism, knowledge emerges in mind. Knowledge of reviewing (paccavekkhana-nana) is the last insight of Noble Paths. It is the inspector to find whether or not any fetter is disappeared from the mind. Is there any task done or not done. The knowledge is internalism, internal clear knowledge.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตตามหลักสัมมาอาชีวะในทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบทั้งทางกายและทางวาจา ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม 2) การครอบครองรักษาที่ดี ตามหลักการออมทรัพย์ทางพระพุทธศาสนาหรือหลักโภควิภาค 4 ได้แก่ ทรัพย์หนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ใช้สอยเลี้ยงชีพ ทรัพย์สองส่วน (50 %) ออมไว้ประกอบอาชีพและทรัพย์อีกหนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ในยามจำเป็นและใช้ทำบุญ 3) การบริโภคใช้จ่ายอย่างถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียง โดยให้ความสำคัญด้านคุณค่ามากกว่ามูลค่า และเน้นคุณประโยชน์มากกว่าความคุ้มทุน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองแก่ผู้อื่นและแก่สังคม สัมมาอาชีวะเป็นหลักการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคคลทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ อีกทั้งเกิดคุณค่าต่อการพัฒนาปัญญาให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต และยังมีคุณค่าต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบุญกิริยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการเกื้อหนุนและส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อื่น และมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมส่วนรวมทั้งด้านการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบจริยธรรมทางสังคมด้านอื่น ๆ ให้เข้มแข็งและมั่นคง ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดความสุขมวลรวมของคนในสังคมมากยิ่งขึ้น
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตตามหลักสัมมาอาชีวะในทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบทั้งทางกายและทางวาจา ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม 2) การครอบครองรักษาที่ดี ตามหลักการออมทรัพย์ทางพระพุทธศาสนาหรือหลักโภควิภาค 4 ได้แก่ ทรัพย์หนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ใช้สอยเลี้ยงชีพ ทรัพย์สองส่วน (50 %) ออมไว้ประกอบอาชีพและทรัพย์อีกหนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ในยามจำเป็นและใช้ทำบุญ 3) การบริโภคใช้จ่ายอย่างถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียง โดยให้ความสำคัญด้านคุณค่ามากกว่ามูลค่า และเน้นคุณประโยชน์มากกว่าความคุ้มทุน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองแก่ผู้อื่นและแก่สังคม สัมมาอาชีวะเป็นหลักการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคคลทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ อีกทั้งเกิดคุณค่าต่อการพัฒนาปัญญาให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต และยังมีคุณค่าต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบุญกิริยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการเกื้อหนุนและส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อื่น และมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมส่วนรวมทั้งด้านการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบจริยธรรมทางสังคมด้านอื่น ๆ ให้เข้มแข็งและมั่นคง ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดความสุขมวลรวมของคนในสังคมมากยิ่งขึ้น
The thesis served its specific purposes: 1) to study the way of leading one’s life in Theravada philosophy, 2) to examine Right Livelihood in Noble Eightfold Paths following Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze the way of leading one’s life with Right Livelihood as such. As the documentary research, it was derived from the qualitative methodology. Data were studied out of The Tipitaka, commentaries, books and relevant research undertakings, collected between October B.E. 2560 and June B.E. 2561. Findings are the followings: Ways of leading one’s life following the principle of right livelihood in Buddhism is composed of two aspects. The first aspect is seeking for leading one’s life with physical, verbal, legal and moral decency. Another aspect is good possession and economy spending of incomes following criteria of four good divisions in Buddhism. One portion of incomes is provided for feeding family, accounting for 25 %. Two portions making up 50 % are allocated for doing careers. One portion is kept for saving in the rainy days and making merits. The further aspect is proper and sufficient consumption, placing more importance in true values than face values, putting more emphasis on benefits than cost effectiveness, with the aims for benefits of their own, others’ and society. Analyses of right livelihood have found that it has been treated as the foundation stone of leading one’s life with moral values for developing individual life in physical, verbal and mental channels. It creates values towards developing wisdom to logically think of leading one’s life and making great contribution to accumulating much more merits. In addition, leading one’s life following right livelihood still have moral values for assistance and support of others’ life. All in all, it also has values for developing society in common in governmental, political, economic area, including the support of developing the moral system of society to be strong and stable, which will lead to the target giving rise to the mass happiness of members in the society
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558