Search results

143 results in 0.16s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาสันติภาพในพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) ศึกษาหลักเมตตาในพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) ศึกษาการสร้างสันติภาพในสังคมด้วยหลักเมตตาในพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นวิจัยทางด้านเอกสาร โดยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก หนังสือ เอกสาร ผลงานวิจัยของนักวิชาการ ตลอดจนผลงานของผู้รู้ในทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้อง นำเนื้อหามาวิเคราะห์ แล้วนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ในพุทธปรัชญาเถรวาท สันติภาพ หมายถึง การที่จิตใจสงบหลุดพ้นแล้วจากกิเลสตัณหา เป็นสภาพจิตใจที่บรรลุถึงพระนิพพาน สันติภาพในพุทธปรัชญาเถรวาท แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ (๑) สันติภาพภายใน คือสภาพจิตใจที่เป็นอิสระจากความคิด หรืออารมณ์ ด้วยการปฏิบัติตามมัชฌิมาปฏิปทา หรือมรรค ๘ เพื่อบรรลุถึงสันติภายในจิตใจที่เป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต คือ นิพพาน (๒) สันติภาพภายนอก คือสภาวะที่บุคคล สังคม ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ไม่ฆ่าหรือทำร้ายร่างกายของกันและกัน ด้วยการปฏิบัติตามหลักเบญจศีลเบญจธรรม และกุศลกรรมบถ เพื่อทำให้กาย วาจาสงบ ดังนั้นสันติภาพภายในกับสันติภาพภายนอก จึงแยกกันไม่ออกต้องพัฒนาไปพร้อมๆ กัน เมตตา คือ ความรักสรรพสัตว์อย่างไม่มีขอบเขต เมตตาเป็นหลักธรรมที่สำคัญในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ เป็นพื้นฐานของการควบคุมความประพฤติของมนุษย์ ให้มีความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน ไม่ ให้เบียดเบียนกันทำให้มนุษย์และสัตว์ทั้งปวงอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ด้วยการปฏิบัติเมตตามโนกรรม คือจะคิดสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้คิดด้วยเมตตา เมตตาวจีกรรม คือจะพูดจาสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้พูดจาด้วยเมตตา และเมตตากายกรรม คือจะกระทำการสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้กระทำด้วยเมตตา ดังนั้นการมีเมตตาอยู่ในจิตใจ จึงเปรียบเสมือนการทำความดีทั้งปวง ด้วยกาย วาจา ใจ มโนกรรมเป็นกรรมที่สำคัญที่สุดในการกำหนดการกระทำทั้งหมดของมนุษย์ เพราะเป็นจุด เริ่มต้นของกายกรรมและวจีกรรม การเจริญเมตตาจัดเป็นการปฏิบัติศาสนธรรมที่สำคัญต่อการเสริม สร้างสันติภาพ ๑) ในระดับบุคคล ได้แก่ การใช้หลักเมตตาในเบญจธรรม เบญจธรรม เป็นธรรมที่ดี สะอาด เพราะกำจัดธรรมที่ไม่สะอาด คือ โทสะ เป็นคุณธรรมคู่กับเบญจศีล เบญจศีลเป็นข้อที่ควรงดเว้น ส่วนเบญจธรรมเป็นข้อควรปฏิบัติที่ก่อให้เกิดความความเรียบร้อยด้านกายกรรมและวจีกรรม ทำให้บุคคลอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ๒) ในระดับสังคม ได้แก่ การใช้หลักเมตตาในพรหมวิหารธรรม เป็นคุณธรรมที่เกิดขึ้นภายในชีวิตจิตใจ หรือที่เรียกว่า มโนกรรม ทำให้ประชาชนในชุมชนมีความรัก ความปรารถนาดีต่อกัน รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตนได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์เช่นพระพรหม เป็นคุณธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างสันติสุข ความสัมพันธ์ระหว่างการสร้างสันติภาพในตัวบุคคลจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่จะนำไปสู่การสร้างสันติภาพในสังคมอย่างแท้จริง
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาสันติภาพในพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) ศึกษาหลักเมตตาในพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) ศึกษาการสร้างสันติภาพในสังคมด้วยหลักเมตตาในพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นวิจัยทางด้านเอกสาร โดยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก หนังสือ เอกสาร ผลงานวิจัยของนักวิชาการ ตลอดจนผลงานของผู้รู้ในทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้อง นำเนื้อหามาวิเคราะห์ แล้วนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ในพุทธปรัชญาเถรวาท สันติภาพ หมายถึง การที่จิตใจสงบหลุดพ้นแล้วจากกิเลสตัณหา เป็นสภาพจิตใจที่บรรลุถึงพระนิพพาน สันติภาพในพุทธปรัชญาเถรวาท แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ (๑) สันติภาพภายใน คือสภาพจิตใจที่เป็นอิสระจากความคิด หรืออารมณ์ ด้วยการปฏิบัติตามมัชฌิมาปฏิปทา หรือมรรค ๘ เพื่อบรรลุถึงสันติภายในจิตใจที่เป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต คือ นิพพาน (๒) สันติภาพภายนอก คือสภาวะที่บุคคล สังคม ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ไม่ฆ่าหรือทำร้ายร่างกายของกันและกัน ด้วยการปฏิบัติตามหลักเบญจศีลเบญจธรรม และกุศลกรรมบถ เพื่อทำให้กาย วาจาสงบ ดังนั้นสันติภาพภายในกับสันติภาพภายนอก จึงแยกกันไม่ออกต้องพัฒนาไปพร้อมๆ กัน เมตตา คือ ความรักสรรพสัตว์อย่างไม่มีขอบเขต เมตตาเป็นหลักธรรมที่สำคัญในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ เป็นพื้นฐานของการควบคุมความประพฤติของมนุษย์ ให้มีความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน ไม่ ให้เบียดเบียนกันทำให้มนุษย์และสัตว์ทั้งปวงอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ด้วยการปฏิบัติเมตตามโนกรรม คือจะคิดสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้คิดด้วยเมตตา เมตตาวจีกรรม คือจะพูดจาสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้พูดจาด้วยเมตตา และเมตตากายกรรม คือจะกระทำการสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้กระทำด้วยเมตตา ดังนั้นการมีเมตตาอยู่ในจิตใจ จึงเปรียบเสมือนการทำความดีทั้งปวง ด้วยกาย วาจา ใจ มโนกรรมเป็นกรรมที่สำคัญที่สุดในการกำหนดการกระทำทั้งหมดของมนุษย์ เพราะเป็นจุด เริ่มต้นของกายกรรมและวจีกรรม การเจริญเมตตาจัดเป็นการปฏิบัติศาสนธรรมที่สำคัญต่อการเสริม สร้างสันติภาพ ๑) ในระดับบุคคล ได้แก่ การใช้หลักเมตตาในเบญจธรรม เบญจธรรม เป็นธรรมที่ดี สะอาด เพราะกำจัดธรรมที่ไม่สะอาด คือ โทสะ เป็นคุณธรรมคู่กับเบญจศีล เบญจศีลเป็นข้อที่ควรงดเว้น ส่วนเบญจธรรมเป็นข้อควรปฏิบัติที่ก่อให้เกิดความความเรียบร้อยด้านกายกรรมและวจีกรรม ทำให้บุคคลอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ๒) ในระดับสังคม ได้แก่ การใช้หลักเมตตาในพรหมวิหารธรรม เป็นคุณธรรมที่เกิดขึ้นภายในชีวิตจิตใจ หรือที่เรียกว่า มโนกรรม ทำให้ประชาชนในชุมชนมีความรัก ความปรารถนาดีต่อกัน รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตนได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์เช่นพระพรหม เป็นคุณธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างสันติสุข ความสัมพันธ์ระหว่างการสร้างสันติภาพในตัวบุคคลจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่จะนำไปสู่การสร้างสันติภาพในสังคมอย่างแท้จริง
The objectives of this thesis were as follows: 1) To study of peace formation in Theravada Buddhist philosophy, 2) To study the principle of metta in Theravada Buddhist philosophy, and 3) To study of peace formation in social by metta’s principle in Theravada buddhist philosophy. This was qualitative research collecting the data from the Tipitaka, documents and research works. The data were analyzed and the presented in a descriptive method. The results of the research were found as follows: In Theravada buddhist philosophy, peace mean the mind is calm are free from already defilements craving. This mind condition to attainment at Nibbana. The peace in Theravada Buddhist philosophy, distribute 2 kind is 1) Inner peace is a mental condition free from thought or emotion with the way middle path practice or the path 8. That attainment of ultimate peace of mind in the goal of life viz Nibbana. 2) Outer peace was the condition that a person, social, do not exploit each other. do not kill or injure of one another, with practice the five precepts, the five ennobling virtues and Wholesome course of action for make the body, the speech is calm. Thus the Inner peace with Outer peace, then separate don't go out must develop go to at the same time. Metta (loving-kindness) is aboundless love for all fellow beings. Metta is the essential principle in Theravada buddhist philosophy to control behavior of the human beings which makes ones to be generous, no injury to each other, the human beings and sentient being to stay together happily and to make peace for social. Metta behavior for Metta Manokamma (mental action) be will think an anything assembles an anything , think with be loving-kindness, Metta Vacakamma (verbal action) be will talk an anything assembles an anything, talk with be loving-kindness, Metta Kayakamma (bodily action) be will do an anything assembles an anything , do with be loving-kindness. Thus having loving-kindness is in the mind, Then compared as doing goodness whole, with a body, word and mind. Manokamma is an essential principle kamma in Buddhism for point action of all human beings because it’s begin of verbal action and bodily action. The practice of metta or loving-kindness is an essential part of the religious training necessary for the promotion of peace. 1) Individual level such as Metta’s principle in Pancadhamma meaning the goodness and the virtues as the means to eradicate Dosa. Five precepts and Pancadhamma are the pairs of each other. Five precepts is the factor for refraining and Pancadhamma is the factor for practicing both of which cause of verbal action and bodily action to the peace. (2) Social Level such as Metta’s principle in Brahmaviharadhamma, the virtues as the means to inside mind or Mettamanokamma in their life, and make people in the community to have the love, the goodwill to each other. There should listen the other’s opinions and should encourage to behave for excellent existence living and being guiltless person as Brahma. That will be virtues to live with one another peace. The relation between building peace will in a person then basically important base to will bring about to building peace in the social actually.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2542
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2542
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2549
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2549
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    Abstract : การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดย ใช้โครงงานเป็นฐาน 2) ปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน และ 3) เสนอแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย เป็นครูจำนวน 5 คนและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 26 คน โรงเรียน อนุบาลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2560 โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน นำ หลักอริยสัจ 4 มาใช้เป็นขั้นตอนกระบวนการเรียนการสอนในวิชาโครงงานโดยใช้หลักเหตุผล ขั้นที่ หนึ่งคือทุกข์ กำหนดปัญหา ขั้นที่สองคือสมุทัย ตั้งสมมุติฐาน ขั้นที่สามคือนิโรธ วิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ ทดสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ขั้นที่สี่คือมรรค สรุปการแก้ปัญหา (2) ปัญหาพบว่า นักเรียนเกิดความ ท้อแท้ในการทำโครงงาน ไม่นำหลักอริยสัจ 4 มาใช้แก้ปัญหา ครูมีความรู้ความสามารถด้านการ จัดการเรียนรู้น้อย ไม่เข้าใจบทบาทของผู้สอนที่เป็นผู้อ านวยความสะดวก ครูไม่เข้าใจกระบวนการ ของการพัฒนาหลักสูตร (3) แนวทางการแก้ไขปัญหา นักเรียน ควรท ากิจกรรมจิตศึกษาก่อนเรียน เพื่อให้มีสมาธิและสมองตื่นตัวพร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างบรรยากาศการเรียนให้สนุกสนาน แนวทาง แก้ปัญหาครู คือจัดอบรมครูเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบอริยสัจ 4 และโครงงาน ศึกษาดูงาน โรงเรียนต้นแบบ ส าหรับแนวทางแก้ปัญหาหลักสูตร ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการจัดทำ หลักสูตร ประเมินผลอย่างเป็นระบบ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาครู
Abstract : การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดย ใช้โครงงานเป็นฐาน 2) ปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน และ 3) เสนอแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย เป็นครูจำนวน 5 คนและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 26 คน โรงเรียน อนุบาลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2560 โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน นำ หลักอริยสัจ 4 มาใช้เป็นขั้นตอนกระบวนการเรียนการสอนในวิชาโครงงานโดยใช้หลักเหตุผล ขั้นที่ หนึ่งคือทุกข์ กำหนดปัญหา ขั้นที่สองคือสมุทัย ตั้งสมมุติฐาน ขั้นที่สามคือนิโรธ วิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ ทดสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ขั้นที่สี่คือมรรค สรุปการแก้ปัญหา (2) ปัญหาพบว่า นักเรียนเกิดความ ท้อแท้ในการทำโครงงาน ไม่นำหลักอริยสัจ 4 มาใช้แก้ปัญหา ครูมีความรู้ความสามารถด้านการ จัดการเรียนรู้น้อย ไม่เข้าใจบทบาทของผู้สอนที่เป็นผู้อ านวยความสะดวก ครูไม่เข้าใจกระบวนการ ของการพัฒนาหลักสูตร (3) แนวทางการแก้ไขปัญหา นักเรียน ควรท ากิจกรรมจิตศึกษาก่อนเรียน เพื่อให้มีสมาธิและสมองตื่นตัวพร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างบรรยากาศการเรียนให้สนุกสนาน แนวทาง แก้ปัญหาครู คือจัดอบรมครูเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบอริยสัจ 4 และโครงงาน ศึกษาดูงาน โรงเรียนต้นแบบ ส าหรับแนวทางแก้ปัญหาหลักสูตร ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการจัดทำ หลักสูตร ประเมินผลอย่างเป็นระบบ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาครู
Abstract : The objectives of this research were to study (1) condition of learning management based on the Four Noble Truths by using work project; (2) problems learning management based on the Four Noble Truths by using work project; and (3) approaches solution for learning management based on the Four Noble Truths by using work project. The sample of this research included 5 teachers and 26 students from prathomsuka 6 in academic year 2017, Nongpakrang kindergarten school, Mueang district, Chiang Mai province. The data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that 1) learning management based on the Four Noble Truths by using work project applied the Four Noble Truths as learning processes in work project by theoretical reasoning, that is, the first step as the Truth of Suffering by determining the problems, the second step as the Truth of the Origin of Suffering by setting hypothesis, the third step as the Truth of the Path to Cessation of Suffering by finding ways and means to test the hypothesis that had been set and the forth step as the Truth of the Cessation of Suffering by summarizing the solutions., 2) the problems showed that the students were disheartened and exhausted in doing the work project because they could not use the Four Noble Truths to solve the problems. The teachers had little knowledge to manage the learning. They could not understand the roles of teachers as facilitators and they did not understand the process of curriculum development., and 3) the guidelines for solution of the problems were that the students should do contemplative education before learning to have concentration and active brain ready for new learning and they should create a positive atmosphere in class. The guidelines for teachers' problem solution were that the teachers should be trained on the management of learning based on the Four Noble Truths and work project and provided with a study tour to the prototype school. Regarding the solution to curriculum problems, all parties were concerned to participate in curriculum preparation, systematic evaluation and teacher development.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาหลักสาราณียธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท, ๒) เพื่อศึกษาความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท, และ ๓) เพื่อศึกษาหลักสาราณียธรรมเพื่อลดความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท โดยใช้วิธีวิจัยเอกสาร คือ ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และตำราอื่นๆ ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า สารณียธรรม ธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกันเป็นธรรมที่มีอุปการะมาก ทำให้เป็นที่รัก ทำให้เป็นที่เคารพ เป็นไปเพื่อความสงเคราะห์กัน เพื่อความไม่วิวาทกัน เพื่อความสามัคคีกัน เพื่อความเป็นอันเดียวกัน ความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึง การประทุษร้ายทางร่างกาย วาจา และทางจิตใจ ทั้งแก่ตนเองและบุคคลอื่นทีมีผลเป็นความทุกข์ความเดือดร้อน ความรุนแรงที่เกิดขึ้นมีอยู่ ๓ ระดับ คือ ความรุนแรงระดับเบา ระดับกลาง และระดับหนัก ส่วนสาเหตุของความรุนแรงเกิดจากต้นตอหรือรากเหง้าของกิเลสที่เรียกว่า อกุศลมูล คือ ราคะ โทสะ โมหะ ที่เป็นเหตุให้เกิดความทุกข์ ความเดือดร้อน หลักสาราณียธรรมเพื่อลดความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า หลักสาราณียธรรม ๖ คือ ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง ธรรมเป็นเหตุที่ระลึกถึงกันหลักการอยู่ร่วมกันเป็นไปเพื่อความสงเคราะห์ ความกลมกลืนเข้าหากัน เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความสามัคคีและเอกภาพความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาหลักสาราณียธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท, ๒) เพื่อศึกษาความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท, และ ๓) เพื่อศึกษาหลักสาราณียธรรมเพื่อลดความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท โดยใช้วิธีวิจัยเอกสาร คือ ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และตำราอื่นๆ ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า สารณียธรรม ธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกันเป็นธรรมที่มีอุปการะมาก ทำให้เป็นที่รัก ทำให้เป็นที่เคารพ เป็นไปเพื่อความสงเคราะห์กัน เพื่อความไม่วิวาทกัน เพื่อความสามัคคีกัน เพื่อความเป็นอันเดียวกัน ความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึง การประทุษร้ายทางร่างกาย วาจา และทางจิตใจ ทั้งแก่ตนเองและบุคคลอื่นทีมีผลเป็นความทุกข์ความเดือดร้อน ความรุนแรงที่เกิดขึ้นมีอยู่ ๓ ระดับ คือ ความรุนแรงระดับเบา ระดับกลาง และระดับหนัก ส่วนสาเหตุของความรุนแรงเกิดจากต้นตอหรือรากเหง้าของกิเลสที่เรียกว่า อกุศลมูล คือ ราคะ โทสะ โมหะ ที่เป็นเหตุให้เกิดความทุกข์ ความเดือดร้อน หลักสาราณียธรรมเพื่อลดความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า หลักสาราณียธรรม ๖ คือ ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง ธรรมเป็นเหตุที่ระลึกถึงกันหลักการอยู่ร่วมกันเป็นไปเพื่อความสงเคราะห์ ความกลมกลืนเข้าหากัน เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความสามัคคีและเอกภาพความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
This thesis serves the purposes: 1) to study the states of conciliation in Theravada Buddhist philosophy, 2) to study violence in Theravada Buddhist Philosophy, and 3) to study the states of conciliation for alleviate violence in Theravada Buddhist philosophy. It has been carried out with qualitative research methodology, of which its sources include The Tipitaka, relevant researches and other texts to supplement it. The results of the research were found that: Fairness refers to fairness as a cause for commendation. Make love Make a respect is for the welfare for no strife to unity for the same integrity. Violence in Theravada Buddhist philosophy refers to physical, verbal, and psychological harms both to oneself and to others as a result of suffering. There are three levels of violence: lighter intensity Intermediate and heavy. The cause of the violence is caused by the origin or the root of the passion, which is called sensuality, i.e., sensuality, anger, rationality that causes suffering. The main principle of sustenance to reduce violence in Theravada Buddhist philosophy is that the principle of the states of conciliation 6 is the place of remembrance. Dhamma is a remembrance of the principle of coexistence for the welfare. Harmony is for brawling for unity.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2545
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2545