Search results

362 results in 0.24s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาการเรียนรู้พระพุทธศาสนากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551, 2. เพื่อศึกษาสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามทัศนะของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2, และ 3. เพื่อวิเคราะห์สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามทัศนะของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2, การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และคุณภาพซึ้งเน้นการวิจัยทางเอกสารโดยศึกษาจากพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐและจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยปรากฏว่า ความหมายและความสำคัญของหลักสูตรมีความสำคัญมากต่อการเรียนการสอนความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ทำให้ทราบความสำคัญและความจำเป็นที่เราจะต้องศึกษาให้เข้าใจ และฝึกการใช้ให้ชำนาญตามหลักการของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะการศึกษาพุทธวิธีการสอนตามแนวทางในพระไตรปิฎกนั้น สามารถนำไปเป็นความรู้และแนวทางในการศึกษาวิเคราะห์ทัศนะของครูผู้สอน เกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 2 เพื่อที่จะเป็นข้อสารสนเทศนำไปปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา ทำให้บุคคลเกิดการพัฒนาทุกด้าน คือ ทำให้เกิดความเจริญความดีงามและความถูกต้อง หรืออาจเรียกได้ว่ามีความเจริญงอกงามในด้านความคิด ความรู้ ความชำนาญ อารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ทำให้มนุษย์เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีการพัฒนาทุกด้าน คือ ทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ไม่มีโรค และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพ เมื่อมนุษย์ได้รับการพัฒนา ย่อมส่งผลถึงการพัฒนาสังคมทั้งในระดับประเทศและระดับสากล สรุปผลการเปรียบเทียบทัศนะคติของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ด้านความเหมาะสมของหลักสูตร โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง, ด้านความรู้สึกและการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง, และด้านแนวโน้มพฤติกรรมการนำไปสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทัศนะคติของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนเพศชายกับครูผู้สอนเพศหญิง โดยส่วนรวมและรายด้านทุก ๆ ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนเพศชายมีทัศนะคติถูกต้องน้อยกว่าครูผู้สอนเพศหญิง ทัศนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนที่มีสถานภาพโสดกับครูผู้สอนที่มีสถานภาพสมรส โดยส่วนรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนที่มีสถานภาพโสดมีทัศนะคติน้อยกว่าครูผู้สอนที่มีสถานภาพสมรส, ทัศนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี กับครูผู้สอนที่มีอายุ 41 ปีขึ้นไป โดยส่วนรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี มีทัศนะคติน้อยกว่าครูผู้สอนที่มีอายุ 41 ปีขึ้นไป
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาการเรียนรู้พระพุทธศาสนากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551, 2. เพื่อศึกษาสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามทัศนะของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2, และ 3. เพื่อวิเคราะห์สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามทัศนะของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2, การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และคุณภาพซึ้งเน้นการวิจัยทางเอกสารโดยศึกษาจากพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐและจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยปรากฏว่า ความหมายและความสำคัญของหลักสูตรมีความสำคัญมากต่อการเรียนการสอนความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ทำให้ทราบความสำคัญและความจำเป็นที่เราจะต้องศึกษาให้เข้าใจ และฝึกการใช้ให้ชำนาญตามหลักการของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะการศึกษาพุทธวิธีการสอนตามแนวทางในพระไตรปิฎกนั้น สามารถนำไปเป็นความรู้และแนวทางในการศึกษาวิเคราะห์ทัศนะของครูผู้สอน เกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 2 เพื่อที่จะเป็นข้อสารสนเทศนำไปปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา ทำให้บุคคลเกิดการพัฒนาทุกด้าน คือ ทำให้เกิดความเจริญความดีงามและความถูกต้อง หรืออาจเรียกได้ว่ามีความเจริญงอกงามในด้านความคิด ความรู้ ความชำนาญ อารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ทำให้มนุษย์เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีการพัฒนาทุกด้าน คือ ทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ไม่มีโรค และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพ เมื่อมนุษย์ได้รับการพัฒนา ย่อมส่งผลถึงการพัฒนาสังคมทั้งในระดับประเทศและระดับสากล สรุปผลการเปรียบเทียบทัศนะคติของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ด้านความเหมาะสมของหลักสูตร โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง, ด้านความรู้สึกและการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง, และด้านแนวโน้มพฤติกรรมการนำไปสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทัศนะคติของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนเพศชายกับครูผู้สอนเพศหญิง โดยส่วนรวมและรายด้านทุก ๆ ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนเพศชายมีทัศนะคติถูกต้องน้อยกว่าครูผู้สอนเพศหญิง ทัศนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนที่มีสถานภาพโสดกับครูผู้สอนที่มีสถานภาพสมรส โดยส่วนรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนที่มีสถานภาพโสดมีทัศนะคติน้อยกว่าครูผู้สอนที่มีสถานภาพสมรส, ทัศนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี กับครูผู้สอนที่มีอายุ 41 ปีขึ้นไป โดยส่วนรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี มีทัศนะคติน้อยกว่าครูผู้สอนที่มีอายุ 41 ปีขึ้นไป
This research has the following objectives: 1. To study the learning Buddhism. Learning social studies Religion and Culture According to the Core Curriculum for Basic Education Curriculum 2551 2. To study the perceptions of teachers learning Buddhism. Learning social studies 3. religions and cultures and to compare perceptions of teacher learning Buddhism. Learning social studies Religion and Culture Primary Educational Service Area Office 2 Sarakham district. This research is a qualitative and quantitative research which focuses on research papers the study of the Holy tipitaka of siam’s Scriptures Siamrath. the documents and related research results appear. The meaning and importance of the course. about Buddhism and learning of Buddhism. learning social studies Religion and Culture Curriculum for Basic Education Act of 2551 makes note of importance. And the need that we have to learn to understand and practice the principles of Buddhism practiced by the Buddhist teaching. According to the Holy Scriptures Able to educate and guide the study analyzes perceptions of teachers about learning Buddhism. In elementary schools in the office area, elementary District 2 University to become an information technology to improve educational programs makes the development of all aspects. Is causing a boom and decency, accuracy or could be called a growth in terms of knowledge, expertise emotions of human beings as a perfect man. The development of all aspects of the body healthy. No disease and can perform quality. When a human being developed will result in the development of society, both nationally and internationally. Results comparing the attitudes of teachers about learning Buddhism and the appropriateness of the course. Overall is moderate Emotional and psychological changes. Overall, the outlook is moderate and its teaching behavior. Overall at a low level Attitudes of teachers about learning Buddhism between male teachers and female teachers as a whole and individual aspects. Different aspects statistically significant at the .05 level. The teachers are male attitude was more female teachers, teachers' attitudes about learning Buddhism. The teachers who are single. The teachers were married by the collective and individual aspects of each. The difference was statistically significant at the .05 level. The teacher attitude, single, married, older teachers, teachers' attitudes about learning Buddhism. Teachers aged between 20-40 years with a teacher aged 41 years and over as a whole and all its aspects. The difference was statistically significant at the.05 level. The teachers are aged between 20-40 years, with attitudes than teachers older 41 years and over.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2539
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2539
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) ศาสนาเปรียบเทียบ--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) ศาสนาเปรียบเทียบ--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2545
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2545
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ตอนที่ 1 พระพุทธศาสนาในประเทศจีนสมัยแรก
  • ตอนที่ 2 พระพุทธศาสนาในราชวงศ์ถัง
  • ตอนที่ 3 สถาบันสงฆ์
  • ตอนที่ 4 วัดในพระพุทธศาสนาและพระพุทธศาสนาระดับชาวบ้าน
  • ตอนที่ 5 งานฉลองต่าง ๆ
  • ตอนที่ 6 การศึกษาทางศาสนา
  • ตอนที่ 7 นิกายสำคัญต่าง ๆ ในประเทศจีน
  • ตอนที่ 8 ความเสื่อมแห่งพุทธศาสนาในประเทศจีน
  • ตอนที่ 9 การเปลี่ยนแปลงของพระพุทธศาสนาในราชวงศ์สกุลสูง
  • ตอนที่ 10 พระไตรปิฎกจีน
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ภาค 1 พระไตรปิฎก : สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
  • ภาค 2 วินัยชาวพุทธ
  • ภาค 3 ข้อเขียนและบทแปลที่เกี่ยวข้อง
  • กาค 4 การแปลเชิงวิชาการ
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    สิ่งพิมพ์ สกศ. 75/2548
สิ่งพิมพ์ สกศ. 75/2548
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1.) เพื่อศึกษาอุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล 2.) เพื่อศึกษาการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาของอุบาสกอุบาสิกา 3.) เพื่อนำเสนอแนวทางการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในปัจจุบันตามแนวทางอุบาสก อุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำรา เอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนรวม 8 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า : อุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล หมายถึงผู้ที่เข้าถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะสูงสุด เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ศีล จาคะ และปัญญา มีจิตใจแน่วแน่มั่นคงในพระพุทธศาสนา ได้ทำหน้าที่ตามคุณสมบัติของอุบาสกอุบาสิกาได้อย่างสมบูรณ์ยิ่ง จนได้รับเอตทัคคะจากพระพุทธเจ้า เช่น อนาถบิณฑิกเศรษฐี ได้รับยกย่องให้เป็นอุบาสกผู้เป็นเลิศในการเป็นผู้ถวายทาน และนางวิสาขามหาอุบาสิกา ได้รับยกย่องให้เป็นทายิกาในฝ่ายอุบาสิกา เป็นต้น ด้านการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาของอุบาสกอุบาสิกา พบว่า ยังมีการทำหน้าที่ของอุบาสกอุบาสิกาได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาด้านวัตถุจะเป็นผลประจักษ์มากกว่าด้านการศึกษาหลักธรรมและน้อมนำมาประพฤติปฏิบัติในการดำรงชีวิตอย่างจริงจัง ส่วนแนวทางการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในปัจจุบันตามแนวทางอุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาลนั้น พบว่ามี 4 ด้าน คือ 1) ด้านการศึกษาหลักธรรมคำสอน 2) ด้านการปฏิบัติตามหลักคำสอน 3) ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และ 4) ด้านการปกป้องพระพุทธศาสนา
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1.) เพื่อศึกษาอุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล 2.) เพื่อศึกษาการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาของอุบาสกอุบาสิกา 3.) เพื่อนำเสนอแนวทางการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในปัจจุบันตามแนวทางอุบาสก อุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำรา เอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนรวม 8 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า : อุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล หมายถึงผู้ที่เข้าถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะสูงสุด เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ศีล จาคะ และปัญญา มีจิตใจแน่วแน่มั่นคงในพระพุทธศาสนา ได้ทำหน้าที่ตามคุณสมบัติของอุบาสกอุบาสิกาได้อย่างสมบูรณ์ยิ่ง จนได้รับเอตทัคคะจากพระพุทธเจ้า เช่น อนาถบิณฑิกเศรษฐี ได้รับยกย่องให้เป็นอุบาสกผู้เป็นเลิศในการเป็นผู้ถวายทาน และนางวิสาขามหาอุบาสิกา ได้รับยกย่องให้เป็นทายิกาในฝ่ายอุบาสิกา เป็นต้น ด้านการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาของอุบาสกอุบาสิกา พบว่า ยังมีการทำหน้าที่ของอุบาสกอุบาสิกาได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาด้านวัตถุจะเป็นผลประจักษ์มากกว่าด้านการศึกษาหลักธรรมและน้อมนำมาประพฤติปฏิบัติในการดำรงชีวิตอย่างจริงจัง ส่วนแนวทางการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในปัจจุบันตามแนวทางอุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาลนั้น พบว่ามี 4 ด้าน คือ 1) ด้านการศึกษาหลักธรรมคำสอน 2) ด้านการปฏิบัติตามหลักคำสอน 3) ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และ 4) ด้านการปกป้องพระพุทธศาสนา
The objectives of this thesis were: 1) to study laity model in the early Buddhism, 2) to study the Buddhist support of Buddhist laity, and 3) to propose a guideline in Buddhist support based on laity model in the early Buddhism. The data of this qualitative study were collected from the Tipitaka, documents, research works and in-depth interviews with 8 experts. The data were analyzed, synthesized, classified, and presented in a descriptive method. The results of the study found that: The laity model in the early Buddhism means those who had taken the Triple Gems as their refuge. They were accomplished with faiths, precepts, giving and wisdom. They had a firm belief in Buddhism and performed their duty completely and some were praised by the Lord Buddha as the distinguished disciples, such as Anatha Pindika and Visakha in giving alms. In Buddhist support, the prominent support of laity model to Buddhism could be seen in giving objects and buildings to monks rather than studying and practicing Dhamma themselves. The support of Buddhism in present based on the guidelines of laity model in the early Buddhism has 4 aspects; 1) To study the Buddha’s teachings, 2) To practice along the Buddha’s teachings, 3) To propagate Buddhism, and 4) To preserve and protect Buddhism.
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิจัยและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียน โดยหลักการทางทฤษฎีและหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา ในสถานศึกษาเอกชน ใน 3 ประเด็น คือ 1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” 2) เพื่อประเมินความมีประสิทธิผลของโปรแกรมออนไลน์จากผลการวิจัยเชิงทดลองในภาคสนาม 2 ระยะ และ 3) เพื่อถอดบทเรียนให้ทราบถึงข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมออนไลน์ ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาความรู้ครูผู้สอน มีคู่มือ 3 ชุด และโครงการนำความรู้สู่การพัฒนานักเรียน มีคู่มือ 1 ชุด มีผู้ร่วมวิจัยครู 16 คน และนักเรียน 197 คน ในโรงเรียนสุดารัตน์วิทยาคม มีการจัดทำคู่มือประกอบโครงการทดลองในภาคสนาม เพื่อปรับปรุงแก้ไข 2 ระยะ มีแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูผู้สอน และแบบประเมินทักษะการแก้ปัญหา ผลจากการวิจัยพบว่า คู่มือประกอบโครงการตามมาตรฐาน 90/90 ดังนี้ (1) กรณี 90 ตัวแรก พบว่า คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้หลังเสร็จสิ้นการเรียนรู้ตามโปรแกรมของกลุ่มทดลองคิดเป็นร้อยละ 95.40 การเสนอเนื้อหาในคู่มือประกอบโครงการแต่ละชุดมีประสิทธิภาพที่สามารถนำไปใช้พัฒนาครูให้เกิดการเรียนรู้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) กรณี 90 ตัวหลัง พบว่า กลุ่มทดลองทำข้อสอบในแบบทดสอบผลการเรียนรู้ผ่านตามเกณฑ์ทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ร้อยละ 25.00 แสดงว่า คู่มือประกอบโครงการ ยังมีข้อบกพร่องที่ควรหาทางปรับปรุงแก้ไขอยู่ ซึ่งอาจเนื่องจากการใช้สำนวนภาษาที่คลุมเครือไม่ชัดเจน หรือรูปแบบการนำเสนอเนื้อหาที่ไม่จูงใจ และผลแบบประเมินทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองหลังครูผู้สอนนำความรู้สู่การพัฒนาผู้เรียนเสร็จแล้ว (Post-test) พบว่ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 71.21 ซึ่งเมื่อนำไปวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างกับผลการประเมินก่อนเรียน (Pre-test) ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 20.40 พบว่า นักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการทดลองได้คะแนนจากการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิจัยและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียน โดยหลักการทางทฤษฎีและหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา ในสถานศึกษาเอกชน ใน 3 ประเด็น คือ 1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” 2) เพื่อประเมินความมีประสิทธิผลของโปรแกรมออนไลน์จากผลการวิจัยเชิงทดลองในภาคสนาม 2 ระยะ และ 3) เพื่อถอดบทเรียนให้ทราบถึงข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมออนไลน์ ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาความรู้ครูผู้สอน มีคู่มือ 3 ชุด และโครงการนำความรู้สู่การพัฒนานักเรียน มีคู่มือ 1 ชุด มีผู้ร่วมวิจัยครู 16 คน และนักเรียน 197 คน ในโรงเรียนสุดารัตน์วิทยาคม มีการจัดทำคู่มือประกอบโครงการทดลองในภาคสนาม เพื่อปรับปรุงแก้ไข 2 ระยะ มีแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของครูผู้สอน และแบบประเมินทักษะการแก้ปัญหา ผลจากการวิจัยพบว่า คู่มือประกอบโครงการตามมาตรฐาน 90/90 ดังนี้ (1) กรณี 90 ตัวแรก พบว่า คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้หลังเสร็จสิ้นการเรียนรู้ตามโปรแกรมของกลุ่มทดลองคิดเป็นร้อยละ 95.40 การเสนอเนื้อหาในคู่มือประกอบโครงการแต่ละชุดมีประสิทธิภาพที่สามารถนำไปใช้พัฒนาครูให้เกิดการเรียนรู้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) กรณี 90 ตัวหลัง พบว่า กลุ่มทดลองทำข้อสอบในแบบทดสอบผลการเรียนรู้ผ่านตามเกณฑ์ทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ร้อยละ 25.00 แสดงว่า คู่มือประกอบโครงการ ยังมีข้อบกพร่องที่ควรหาทางปรับปรุงแก้ไขอยู่ ซึ่งอาจเนื่องจากการใช้สำนวนภาษาที่คลุมเครือไม่ชัดเจน หรือรูปแบบการนำเสนอเนื้อหาที่ไม่จูงใจ และผลแบบประเมินทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองหลังครูผู้สอนนำความรู้สู่การพัฒนาผู้เรียนเสร็จแล้ว (Post-test) พบว่ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 71.21 ซึ่งเมื่อนำไปวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างกับผลการประเมินก่อนเรียน (Pre-test) ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 20.40 พบว่า นักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการทดลองได้คะแนนจากการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
This research aims to research and develop online programs to empower students’ problem-solving skills. Theoretical principles and Buddhist doctrine In private schools, in 3 areas, 1) To develop an online programs based on the concept of “Knowledge + Action = Power”, 2) To assess the effectiveness of the online program based on the results of two phases of field trial research and, and 3) To do lesson learned to be informed of suggestions for improving the online program which consisted of 2 projects as follow; Project to develop teachers’ knowledge with 3 sets of handbooks and the project to develop students’ knowledge with 1 set of handbooks. There were 16 co-researchers and 197 students in Sudarat Witthayakhom School as participants. A manual for the field trial project has been prepared To improve in 2 phases, there is a teacher's learning outcome test and problem solving skills assessment form The results of the research found that A manual for the project in accordance with the 90/90 standard as follows: (1) In the first 90 cases, it was found that the average score from the learning outcome test after completing the program of the experimental group was 95.40 percent The content presentation in each project manual was effective that could be used Develop teachers to achieve learning according to the specified criteria (2) In the case of the last 90 characters, it was found that 25.00 percent of the experimental group took the test in the learning outcome test that passed all criteria for learning objectives indicating that the project manual There are still bugs that should be found to be improved. This may be due to the use of vague idioms. or a form of presentation of content that is not motivational and the results of the problem-solving skills assessment of students who were in the experimental group after the teachers completed the knowledge development (Post-test) found that the mean was 71.21. Pre-test results with an average of 20.40 It was found that the students who were in the sample group in the experiment had a statistically significantly higher score from the post-test at the .05 level than before.
หนังสือ

    การประชุมใหญ่สมัยที่ 13 องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก 24-29 พฤศจิกายน 2523 เชียงใหม่
การประชุมใหญ่สมัยที่ 13 องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก 24-29 พฤศจิกายน 2523 เชียงใหม่
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ภูมิหลังพระพุทธศาสนา
  • ประสูติ, อภิเษก, ผนวช และตรัสรู้
  • การประกาศศาสนา
  • พระพุทธศาสนูปถัมภก กษัตริย์, ขุนนาง และราชวงศ์ร่วมสมัย
  • พระพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ
  • คัมภีร์ของพระพุทธศาสนา
  • การศึกษาในพระพุทธศาสนา
  • ความเสื่อมของพระพุทธศาสนา
  • พระพุทธศาสนาในเอเชียใต้และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • พระพุทธศาสนาในเอเชียเหนือและในเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • รู้จักพระพุทธศาสนา
  • ถิ่นรมณีย์คือที่ตั้งต้นของพระพุทธศาสนา
  • ทำบุญขั้นพื้นฐานคือชาวบ้านช่วยกันทำชุมชนให้อยู่กันดี
  • จะทำชั่ว หรือทำดี ก็เริ่มยาก รู้จักอยากให้ชัด จะได้พูดให้เต็มปาก ทำให้เต็มมือ
  • เมตตากรุณา อย่าแค่คล่องปาก ต้องชัดให้ถึงอุเบกขา
  • เราทุกคนทำได้ให้สังคมนี้มีความสุข และมั่นคงสามัคคี
  • จิตใจอย่างนี้ดี มีความสุขแน่แม้แต่สมาธิก็ตามมาด้วย จากสุโขทัย ผ่านอยุธยาคนไทยก้าวหน้า หรือว่าถอย
  • รู้จักสู่รู้แจ่ม
  • ถ้าสูงอายุเป็น ก็น่าเป็นผู้สูงอายุ
  • หลัก อนัตตา มากับปัญญาที่รู้เข้าใจและทำการตามเหตุปัจจัย
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัย
  • อารัมภกถา
  • จักรวาล โลก และมนุษย์จากทัศนะทางพระพุทธศาสนา
  • รู้จักกับพระอภิธรรม
  • เรื่องพระวินัย
  • ความมหัศจรรย์ของพระธรรมวินัย 8 ประการ
  • ศีล 5 ศีล 8 จตุปาริสุทธิศีลเป็นไฉน
  • อานิสงส์การบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
  • กรรมในทัศนะพระพุทธศาสนา
  • นรก-สวรรค์ มีจริงหรือ
  • โทษของความริษยา
  • พระพุทธเจ้าฉันปลาและเนื้อสัตว์หรือไม่
  • จุดหมายผลายทางของชาวพุทธ
  • ทำอย่างไร...ไม่ให้เสียชาติเกิด
  • อานาปานสติสมาธิ
  • การ์ตูนจากมูลนิธิสำนักไม่ตั้งอยู่ในความประมาท
หนังสือ

    มรดกธรรม เล่มที่ 21
มรดกธรรม เล่มที่ 21
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ