Search results

2,196 results in 0.22s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม.)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม.)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาความขัดแย้งภายในครอบครัว, ๒) เพื่อศึกษาหลักสังควัตถุตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อวิเคราะห์หลักสังคหวัตถุเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎกและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า สังคมมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีแบบแผนและมีแบบแผนก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียขึ้นโดยที่สังคมไทยแบ่งออกได้เป็น ๒ ส่วน คือสังคมชนบทและสังคมเมือง แต่มีลักษณะที่สำคัญเหมือนกัน เช่น มีการรวมกลุ่มของคนในสังคมมีแนวทางในการปฏิบัติอย่างเหมาะสมหรือมีกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนเป็นแนวทางให้ยึดถือร่วมกัน และ มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้ เป็นต้น ดังนั้น เอกลักษณ์ของสังคม ไทยมีลักษณะโดดเด่น กล่าวคือ สังคมไทยรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง เป็นสังคมเจ้านายสังคมไทย และเป็นสังคมเกษตรกรรม เป็นต้น สังคหวัตถุหรือสังคหวัตถุธรรมถือว่าเป็นหลักธรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะถือว่าเป็นธรรมที่สามารถเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต ประจำวัน ยิ่งการใช้ชีวิตอยู่รวมกันในสังคมหมู่มากแล้ว จะต้องยึดถือหลักธรรมะประจำใจ ไว้คอยประพฤติปฏิบัติ เพื่อที่จะได้ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมด้วยความปลอดภัย และมีความสุข ดังนั้นจึงกล่าวโดยสรุป สังคหวัตถุ ๔ คือ คุณธรรม ๔ อย่าง ได้แก่ ๑) ทาน คือ การรู้จักแบ่งปันสิ่งของ ๒) ปิยวาจา คือ การเจรจาด้วยวาจาสุภาพอ่อนโยน ๓) อัตถจริยา คือ ความประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ๔) สมานัตตตา คือ ความปะพฤติปฏิบัติดีต่อผู้อื่นอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ผลจากการวิเคราะห์การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทแยกออกเป็นประเด็น ปัญหาต่างๆ โดย เริ่มที่ตัวสมาชิกทุกคน ซึ่งประกอบไปด้วย บิดา มารดา และบุตรธิดาด้วยหลักพระพุทธธรรมต่างๆ เช่น แก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยการประพฤติปฏิบัติตามบทบาทและหน้าที่ของตน สามีก็ทำหน้าทีของสามี ภรรยาก็ทำหน้าที่ของภรรยา บุตรธิดาก็ทำหน้าที่ของบุตรธิดาให้สมบูรณ์นั่นเอง ส่วนปัญหาอื่น ก็สามารถแก้ได้ด้วยการประพฤติธรรมหมวดนั้นๆ เช่น ปัญหาการนอกใจนำไปสู่การหย่าร้างแก้ด้วยหลักอินทรีย์สังวร การสำรวมกาย วาจา ใจ หลักฆราวาส มีความซื่อสัตย์ต่อกัน มีการข่มใจมิให้หลงมัวเมา และเว้นขาดจากอบายมุข ๖ อันจะนำครอบครัวไปสู่ความล่มสลาย เป็นต้น
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาความขัดแย้งภายในครอบครัว, ๒) เพื่อศึกษาหลักสังควัตถุตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อวิเคราะห์หลักสังคหวัตถุเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎกและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า สังคมมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีแบบแผนและมีแบบแผนก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียขึ้นโดยที่สังคมไทยแบ่งออกได้เป็น ๒ ส่วน คือสังคมชนบทและสังคมเมือง แต่มีลักษณะที่สำคัญเหมือนกัน เช่น มีการรวมกลุ่มของคนในสังคมมีแนวทางในการปฏิบัติอย่างเหมาะสมหรือมีกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนเป็นแนวทางให้ยึดถือร่วมกัน และ มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้ เป็นต้น ดังนั้น เอกลักษณ์ของสังคม ไทยมีลักษณะโดดเด่น กล่าวคือ สังคมไทยรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง เป็นสังคมเจ้านายสังคมไทย และเป็นสังคมเกษตรกรรม เป็นต้น สังคหวัตถุหรือสังคหวัตถุธรรมถือว่าเป็นหลักธรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะถือว่าเป็นธรรมที่สามารถเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต ประจำวัน ยิ่งการใช้ชีวิตอยู่รวมกันในสังคมหมู่มากแล้ว จะต้องยึดถือหลักธรรมะประจำใจ ไว้คอยประพฤติปฏิบัติ เพื่อที่จะได้ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมด้วยความปลอดภัย และมีความสุข ดังนั้นจึงกล่าวโดยสรุป สังคหวัตถุ ๔ คือ คุณธรรม ๔ อย่าง ได้แก่ ๑) ทาน คือ การรู้จักแบ่งปันสิ่งของ ๒) ปิยวาจา คือ การเจรจาด้วยวาจาสุภาพอ่อนโยน ๓) อัตถจริยา คือ ความประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ๔) สมานัตตตา คือ ความปะพฤติปฏิบัติดีต่อผู้อื่นอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ผลจากการวิเคราะห์การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทแยกออกเป็นประเด็น ปัญหาต่างๆ โดย เริ่มที่ตัวสมาชิกทุกคน ซึ่งประกอบไปด้วย บิดา มารดา และบุตรธิดาด้วยหลักพระพุทธธรรมต่างๆ เช่น แก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยการประพฤติปฏิบัติตามบทบาทและหน้าที่ของตน สามีก็ทำหน้าทีของสามี ภรรยาก็ทำหน้าที่ของภรรยา บุตรธิดาก็ทำหน้าที่ของบุตรธิดาให้สมบูรณ์นั่นเอง ส่วนปัญหาอื่น ก็สามารถแก้ได้ด้วยการประพฤติธรรมหมวดนั้นๆ เช่น ปัญหาการนอกใจนำไปสู่การหย่าร้างแก้ด้วยหลักอินทรีย์สังวร การสำรวมกาย วาจา ใจ หลักฆราวาส มีความซื่อสัตย์ต่อกัน มีการข่มใจมิให้หลงมัวเมา และเว้นขาดจากอบายมุข ๖ อันจะนำครอบครัวไปสู่ความล่มสลาย เป็นต้น
This thesis serves the purposes: 1) to study Household life conflict, 2) to study on rule of good household life, and 3) to analyze the rule of good household life to solve household life conflict following Theravada Buddhist Philosophy. Using the document research method Is studying the Buddhist scriptures. Relevant research and other textbooks. The results of the research were found that: Thai society has changed forever. Both unconventional and conventional changes lead to both good and bad. The Thai society is divided into two parts, rural and urban. It has the same characteristics, such as the integration of people in society, the way to conduct the right or the rules, the rules, the way to hold together and change the movement, etc. So the identity of the society. Thailand has a distinctive feature: Thai society is centralized in the central. Thai society boss and a farming society. Sacred objects or sacred objects is considered a very important principle. It is considered fair to be able to bond with one another. Especially for use in daily life, the more living together in society, the more mass. I must adhere to the principles of morality. To behave Objective 4 is four virtues: 1. To eat is to share. 2. To speak verbally is to speak in a gentle, gentle way. 3. Attitude is behavior that is beneficial to others. 4. Smaratta is a good practice for others to persist. The results of the analysis of conflict resolution in the family of Theravada Buddhist philosophy is divided into issues, starting with all members. It consists of parents and children with various Buddhist principles. For example, resolve conflicts by behaving according to their roles and duties. The husband made her husband's face. Wife also serves his wife and the child is the daughter of the daughter. Other problems It can be solved by doing the wrong class, such as infidelity issues, leading to divorce, organic solstice, articulation, body language, spiritual secularism, loyalty to each other. There is no temptation to be obsessed. And abstain from the six swarms that will lead the family to collapse, etc.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความตาย 2) เพื่อศึกษาความตายตามมโนทัศน์ในพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าของความตาย ตามมโนทัศน์ในพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ผู้วิจัยได้เก็บรวมรวมข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1) ปรัชญาตะวันตก มีแนวคิดที่ชัดเจนว่าเชื่อในชีวิตหลังความตายเป็นชีวิตนิรันดร์ แต่จะมีการให้คุณค่าความตายและภาวะหลังความตายมากขึ้น ในมุมมองของปรัชญาชีวิต เช่น เมื่อเราหนีความตายไม่พ้น ทำไมเราไม่ทำความเข้าใจอย่างกล้าหาญต่อความตายนั้นเล่า นักปรัชญาตะวันออก จะมีแนวคิดคล้ายคลึงกัน มีความแตกต่างไปบ้าง อย่างเช่นปรัชญาอินเดีย มีทั้งเชื่อเรื่องของชีวิตนิรันดร์ และเชื่อว่าตายแล้วสูญ ปรัชญาจีน เชื่อในเรื่องของชีวิตนิรันดร์อย่างแน่นแฟ้น แต่เมื่อผ่าน การหล่อหลอมจากปรัชญาสายอื่น ก็มีความเชื่อเรื่องของสังสารวัฏเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่บ้างทางด้านศาสนาต่าง ๆ ล้วนแล้วแต่เชื่อว่ามีชีวิตนิรันดร์หลังความตาย ขึ้นอยู่กับว่าจะตีความคำว่าชีวิตนิรันดร์นั้นไปในทิศทางใด อาจจะเป็นชีวิตนิรันดร์ไปอยู่บนสรวงสวรรค์พร้อมกับพระผู้เป็นเจ้าหรือชีวิตนิรันดร์ในฐานะของผู้บรรลุพระนิพพาน สิ้นกิเลส 2) พุทธปรัชญาเชื่อว่า ชีวิตมีอยู่ เป็นอยู่ เพราะมีปัจจัยต่าง ๆ มาประกอบกันอย่างเหมาะสม และปัจจัยสำคัญก็คือ ขันธ์ 5 จากความเชื่อนี้ ความตายก็เป็นอะไรอื่นไปไม่ได้นอกจากคือความสิ้นไปแห่งปัจจัยเหล่านั้น หรือมิฉะนั้นก็เป็นการประกอบส่วนที่ผิดเพี้ยนไปอันเกิดจากความไม่เที่ยงและความไม่มีตัวตนของปัจจัยเหล่านั้น นี่เป็นหลักกว้าง ๆ ที่อิงอยู่กับหลักธรรมเรื่อง ไตรลักษณ์ และหลักธรรมเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท หรือ อิทัปปัจจยตา ที่ว่าด้วยความเป็นเหตุเป็นผลแบบอิงอาศัยกันของสิ่งทั้งหลาย ทำนองว่า เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น, เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงดับไปความตายก็เป็นอะไรอื่นไปไม่ได้ นอกจากคือความสิ้นไปแห่งปัจจัยเหล่านั้น คือ สิ้นอายุขัย (อายุกขยมรณะ) สิ้นกรรม (กัมมักขยมรณะ) สิ้นทั้งอายุและกรรม (อุภยักขยมรณะ) และมีเหตุหรือกรรมอย่างอื่นมาตัดรอน (อุปัจเฉทมรณะ) 3) คุณค่าแห่งการหลุดพ้นเวียนว่ายตายเกิดนั้น เป็นเป้าหมายสูงสุดของพุทธปรัชญาเถรวาท นั่นคือการเข้าถึงความหลุดพ้นหรือนิพพาน ซึ่งพุทธปรัชญาเถรวาทเชื่อว่ามนุษย์ปุถุชนทุกรูปทุกนาม ล้วนแล้วแต่เป็นชีวิตที่มีปัญหาและถูกความทุกข์ครอบงำอยู่ตลอดเวลา เมื่อใดที่มนุษย์สามารถเอาชนะความทุกข์ได้อย่างแท้จริง เมื่อนั้นก็สามารถหลุดพ้นหรือนิพพานได้ และวิธีการที่จะเข้าถึงนิพพานนั้น จะต้องอาศัยการปฏิบัติตามอริยมรรคมีองค์ 8 หรืออย่างย่อเรียกว่า ไตรสิกขาซึ่งมีขั้นตอนต่าง ๆ อันจะพาให้เข้าถึงนิพพานอันเป็นภาวะสูงสุดและเป็นความสงบสุขที่จีรังยั่งยืน
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความตาย 2) เพื่อศึกษาความตายตามมโนทัศน์ในพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าของความตาย ตามมโนทัศน์ในพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ผู้วิจัยได้เก็บรวมรวมข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1) ปรัชญาตะวันตก มีแนวคิดที่ชัดเจนว่าเชื่อในชีวิตหลังความตายเป็นชีวิตนิรันดร์ แต่จะมีการให้คุณค่าความตายและภาวะหลังความตายมากขึ้น ในมุมมองของปรัชญาชีวิต เช่น เมื่อเราหนีความตายไม่พ้น ทำไมเราไม่ทำความเข้าใจอย่างกล้าหาญต่อความตายนั้นเล่า นักปรัชญาตะวันออก จะมีแนวคิดคล้ายคลึงกัน มีความแตกต่างไปบ้าง อย่างเช่นปรัชญาอินเดีย มีทั้งเชื่อเรื่องของชีวิตนิรันดร์ และเชื่อว่าตายแล้วสูญ ปรัชญาจีน เชื่อในเรื่องของชีวิตนิรันดร์อย่างแน่นแฟ้น แต่เมื่อผ่าน การหล่อหลอมจากปรัชญาสายอื่น ก็มีความเชื่อเรื่องของสังสารวัฏเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่บ้างทางด้านศาสนาต่าง ๆ ล้วนแล้วแต่เชื่อว่ามีชีวิตนิรันดร์หลังความตาย ขึ้นอยู่กับว่าจะตีความคำว่าชีวิตนิรันดร์นั้นไปในทิศทางใด อาจจะเป็นชีวิตนิรันดร์ไปอยู่บนสรวงสวรรค์พร้อมกับพระผู้เป็นเจ้าหรือชีวิตนิรันดร์ในฐานะของผู้บรรลุพระนิพพาน สิ้นกิเลส 2) พุทธปรัชญาเชื่อว่า ชีวิตมีอยู่ เป็นอยู่ เพราะมีปัจจัยต่าง ๆ มาประกอบกันอย่างเหมาะสม และปัจจัยสำคัญก็คือ ขันธ์ 5 จากความเชื่อนี้ ความตายก็เป็นอะไรอื่นไปไม่ได้นอกจากคือความสิ้นไปแห่งปัจจัยเหล่านั้น หรือมิฉะนั้นก็เป็นการประกอบส่วนที่ผิดเพี้ยนไปอันเกิดจากความไม่เที่ยงและความไม่มีตัวตนของปัจจัยเหล่านั้น นี่เป็นหลักกว้าง ๆ ที่อิงอยู่กับหลักธรรมเรื่อง ไตรลักษณ์ และหลักธรรมเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท หรือ อิทัปปัจจยตา ที่ว่าด้วยความเป็นเหตุเป็นผลแบบอิงอาศัยกันของสิ่งทั้งหลาย ทำนองว่า เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น, เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงดับไปความตายก็เป็นอะไรอื่นไปไม่ได้ นอกจากคือความสิ้นไปแห่งปัจจัยเหล่านั้น คือ สิ้นอายุขัย (อายุกขยมรณะ) สิ้นกรรม (กัมมักขยมรณะ) สิ้นทั้งอายุและกรรม (อุภยักขยมรณะ) และมีเหตุหรือกรรมอย่างอื่นมาตัดรอน (อุปัจเฉทมรณะ) 3) คุณค่าแห่งการหลุดพ้นเวียนว่ายตายเกิดนั้น เป็นเป้าหมายสูงสุดของพุทธปรัชญาเถรวาท นั่นคือการเข้าถึงความหลุดพ้นหรือนิพพาน ซึ่งพุทธปรัชญาเถรวาทเชื่อว่ามนุษย์ปุถุชนทุกรูปทุกนาม ล้วนแล้วแต่เป็นชีวิตที่มีปัญหาและถูกความทุกข์ครอบงำอยู่ตลอดเวลา เมื่อใดที่มนุษย์สามารถเอาชนะความทุกข์ได้อย่างแท้จริง เมื่อนั้นก็สามารถหลุดพ้นหรือนิพพานได้ และวิธีการที่จะเข้าถึงนิพพานนั้น จะต้องอาศัยการปฏิบัติตามอริยมรรคมีองค์ 8 หรืออย่างย่อเรียกว่า ไตรสิกขาซึ่งมีขั้นตอนต่าง ๆ อันจะพาให้เข้าถึงนิพพานอันเป็นภาวะสูงสุดและเป็นความสงบสุขที่จีรังยั่งยืน
The objective of this study is 1) to study the theory of death 2) To study the conceptual death in Theravada Buddhist philosophy 3) To analyze the conceptual thinking in Theravada Buddhist philosophy The research has collected data from Tripitaka, commentary, textbooks and related research. The results of the study were shown as follows: 1) Western philosophy has a clear philosophy that believes in the afterlife But there will be help for victims and many complications from the philosophical point of view Why don't we bravely understand death, telling scholars of many different philosophies, such as Indian philosophy Believe that to die and lose. Chinese philosophy firmly believes in matters of life But when passed on from other philosophies, there is a belief about the pontiff All foreigners believe that how to live in the near future to occur in the near future to occur in the future. Wan with God or eternal life as the person who attained Nirvana 2) Buddhist philosophy believes that life exists because there are different parts to it. Appropriate and an important ratio is the Bahamas. 5. From this belief, death is not something that comes from the damage caused by their injuries. The identity of those supports is a broad principle based on principles. About the trinity and the doctrine of the Bath, the Bath, or Itam, the eye on the sense of reason Become living beings that coexist with living organisms, regardless of how this happened Death is another thing that does not occur because the loss of those attacks is the death. (Salvage independence)) and there is a reason or something else to cut (Death) 3) The process of liberation from what has happened is something that happens a lot and is something that has been destroyed a lot or that Nirvana is what actually happened. Victory all the time, whenever humans can overcome great suffering, when they can be liberated or nirvana and how to In order to do nicotine, it is necessary to adhere to the Noble Eightfold Path or the threefold process, with many steps and money to help the victims.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาหลักสาราณียธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท, ๒) เพื่อศึกษาความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท, และ ๓) เพื่อศึกษาหลักสาราณียธรรมเพื่อลดความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท โดยใช้วิธีวิจัยเอกสาร คือ ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และตำราอื่นๆ ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า สารณียธรรม ธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกันเป็นธรรมที่มีอุปการะมาก ทำให้เป็นที่รัก ทำให้เป็นที่เคารพ เป็นไปเพื่อความสงเคราะห์กัน เพื่อความไม่วิวาทกัน เพื่อความสามัคคีกัน เพื่อความเป็นอันเดียวกัน ความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึง การประทุษร้ายทางร่างกาย วาจา และทางจิตใจ ทั้งแก่ตนเองและบุคคลอื่นทีมีผลเป็นความทุกข์ความเดือดร้อน ความรุนแรงที่เกิดขึ้นมีอยู่ ๓ ระดับ คือ ความรุนแรงระดับเบา ระดับกลาง และระดับหนัก ส่วนสาเหตุของความรุนแรงเกิดจากต้นตอหรือรากเหง้าของกิเลสที่เรียกว่า อกุศลมูล คือ ราคะ โทสะ โมหะ ที่เป็นเหตุให้เกิดความทุกข์ ความเดือดร้อน หลักสาราณียธรรมเพื่อลดความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า หลักสาราณียธรรม ๖ คือ ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง ธรรมเป็นเหตุที่ระลึกถึงกันหลักการอยู่ร่วมกันเป็นไปเพื่อความสงเคราะห์ ความกลมกลืนเข้าหากัน เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความสามัคคีและเอกภาพความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาหลักสาราณียธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท, ๒) เพื่อศึกษาความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท, และ ๓) เพื่อศึกษาหลักสาราณียธรรมเพื่อลดความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท โดยใช้วิธีวิจัยเอกสาร คือ ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และตำราอื่นๆ ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า สารณียธรรม ธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกันเป็นธรรมที่มีอุปการะมาก ทำให้เป็นที่รัก ทำให้เป็นที่เคารพ เป็นไปเพื่อความสงเคราะห์กัน เพื่อความไม่วิวาทกัน เพื่อความสามัคคีกัน เพื่อความเป็นอันเดียวกัน ความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึง การประทุษร้ายทางร่างกาย วาจา และทางจิตใจ ทั้งแก่ตนเองและบุคคลอื่นทีมีผลเป็นความทุกข์ความเดือดร้อน ความรุนแรงที่เกิดขึ้นมีอยู่ ๓ ระดับ คือ ความรุนแรงระดับเบา ระดับกลาง และระดับหนัก ส่วนสาเหตุของความรุนแรงเกิดจากต้นตอหรือรากเหง้าของกิเลสที่เรียกว่า อกุศลมูล คือ ราคะ โทสะ โมหะ ที่เป็นเหตุให้เกิดความทุกข์ ความเดือดร้อน หลักสาราณียธรรมเพื่อลดความรุนแรงในพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า หลักสาราณียธรรม ๖ คือ ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง ธรรมเป็นเหตุที่ระลึกถึงกันหลักการอยู่ร่วมกันเป็นไปเพื่อความสงเคราะห์ ความกลมกลืนเข้าหากัน เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความสามัคคีและเอกภาพความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
This thesis serves the purposes: 1) to study the states of conciliation in Theravada Buddhist philosophy, 2) to study violence in Theravada Buddhist Philosophy, and 3) to study the states of conciliation for alleviate violence in Theravada Buddhist philosophy. It has been carried out with qualitative research methodology, of which its sources include The Tipitaka, relevant researches and other texts to supplement it. The results of the research were found that: Fairness refers to fairness as a cause for commendation. Make love Make a respect is for the welfare for no strife to unity for the same integrity. Violence in Theravada Buddhist philosophy refers to physical, verbal, and psychological harms both to oneself and to others as a result of suffering. There are three levels of violence: lighter intensity Intermediate and heavy. The cause of the violence is caused by the origin or the root of the passion, which is called sensuality, i.e., sensuality, anger, rationality that causes suffering. The main principle of sustenance to reduce violence in Theravada Buddhist philosophy is that the principle of the states of conciliation 6 is the place of remembrance. Dhamma is a remembrance of the principle of coexistence for the welfare. Harmony is for brawling for unity.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2548
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2548
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทศชาติชาดก 2) เพื่อศึกษาแนวคิดทางจริยศาสตร์ที่ปรากฏในทศชาติชาดก 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าทางจริยศาสตร์ที่ปรากฏในทศชาติชาดก วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องจริยศาสตร์ศาสตร์ที่ปรากฏในทศชาติชาดก ผลการวิจัย พบว่า 1) ทศชาติชาดก เป็นเรื่องราวที่กล่าวถึงอดีตชาติของพระพุทธเจ้าในพระชาติต่าง ๆ เมื่อครั้งยังเป็นพระโพธิสัตว์ ถือกำเนิดเป็นมนุษย์บ้าง เป็นเทวดาบ้าง เพื่อทรงบำเพ็ญบารมีต่าง ๆ เพื่อเป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมหนุนนำให้ได้บรรลุซึ่งพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในพระชาติสุดท้าย เพื่อโปรดสรรพสัตว์ทั้งหลายให้พ้นจากกองกิเลสกองทุกข์ทั้งปวง 2) ความประพฤติที่จัดเป็นความดีที่ปรากฏในทศชาติชาดกนั้น เป็นความประพฤติฝ่ายกุศล สามารถนำประโยชน์และความสุขมาให้แก่ผู้ปฏิบัติ แก่บุคคลอื่นและแก่สังคมส่วนรวมได้ ความประพฤติที่จัดเป็นความชั่วที่ปรากฏในทศชาติชาดกนั้น เป็นความประพฤติฝ่ายอกุศล สามารถนำความทุกข์และความเดือดร้อนมาให้แก่ผู้ปฏิบัติ แก่บุคคลอื่นและแก่สังคมส่วนรวมได้ ซึ่งเกณฑ์ที่นำมาตัดสินความดี-ความชั่วที่ปรากฏในทศชาติชาดกนั้นเป็นเกณฑ์ตัดสินทางจริยศาสตร์ของกลุ่มสัมบูรณนิยม กลุ่มปฏิบัตินิยม กลุ่มประโยชน์นิยม และเกณฑ์ตัดสินในทางพระพุทธศาสนา จุดมุ่งหมายของชีวิตที่ปรากฏในทศชาติชาดกนั้นมีประโยชน์ 3 ด้าน คือ ประโยชน์เพื่อตนเอง อันได้แก่ประโยชน์ในปัจจุบัน ประโยชน์ในภพหน้า และประโยชน์อย่างสูงสุดคือพระนิพพาน ประโยชน์เพื่อผู้อื่น คือ สามารถสร้างประโยชน์และความสุขให้แก่ผู้อื่นทั้งทางกายและทางจิตใจ และประโยชน์เพื่อส่วนรวมและสังคม คือ สามารถสร้างความสงบสุขให้เกิดขึ้นแก่สังคมส่วนรวมได้ 3) คุณค่าทางจริยศาสตร์ที่ปรากฏในทศชาติชาดก เป็นคุณค่าที่มีต่อจิตใจ คุณค่าที่มีต่อการดำเนินชีวิต คุณค่าที่มีต่อสังคม และคุณค่าที่มีต่อการปฏิบัติธรรม เป็นคุณค่าที่สร้างประโยชน์และความสุขให้แก่ตนเอง ให้แก่คนอื่น และให้แก่สังคมส่วนรวม
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทศชาติชาดก 2) เพื่อศึกษาแนวคิดทางจริยศาสตร์ที่ปรากฏในทศชาติชาดก 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าทางจริยศาสตร์ที่ปรากฏในทศชาติชาดก วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องจริยศาสตร์ศาสตร์ที่ปรากฏในทศชาติชาดก ผลการวิจัย พบว่า 1) ทศชาติชาดก เป็นเรื่องราวที่กล่าวถึงอดีตชาติของพระพุทธเจ้าในพระชาติต่าง ๆ เมื่อครั้งยังเป็นพระโพธิสัตว์ ถือกำเนิดเป็นมนุษย์บ้าง เป็นเทวดาบ้าง เพื่อทรงบำเพ็ญบารมีต่าง ๆ เพื่อเป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมหนุนนำให้ได้บรรลุซึ่งพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในพระชาติสุดท้าย เพื่อโปรดสรรพสัตว์ทั้งหลายให้พ้นจากกองกิเลสกองทุกข์ทั้งปวง 2) ความประพฤติที่จัดเป็นความดีที่ปรากฏในทศชาติชาดกนั้น เป็นความประพฤติฝ่ายกุศล สามารถนำประโยชน์และความสุขมาให้แก่ผู้ปฏิบัติ แก่บุคคลอื่นและแก่สังคมส่วนรวมได้ ความประพฤติที่จัดเป็นความชั่วที่ปรากฏในทศชาติชาดกนั้น เป็นความประพฤติฝ่ายอกุศล สามารถนำความทุกข์และความเดือดร้อนมาให้แก่ผู้ปฏิบัติ แก่บุคคลอื่นและแก่สังคมส่วนรวมได้ ซึ่งเกณฑ์ที่นำมาตัดสินความดี-ความชั่วที่ปรากฏในทศชาติชาดกนั้นเป็นเกณฑ์ตัดสินทางจริยศาสตร์ของกลุ่มสัมบูรณนิยม กลุ่มปฏิบัตินิยม กลุ่มประโยชน์นิยม และเกณฑ์ตัดสินในทางพระพุทธศาสนา จุดมุ่งหมายของชีวิตที่ปรากฏในทศชาติชาดกนั้นมีประโยชน์ 3 ด้าน คือ ประโยชน์เพื่อตนเอง อันได้แก่ประโยชน์ในปัจจุบัน ประโยชน์ในภพหน้า และประโยชน์อย่างสูงสุดคือพระนิพพาน ประโยชน์เพื่อผู้อื่น คือ สามารถสร้างประโยชน์และความสุขให้แก่ผู้อื่นทั้งทางกายและทางจิตใจ และประโยชน์เพื่อส่วนรวมและสังคม คือ สามารถสร้างความสงบสุขให้เกิดขึ้นแก่สังคมส่วนรวมได้ 3) คุณค่าทางจริยศาสตร์ที่ปรากฏในทศชาติชาดก เป็นคุณค่าที่มีต่อจิตใจ คุณค่าที่มีต่อการดำเนินชีวิต คุณค่าที่มีต่อสังคม และคุณค่าที่มีต่อการปฏิบัติธรรม เป็นคุณค่าที่สร้างประโยชน์และความสุขให้แก่ตนเอง ให้แก่คนอื่น และให้แก่สังคมส่วนรวม
The purposes of this thesis include; 1) to study the ten birth-stories of the Buddha, 2) to study the ethical concepts in the ten birth-stories of the Buddha, and 3) to analyze the values of the ethical concepts in the ten birth-stories of the Buddha. The data of this qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, books, and research works related. Research results were found that: 1) The ten birth-stories of the Buddha retell the past lives of the Buddha when he was still a Bodhisattva who was born either a human or a deva in order to perform meritorious acts which could help him reach his ultimate goal and become the Buddha in his final life to teach all beings to free themselves from desires and sufferings. 2) The good actions found in those stories are the wholesome that can bring benefits and happiness to practitioners, others and society as well. Meanwhile, the evil deeds in the stories are considered unwholesome because they can bring sufferings and troubles to the doers, others and society. The good deeds and the bad deeds in the ten birth-stories of the Buddha were decided by the ethical criteria set by the groups of absolutism, pragmatism, utilitarianism, and Buddhism. There are 3 types of benefits in the life goals found in the ten birth-stories of the Buddha; 1) benefits to oneself in the present life, in the following lifetimes, and the supreme benefit or achieving enlightenment; 2) benefits to other people in both physical and mental ways; and 3) public benefits referring to creating peace and happiness to community and society. 3) The ethical values in the ten birth-stories of the Buddha are for mentality, living a life, society and Dhamma practicing. These values can build and bring benefits and happiness to oneself, others and society.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา 2) เพื่อศึกษาแนวคิดทางจริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดทางจริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยค้นคว้าและรวบรวมแนวคิดทางจริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา และศึกษาเอกสารทางวิชาการ ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์แนวคิดทางจริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา ผลการวิจัยพบว่า 1. คัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา เป็นกลุ่มคำสอนของพระพุทธเจ้าที่มีเนื้อหากะทัดรัด และมีเรื่องราวประกอบคำอธิบาย ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงถึงการเรียนรู้ชีวิตชี้แนะแนวทางการประพฤติตนของพุทธบริษัทให้เข้าใจและถึงแก่นธรรมของพระองค์ โดยทรงพิจารณาตามอัธยาศัยของแต่ละบุคคล คำสอนที่ทรงแสดงนั้น เป็นไปเพื่อความสุขสงบทั้งแก่ผู้ปฏิบัติและแก่ผู้อื่น 2. จริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา มีแนวคิดแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1)ระดับมูลฐาน คือ ศีล 5 และเบญจธรรม 2) ระดับกลาง มีการประพฤติชอบทางกาย การประพฤติชอบทางวาจา และการประพฤติชอบทางใจ 3) ระดับสูง คือ มรรคมีองค์ 8 ได้แก่ ปัญญาอันเห็นชอบ ความดำริชอบ เจรจาชอบ ทำการงานชอบ เลี้ยงชีวิตชอบ ความเพียรชอบ ระลึกชอบ และตั้งจิตมั่นชอบ 3. แนวคิดทางจริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา มีหลักธรรมที่แยกแยะความดี-ความชั่วได้ชัดเจน สิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยค้นพบคือวิธีการแก้ไขปัญหาที่ทำให้เกิดความเร้าร้อนในระดับพฤติกรรม ความรู้สึก และแนวความคิด หากนำวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงแนะนำย่อมสามารถแก้ปัญหาความเดือนร้อนวุ่นวายใจและความไม่สงบในสังคมได้ และพบว่า บุคคลควรมีเป้าหมายในการดำเนินชีวิตไปในทิศทางที่ดี ครั้นมีเป้าหมายดีแล้วย่อมประครองชีวิตให้ดำเนินไปสู่วิถีอันสิ่งดีงาม ผลดีก็ย่อมบังเกิด ความเป็นอยู่ปัจจุบันก็ไม่เดือดร้อนใจ และเมื่อสิ้นชีวิตแล้วย่อมเกิดในสุคติภพ หรือไม่กลับมาเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏคือบรรลุพระนิพพานในที่สุด
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา 2) เพื่อศึกษาแนวคิดทางจริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดทางจริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยค้นคว้าและรวบรวมแนวคิดทางจริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา และศึกษาเอกสารทางวิชาการ ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์แนวคิดทางจริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา ผลการวิจัยพบว่า 1. คัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา เป็นกลุ่มคำสอนของพระพุทธเจ้าที่มีเนื้อหากะทัดรัด และมีเรื่องราวประกอบคำอธิบาย ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงถึงการเรียนรู้ชีวิตชี้แนะแนวทางการประพฤติตนของพุทธบริษัทให้เข้าใจและถึงแก่นธรรมของพระองค์ โดยทรงพิจารณาตามอัธยาศัยของแต่ละบุคคล คำสอนที่ทรงแสดงนั้น เป็นไปเพื่อความสุขสงบทั้งแก่ผู้ปฏิบัติและแก่ผู้อื่น 2. จริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา มีแนวคิดแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1)ระดับมูลฐาน คือ ศีล 5 และเบญจธรรม 2) ระดับกลาง มีการประพฤติชอบทางกาย การประพฤติชอบทางวาจา และการประพฤติชอบทางใจ 3) ระดับสูง คือ มรรคมีองค์ 8 ได้แก่ ปัญญาอันเห็นชอบ ความดำริชอบ เจรจาชอบ ทำการงานชอบ เลี้ยงชีวิตชอบ ความเพียรชอบ ระลึกชอบ และตั้งจิตมั่นชอบ 3. แนวคิดทางจริยศาสตร์ในคัมภีร์ธรรมบท พร้อมทั้งอรรถกถา มีหลักธรรมที่แยกแยะความดี-ความชั่วได้ชัดเจน สิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยค้นพบคือวิธีการแก้ไขปัญหาที่ทำให้เกิดความเร้าร้อนในระดับพฤติกรรม ความรู้สึก และแนวความคิด หากนำวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงแนะนำย่อมสามารถแก้ปัญหาความเดือนร้อนวุ่นวายใจและความไม่สงบในสังคมได้ และพบว่า บุคคลควรมีเป้าหมายในการดำเนินชีวิตไปในทิศทางที่ดี ครั้นมีเป้าหมายดีแล้วย่อมประครองชีวิตให้ดำเนินไปสู่วิถีอันสิ่งดีงาม ผลดีก็ย่อมบังเกิด ความเป็นอยู่ปัจจุบันก็ไม่เดือดร้อนใจ และเมื่อสิ้นชีวิตแล้วย่อมเกิดในสุคติภพ หรือไม่กลับมาเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏคือบรรลุพระนิพพานในที่สุด
The objectives of this thesis are: 1) to study the Dhammapada and its commentaries, 2) to study ethics in the Dhammapada and its commentaries, and 3) to analyze ethics in the Dhammapada and its commentaries. This qualitative work was developed by conducting the data from the Dhammapada, commentaries, textbooks, and related documents. Research results were found that : 1. The Dhammapada and its commentaries are the Buddha’s collection of teachings with concise contents and stories alongside explanation. The Buddha showed how to learn about life and guided how Buddhist should behave for everyone to comprehend and reach the core of his Dhamma by contemplating individual characteristic. His teachings are for the peaceful bliss of those who practice as well as the others. 2. Ethics in the Dhammapada and its commentaries comprise of 3 levels of concept; 1) the basic level which are the 5 Precepts and the 5 Virtues; 2) the intermediate level which are proper deeds in terms of physical behavior, speech, and thinking; and 3) the advanced level which are right views, right intention, right speech, right action, right livelihood, right effort, right mindfulness, and right concentration. 3. Once analyzed, it was found that there are moral principles categorizing goodness and badness. A significant discovery was the solutions for vehemence of behavior, feelings, and thinking. If one follows the Buddha’s teachings, one will be able to solve mental unrest and chaotic society. Also, one should live a virtuous life. Good things will follow, and livelihood will not be in distress. After death, one will be reborn in the realms of happiness or attain Nibbana in the end.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงเอกสารโดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความหมายและความสำคัญของนิทาน 2) เพื่อศึกษานิทานที่ปรากฏในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี 3) เพื่อศึกษาคุณค่าของนิทานที่ปรากฏในคัมภีร์มังคลัตถทีปนีต่อการพัฒนาชีวิต ซึ่งได้รวบรวมจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วนำมาวิเคราะห์เชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาต่างๆ แต่ละบทให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ผลการวิจัยพบว่า: 1) นิทานเป็นการเล่า เรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาหรือมีผู้แต่งขึ้นเพื่อให้ผู้ฟังได้รับ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน และสามารถนำความคิดไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ส่วนความสำคัญของนิทานนั้นทำให้ความเพลิดเพลิน สนุกสนานและผ่อนคลายความเครียด สร้างเสริมจินตนาการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม กระชับความสัมพันธ์ในครอบครัว สะท้อนให้เห็นสภาพของสังคม 2) นิทานในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี เป็นเรื่องเล่าเรื่องราวต่างๆ ให้สอดคล้องกับเหตุการณ์ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมให้กับเทวดาทั้งหลายที่เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าทูลถามปัญหาเรื่องมงคล มีทั้งเรื่องที่ดีและเรื่องที่ร้าย 3) คุณค่าของนิทานในการพัฒนาตนเองขั้นพื้นฐานและการพัฒนาตนเองขั้นกลางเพื่อเข้าถึงทิฏฐธัมมิกัตถะ และสัมปรายิกัตถะ โดยใช้ประกอบการอธิบายมงคลที่เกี่ยวกับการสร้างมาตรฐานกฎเกณฑ์ทางความคิดเห็นที่ถูกต้อง เป็นการเตรียมปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นในการสร้างชีวิต สามารถสร้างบุญกุศลอื่นๆ ได้ง่าย เป็นนิสัยติดตัวไปข้ามภพข้ามชาติ จะได้สันติสุขเป็นเครื่องตอบแทนไปชั่วกาลนาน ส่วนคุณค่าของนิทานในการพัฒนาตนเองขั้นสูงเพื่อเข้าถึงปรมัตถะ โดยใช้ประกอบการอธิบายมงคลที่เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมสำหรับการฝึกฝนอบรมจิต เพื่อยกระดับจิตใจให้สูงขึ้นจนกระทั่งสามารถขจัดกิเลสอย่างละเอียดบรรลุมรรคผลนิพพานได้
วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงเอกสารโดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความหมายและความสำคัญของนิทาน 2) เพื่อศึกษานิทานที่ปรากฏในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี 3) เพื่อศึกษาคุณค่าของนิทานที่ปรากฏในคัมภีร์มังคลัตถทีปนีต่อการพัฒนาชีวิต ซึ่งได้รวบรวมจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วนำมาวิเคราะห์เชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาต่างๆ แต่ละบทให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ผลการวิจัยพบว่า: 1) นิทานเป็นการเล่า เรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาหรือมีผู้แต่งขึ้นเพื่อให้ผู้ฟังได้รับ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน และสามารถนำความคิดไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ส่วนความสำคัญของนิทานนั้นทำให้ความเพลิดเพลิน สนุกสนานและผ่อนคลายความเครียด สร้างเสริมจินตนาการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม กระชับความสัมพันธ์ในครอบครัว สะท้อนให้เห็นสภาพของสังคม 2) นิทานในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี เป็นเรื่องเล่าเรื่องราวต่างๆ ให้สอดคล้องกับเหตุการณ์ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมให้กับเทวดาทั้งหลายที่เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าทูลถามปัญหาเรื่องมงคล มีทั้งเรื่องที่ดีและเรื่องที่ร้าย 3) คุณค่าของนิทานในการพัฒนาตนเองขั้นพื้นฐานและการพัฒนาตนเองขั้นกลางเพื่อเข้าถึงทิฏฐธัมมิกัตถะ และสัมปรายิกัตถะ โดยใช้ประกอบการอธิบายมงคลที่เกี่ยวกับการสร้างมาตรฐานกฎเกณฑ์ทางความคิดเห็นที่ถูกต้อง เป็นการเตรียมปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นในการสร้างชีวิต สามารถสร้างบุญกุศลอื่นๆ ได้ง่าย เป็นนิสัยติดตัวไปข้ามภพข้ามชาติ จะได้สันติสุขเป็นเครื่องตอบแทนไปชั่วกาลนาน ส่วนคุณค่าของนิทานในการพัฒนาตนเองขั้นสูงเพื่อเข้าถึงปรมัตถะ โดยใช้ประกอบการอธิบายมงคลที่เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมสำหรับการฝึกฝนอบรมจิต เพื่อยกระดับจิตใจให้สูงขึ้นจนกระทั่งสามารถขจัดกิเลสอย่างละเอียดบรรลุมรรคผลนิพพานได้
This study was a documentary research with the objectives 1) to investigate the meaning and importance of the tales, 2) to investigate the tales that appeared in the Mangalatthadipani Scripture, and 3) to investigate the value of the tales that appeared in the Mangalatthadipani Scripture. Data were collected from relevant documents and research and analyzed to link among the various contents in each chapter to meet the objectives. The results of research were found that: 1) A tale was a telling of stories that had been passed on or were created for the audience to enjoy and apply ideas into their everyday life and it was important in terms of leading to enjoy, fun, and relaxation, creating imagination, promoting morality, ethics, and family relationship, and reflecting social conditions. 2) Tales that appeared in the Mangalatthadipani Scripture were both good and bad stories that were consistent to the events the Lord Buddha showed to the angels who came to the Lord Buddha to inquire about the auspicious issues. 3) The value of the tales at the basic development and Intermediate development level In order to reach diññhadhammikattha and samparàyikattha was used for explaining auspicious issues related to the establishment of correct standards and rules as basic factors necessary to create life, other merits, and habits inherited to the next worlds along with receiving forever peace and at the most advanced development level In order to reach Paramattha was used for explaining auspicious issues related to the preparation for mental practices in order to elevate the mind to a higher level until it was able to eradicate the passion thoroughly and attain the nirvana.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552