Search results

45 results in 0.19s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561

ศึกษา... 2552

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักอิทธิบาท 4 ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 โดยศึกษาข้อมูลจาก พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างและบุคคลากรในหน่วยงาน กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธรภาค 4 จำนวน 230 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ยเป็นร้อยละ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบบมีโครงสร้าง เจาะลึก (สุ่มแบบจงใจ) ข้าราชการตำรวจเป็นรายบุคคล (in-depth interview) โดยสัมภาษณ์ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการใน กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 จำนวน 38 คน วิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท ผลการวิจัยพบว่า : 1.อิทธิบาท 4 หมายถึง ธรรมที่เป็นเครื่องให้ถึงความสำเร็จหรือทางแห่งความสำเร็จซึ่งประกอบด้วย 1) ฉันทะ คือ ความพอใจรักใคร่เต็มใจใฝ่ใจในการทำงาน 2) วิริยะ คือ ความเพียรขยันอดทน ทำงานให้สำเร็จ 3) จิตตะ คือ การเอาใจจดจ่ออยู่กับงานที่ทำ 4) วิมังสา คือ เป็นการใช้ปัญญาในการไตร่ตรองสอบสวนพิจารณาตรวจสอบงานที่ทำซึ่งอิทธิบาท 4 นอกจากจะเป็นคุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จในงานที่ทำแล้วอิทธิบาท 4 ยังเป็นอายุวัฒนธรรม คือ ธรรมเป็นเหตุให้คนมีอายุยืนยาวอีกด้วยดังที่มีพุทธดำรัสรับรองไว้ในมหาปรินิพพานสูตรว่า“ยสฺส กสฺสจิ อานนฺท จตฺตาโร อิทฺธิปาทา” แปลความว่า “อานนท์อิทธิบาท 4 บุคคลใดเจริญทำให้มากทำให้เป็นดุจยานทำให้เป็นพื้นฐานตั้งไว้อบรมเริ่มไว้ดีแล้วบุคคลนั้นเมื่อปรารถนาก็พึงดำรงชีวิตอยู่ตลอดกัปหรือเกินกว่ากัป” พระอรรถกถาจารย์อธิบายว่า การเจริญอิทธิบาททำให้บุคคลมีชีวิตอยู่ตลอดอายุกัป หมายถึง มีชีวิตอยู่ได้จนครบเกณฑ์อายุขัยประมาณได้ 100 ปีหรือมากกว่านั้น 2. ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 มีความเข้าใจ เห็นความสำคัญของหลักอิทธิบาท 4 และปฏิบัติหน้าที่ตามหลักอิทธิบาท 4 โดยคิดเป็นร้อยละ ในงานธุรการ ด้านงานสืบสวนและด้านงานสอบสวน ทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับดีมากดังนี้ 1) ด้านงานธุรการ เป็นการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับเอกสารต้องมี ความพอใจ ความตั้งใจ ความเพียร และตรวจสอบความละเอียดในการปฏิบัติพบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 95 2) ด้านงานสืบสวนเป็นการปฏิบัติหน้าที่ ที่ต้องใช้ความสามารถ ในการปราบปรามจับกุมผู้กระทำความผิดต้องมีฉันทะ ความพอใจ ความมีวิริยะ มีความตั้งใจอดทนต่ออารมณ์ของผู้ถูกจับกุม และต้องใช้ปัญญาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอีก พบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับ ดีมาก ร้อยละ 93 3) ด้านงานสอบสวน เป็นการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานสำนวนการสอบสวนคดีอาญา คดีปกครอง คดีละเมิดและคดีอื่นๆ ต้องมีความพอใจ มีความเพียร มีความจดจ่ออยู่ในประเด็น เนื้อหาสาระของคดี มีการตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องก่อนที่จะเสนอความเห็นควรสั่งฟ้อง ไม่ฟ้องหรือมีความเห็นแย้งต่อไป พบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 93
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักอิทธิบาท 4 ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 โดยศึกษาข้อมูลจาก พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างและบุคคลากรในหน่วยงาน กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธรภาค 4 จำนวน 230 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ยเป็นร้อยละ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบบมีโครงสร้าง เจาะลึก (สุ่มแบบจงใจ) ข้าราชการตำรวจเป็นรายบุคคล (in-depth interview) โดยสัมภาษณ์ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการใน กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 จำนวน 38 คน วิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท ผลการวิจัยพบว่า : 1.อิทธิบาท 4 หมายถึง ธรรมที่เป็นเครื่องให้ถึงความสำเร็จหรือทางแห่งความสำเร็จซึ่งประกอบด้วย 1) ฉันทะ คือ ความพอใจรักใคร่เต็มใจใฝ่ใจในการทำงาน 2) วิริยะ คือ ความเพียรขยันอดทน ทำงานให้สำเร็จ 3) จิตตะ คือ การเอาใจจดจ่ออยู่กับงานที่ทำ 4) วิมังสา คือ เป็นการใช้ปัญญาในการไตร่ตรองสอบสวนพิจารณาตรวจสอบงานที่ทำซึ่งอิทธิบาท 4 นอกจากจะเป็นคุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จในงานที่ทำแล้วอิทธิบาท 4 ยังเป็นอายุวัฒนธรรม คือ ธรรมเป็นเหตุให้คนมีอายุยืนยาวอีกด้วยดังที่มีพุทธดำรัสรับรองไว้ในมหาปรินิพพานสูตรว่า“ยสฺส กสฺสจิ อานนฺท จตฺตาโร อิทฺธิปาทา” แปลความว่า “อานนท์อิทธิบาท 4 บุคคลใดเจริญทำให้มากทำให้เป็นดุจยานทำให้เป็นพื้นฐานตั้งไว้อบรมเริ่มไว้ดีแล้วบุคคลนั้นเมื่อปรารถนาก็พึงดำรงชีวิตอยู่ตลอดกัปหรือเกินกว่ากัป” พระอรรถกถาจารย์อธิบายว่า การเจริญอิทธิบาททำให้บุคคลมีชีวิตอยู่ตลอดอายุกัป หมายถึง มีชีวิตอยู่ได้จนครบเกณฑ์อายุขัยประมาณได้ 100 ปีหรือมากกว่านั้น 2. ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 4 มีความเข้าใจ เห็นความสำคัญของหลักอิทธิบาท 4 และปฏิบัติหน้าที่ตามหลักอิทธิบาท 4 โดยคิดเป็นร้อยละ ในงานธุรการ ด้านงานสืบสวนและด้านงานสอบสวน ทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับดีมากดังนี้ 1) ด้านงานธุรการ เป็นการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับเอกสารต้องมี ความพอใจ ความตั้งใจ ความเพียร และตรวจสอบความละเอียดในการปฏิบัติพบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 95 2) ด้านงานสืบสวนเป็นการปฏิบัติหน้าที่ ที่ต้องใช้ความสามารถ ในการปราบปรามจับกุมผู้กระทำความผิดต้องมีฉันทะ ความพอใจ ความมีวิริยะ มีความตั้งใจอดทนต่ออารมณ์ของผู้ถูกจับกุม และต้องใช้ปัญญาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอีก พบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับ ดีมาก ร้อยละ 93 3) ด้านงานสอบสวน เป็นการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานสำนวนการสอบสวนคดีอาญา คดีปกครอง คดีละเมิดและคดีอื่นๆ ต้องมีความพอใจ มีความเพียร มีความจดจ่ออยู่ในประเด็น เนื้อหาสาระของคดี มีการตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องก่อนที่จะเสนอความเห็นควรสั่งฟ้อง ไม่ฟ้องหรือมีความเห็นแย้งต่อไป พบว่ามีการใช้หลักอิทธิบาท 4 กับการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 93
This research has the objectives to study: 1) Iddhipatha4 in Theravada Buddhism, 2) the police’s performance of provincial investigation division region 4, and 3) an analytical study of iddhipatha 4 with the police’s performance of provincial investigation division region 4. The researcher studies the data from tripitaka, texts, books, and related researches, and collected the information 230 respondents by questionnaire and in-depth interviews with commander, deputy- commander, inspectors, deputy-inspectors. The results were as follows: 1. Iddhipahta 4 refers to the Dhamma that is a sign of success or the way of success. Which consists of 1) Chandha is contentment, love, willingness, desire for work, 2) Viriya: patience and persistence, diligence, patience, work success. 3) Jitta: concentrate and emphasize with the work, Check work. 4) Vimangsa: concentrate and ponder to check the work. And Iddhipatha 4 is also a cultural age. Dharma is also the reason why people live longer. As has been said by Buddha in the nirvana Interpret "Anon Iddhipatha 4 anyone who makes great progress make it like a ship Basicize The training has already started. That person, when he desires, should live forever or beyond. "The commentator explained that the growth of one's power makes a person to live through life. Eon means to live to the full life expectancy of approximately 100 years or more. 2. Police officer The Investigation Division of the Provincial Police Region 4 has an understanding of the importance of Iddhipatha 4 principles and acts in accordance with the Iddhipatha 4 principles as a percentage of the administrative work, the investigative work, and the investigations. 1) Administrative It is a duty related to documents, must be satisfied, intention, perseverance and check the resolution in practice, found that the use of the power of Iddhipatha 4 with duty is very good, 95% 2) Investigative: Is a duty that requires skill in suppressing the arrest of the offender, there must be courage, satisfaction, persistence, and determination to endure emotions. Of the arrested and must use wisdom to solve problems that occur again It was found that 93% of the work performed by the Iddhipatha 4 in the performance of duties were at a very good level. 3) Investigation It is a duty concerning criminal investigation, administrative cases, tort cases and other cases. Must be satisfied, with diligence, and focus on issues. The content of the case Have corrected before proposing an opinion, should sue Will not continue to sue or have conflicting opinions It was found that 93% of the work performed by the Iddhipatha 4 in performing duties were at a very good level.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
The objective of this thesis were as follows; 1) to study the application of Sanghavatthu in work performance of the Local Administrative Organization Personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas: infrastructure, quality of life promotion, and management and conservation of natural resources and environment 2) to compare the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel Phuttamonthon district Nakhon Pathom province based on their sex age educational level and work experience, and 3) to propose a guidance on the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The quantitative data were collected from 196 samples by questionnaires and analyzed by frequency, mean, percentage, standard deviation, T-test, F-test, One-way ANOVA and LSD method. The qualitative data were collected by in-depth interview with 5 administrators of Local Administrative Organization in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The results of the study found that: 1) The application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas was at a high level overall. In details, the highest level was on management and conservation of natural resources and environment, followed by quality of life promotion, and infrastructure respectively. 2) From the hypothesis testing, the personnel with different sexes, ages, educational levels, and work experiences had no different levels in the application of Sangkhahawatthu in their performance. 3) The guidelines on the application of Sanghahavatthu in work performance of the local Administrative organization personnel in Phuttamonthon district of Nakhon Pathom province are that the personnel should be encouraged and supported in opinion exchange in work, in hospitality to each other, and in work motivation and responsibility.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง 2) เพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 253 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของ “ทาโร ยามาเน่” (Taro Yamane) ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Random Sampling) และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (x ̅) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่า (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (f-test) หรือ (One–Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) การปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง 5 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด 3 ลำดับ ดังนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ด้านความพอประมาณในการปฏิบัติงาน รองลงมา ได้แก่ ด้านการมีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านความมีเหตุผลในการปฏิบัติงาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานของการวิจัย พบว่า พนักงานที่มีเพศ อายุ และประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยรวม 5 ด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยรวม 5 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญโดยรวมทั้ง 5 ด้าน เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง เห็นว่า การปฏิบัติงานของพนักงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นสิ่งสำคัญที่สามารถยึดถือปฏิบัติ โดยตั้งหมั่นอยู่บนความพอประมาณในการใช้จ่ายอย่างประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย รอบคอบ ใช้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจ มีการวางแผนงานและนำความรู้ที่มีมาปรับใช้ เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง ทั้งนี้ยังเป็นการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับความเสี่ยงและปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ความรู้ถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการปฏิบัติงาน ดังนั้นพนักงานควรหมั่นศึกษาหาความรู้ รวมถึงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ควบคู่กับการมีคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส น้อมนำหลักธรรมะมาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ และนำ คำสอนทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้ในการปฏิบัติงาน
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง 2) เพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 253 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของ “ทาโร ยามาเน่” (Taro Yamane) ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Random Sampling) และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (x ̅) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่า (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (f-test) หรือ (One–Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) การปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง 5 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด 3 ลำดับ ดังนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ด้านความพอประมาณในการปฏิบัติงาน รองลงมา ได้แก่ ด้านการมีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านความมีเหตุผลในการปฏิบัติงาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานของการวิจัย พบว่า พนักงานที่มีเพศ อายุ และประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยรวม 5 ด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยรวม 5 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญโดยรวมทั้ง 5 ด้าน เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง เห็นว่า การปฏิบัติงานของพนักงานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นสิ่งสำคัญที่สามารถยึดถือปฏิบัติ โดยตั้งหมั่นอยู่บนความพอประมาณในการใช้จ่ายอย่างประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย รอบคอบ ใช้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจ มีการวางแผนงานและนำความรู้ที่มีมาปรับใช้ เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง ทั้งนี้ยังเป็นการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับความเสี่ยงและปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ความรู้ถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการปฏิบัติงาน ดังนั้นพนักงานควรหมั่นศึกษาหาความรู้ รวมถึงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ควบคู่กับการมีคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส น้อมนำหลักธรรมะมาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ และนำ คำสอนทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้ในการปฏิบัติงาน
This thesis has the following objectives : 1) to study the work performance under the concept of sufficiency economy philosophy of local government organization employees In Pluak Daeng District, Rayong Province, 2) to compare the work performance under the concept of sufficiency economy philosophy In Pluak Daeng District of Rayong Province of employees with different gender, age, educational level and work experiences, and 3) to propose guidelines for working under the concept of sufficiency economy philosophy of employees in local government organizations In Pluak Daeng District, Rayong Province. The data were collected by questionnaire from 253 samples determined the sample size by using the formula of "Taro Yamane" Convenience Random Sampling and by in-depth interviews with 5 key informant. The research tools were questionnaires and interview forms. The statistics used in this research are descriptive statistics; frequency, percentage, mean (x ̅) standard deviation (S.D.) and inferential statistics including t-test and variance test (f-test) or (One – Way ANOVA). If there are significant statistical differences, the methods of LSD (Least Significant Difference) will be used. The research findings revealed that: 1) The work performance under the concept of sufficiency economy philosophy in 5 areas is at a high level in total. When arranged in 3 sequences from the highest to the least, it starts with moderation in the work, followed by morality and ethics in work performance, and reason in the work performance respectively. 2) In research hypothesis testing, employees with different genders, ages and work experiences have work performance under the concept of sufficiency economy philosophy indifferently. The employees with different educational levels have work performance under the concept of sufficiency economy philosophy differently with a significantly statistical figure at 0.05 3) Based on interviews with key informants, working under the concept of sufficiency economy philosophy is essential and practical based on moderation, saving, not being extravagant, discreet, making decisions with reason, planning, and applying knowledge in work to strengthen and immunize oneself. In addition, it is a preparation to confront with risks and problems to be happened. Knowledge is a key factor in work operation. Therefore, employees should keep learning, exchanging experiences with each other, and should have morality, ethics, honesty, transparency, and abide by Dhamma in living a life and work.
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปฏิบัติทางการปกครองตามหลัก สังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และ 3) เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บข้อมูลจากประชาชนผู้ใช้บริการผู้ใช้บริการที่สถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล จำนวน 4,498 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 368 คน ตามสูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) และมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาในแต่ละด้านโดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านงานอำนวยการ รองลงมาคือ ด้านงานสืบสวนสอบสวน และด้านงานจราจร และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านงานป้องกันปราบปราม ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่างกัน มีความคิดเห็น ต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมโดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ส่วนประชาชนที่มีเพศ และอายุ ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปฏิบัติทางการปกครองไม่แตกต่างกัน 3.
วิทยานิพนธ์มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปฏิบัติทางการปกครองตามหลัก สังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และ 3) เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บข้อมูลจากประชาชนผู้ใช้บริการผู้ใช้บริการที่สถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล จำนวน 4,498 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 368 คน ตามสูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) และมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาในแต่ละด้านโดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านงานอำนวยการ รองลงมาคือ ด้านงานสืบสวนสอบสวน และด้านงานจราจร และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านงานป้องกันปราบปราม ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่างกัน มีความคิดเห็น ต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมโดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ส่วนประชาชนที่มีเพศ และอายุ ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปฏิบัติทางการปกครองไม่แตกต่างกัน 3.
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมในแต่ละด้าน ดังนี้ ด้านงานอำนวยการ ควรมีปริมาณเจ้าหน้าที่ตำรวจมาอำนวยการให้บริการประชาชน ในการให้คำแนะนำต่างๆ อย่างทั่วถึง ในการรับผิดชอบเกี่ยวกับการดูแลเรื่องวินัยกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับโดยการทำงานนั้นเจ้าหน้าที่ตำรวจต้องรู้จักการให้ เช่น การให้ความช่วยเหลือ ให้คำแนะนำ ให้กำลังใจกับประชาชนที่มีความเดือดร้อนประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์ และประชาสัมพันธ์เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ประชาชนเพื่อความสงบสุขของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ด้านงานป้องกันปราบปรามตำรวจ ต้องใส่ใจและทำหน้าที่ในการป้องกันทั้งยาเสพติด และการเกิดอาชญากรรม เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนโดยการตั้งหน่วยบริการประชาชนหรือตั้งด่านตรวจชะลอการเกิดอุบัติเหตุกิจกรรมชุมชนมวลชนสัมพันธ์ ด้วยวาจา ที่เป็นประโยชน์ ยึดความปลอดภัยของประชาชนเป็นที่ตั้ง ด้านงานสืบสวนสอบสวนตำรวจ ไม่ควรปล่อยให้มีคดีตกค้างนานและสอบสวนอย่างโปร่งใสผู้บังคับบัญชาต้องคอยกวดขันและติดตามคดีต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความกระตือรือร้น ไปถึงที่เกิดเหตุโดยรวดเร็วมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับประชาชน ให้ระลึกอยู่เสมอว่า ประชาชนทุกคนก็เหมือนญาติพี่น้อง สิ่งไหนช่วยเขาได้ ก็ต้องช่วยด้วยความเต็มใจให้คำแนะนำที่ดีแก่ประชาชน ด้านงานจราจรควรปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาจราจรในชั่วโมงเร่งด่วนและภาวะปกติ หรือในกรณี มีอุบัติเกิดขึ้น พร้อมทั้งตรวจสภาพการจราจร ในถนนสายต่างๆ และบังคับใช้กฎหมายจราจร กับผู้ขับขี่ยานพาหนะอบรมบรรยาย ให้ความรู้ตามสถานศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ ให้ความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร ระเบียบ ข้อบังคับ สัญญาณจราจร และเครื่องหมายจราจรต่างๆ แก่นักเรียน
The objectives of this research were: 1. to study administrative procedure according to Sangahavatthu of Phutthamonthon Police Station in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province, 2. to compare the opinions of service recipients on administrative procedure according to Sangahavatthu of Phutthamonthon Police Station in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province, and 3. to give recommendations on administrative procedure according to Sangahavatthu of Phutthamonthon Police Station in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province. The mixed research methods were used in the study. The quantitative data were collected by questionnaire from 368 samples of 4,498 service recipients at Phutthamonthon Police Station. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 5 key-informants. The statistics used in the research were frequency, percentage, mean, standard deviation and content analysis. The results of the study found that: 1.The people’s opinions on administrative procedure according to Sangahavatthu of Phutthamonthon Police Station in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province were at a high level overall. In descending order, the highest level was on Administrative work, followed by Investigation work, Traffic work, and Prevention and Suppression work respectively. 2.In comparative results, the people with different education level, occupation and income had different opinions on administrative procedure according to Sangahavatthu of Phutthamonthon Police Station with statistical significance at 0.05, but the difference was not on those with different gender and age. The suggestions were as follows: In Administrative work; there should be the police officers to give advice and supervise the discipline, laws, rules, and regulations. The police officers should provide advices and assistances to encourage people to overcome their troubles and to keep peacefulness in the area. In Prevention and Suppression; the police should pay attention and take an action to prevent both drugs and crimes for the safety of people's lives and properties. Checkpoints to slow down accidents, community activities, and public relations should be arranged for the safety of people. In Investigative work; the police shouldn't let the cases remain for a long time. Investigation should be performed transparently and enthusiastically under the supervision of supervisors. The police officers should reach the scene as soon as possible and have good human relations with people. In Traffic work; the traffic law should be strictly enforced all the time. The traffic laws and traffic regulations should be provided to people by propagation and training courses.