Search results

23 results in 0.15s

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ 2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านขั้นตอนการดำเนินงาน ด้านการวางระบบและแผนดำเนินงาน ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล และด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษา ตามลำดับ 2) คุณภาพผู้เรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผู้เรียนมีทักษะชีวิต ด้านผู้เรียนเป็นคนดี ด้านผู้เรียนมีความสามารถในการคิด และด้านผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตามลำดับ 3) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษาด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.673 (R = 0.673) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้ร้อยละ 45.2 (R^2= 0.452) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 1.620 + 0.538 (x5) + 0.236 (x1) + -0.192 (x4) (R^2= 0.452) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.677 (x5) + 0.275 (x1) + -0.245 (x4) (R^2= 0.452)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ 2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านขั้นตอนการดำเนินงาน ด้านการวางระบบและแผนดำเนินงาน ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล และด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษา ตามลำดับ 2) คุณภาพผู้เรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผู้เรียนมีทักษะชีวิต ด้านผู้เรียนเป็นคนดี ด้านผู้เรียนมีความสามารถในการคิด และด้านผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตามลำดับ 3) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษาด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.673 (R = 0.673) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้ร้อยละ 45.2 (R^2= 0.452) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 1.620 + 0.538 (x5) + 0.236 (x1) + -0.192 (x4) (R^2= 0.452) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.677 (x5) + 0.275 (x1) + -0.245 (x4) (R^2= 0.452)
The objectives of the study were: 1) to study the administration of the student care system of the school administrators under Bangkok Metropolis of Southern Krungthon Group, 2) to study the quality of students in schools under Bangkok Metropolis of Southern Krungthon Group and, 3) to study the administration of the student care system of the school administrators that affect quality of students in schools under Bangkok Metropolis of southern Krungthon group. A sample was collected from 295 informants from 59 schools including director, leader of academic administration, teachers in charge of the student care and support system and teachers. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple linear regression by stepwise regression. The results of the research ware as follows: 1) The administration of the student care system of the school administrators under Bangkok Metropolis of Southern Krungthon group was at a high level in overall. The ranging by the average from high to low was that the direction and strategy, operational procedures,system planning and implementation plan, in-service monitoring and evaluation and improvement and development of school innovation respectively. 2) The quality of learners under Bangkok metropolis of southern Krungthon group was at a high level in overall. The ranging by the average from high to low was that the learner has life skills, the learner is good, the learner has the ability to think, and the learner has the ability to follow the curriculum respectively. 3) The administration of the student care system of school administrators Affecting to quality of students in schools under Bangkok Metropolis of southern Krungthon group was statistically significant at the 0.01 level. The most significant level was on improvement and development of school innovation, direction and strategy, supervision monitoring and evaluation was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.673 (R = 0.673) which can explain the variance of management of the student care and support system of school administrators under Bangkok metropolis of southern Krungthon group at 45.2% (R^2= 0.452). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 1.620 + 0.538 (x5) + 0.236 (x1) + -0.192 (x4) (R^2= 0.452) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.677 (x5) + 0.275 (x1) + -0.245 (x4) (R^2= 0.452)
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 74 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามประมาณค่า จำนวน 40 ข้อ และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านการส่งเสริมนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการส่งต่อ และด้านการคัดกรอง 2. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ 2.1) ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล สถานศึกษาควรร่วมมือกับผู้ปกครองในการวางแผน กำกับ ติดตามนักเรียน โดยใช้เครื่องมือที่หลากหลายเพื่อบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนทั้งในและนอกสถานศึกษา เช่น แบบประเมินพฤติกรรม ทะเบียนประวัติ แบบบันทึกเยี่ยมบ้าน แบบรายงานผลการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลและควรจัดทำโครงการเยี่ยมบ้านนักเรียนอย่างจริงจังต่อเนื่อง ตลอดจนสนับสนุนงบประมาณในการเยี่ยมบ้านให้เพียงพอ 2.2) ด้านการคัดกรองนักเรียน สถานศึกษาควรจัดอบรมให้ความรู้แก่ครูในการคัดกรองนักเรียนมีการประชุมเพื่อจัดทำเกณฑ์การคัดกรองนักเรียนโดยใช้เครื่องมือเชิงประจักษ์และสรุปรายงานการคัดกรองตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2.3) ด้านการส่งเสริมนักเรียน สถานศึกษาควรจัดตั้งเครือข่ายผู้ปกครองทุกระดับชั้นและให้มีการประชุมเครือข่ายเพื่อร่วมมือกันในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.4) ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่หลากหลายตามความสนใจของนักเรียนและสอดคล้องกับทักษะความสามารถ ความถนัดของนักเรียน เพื่อเป็นการป้องกันการใช้เวลาว่างไปทำกิจกรรมไม่พึงประสงค์ และ 2.5) ด้านการส่งต่อ สถานศึกษาควรทำข้อตกลงกับหน่วยงานภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญในการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาของนักเรียน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและสะดวกในการติดต่อประสานงานการส่งต่อนักเรียนไปรับการช่วยเหลือ
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 74 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามประมาณค่า จำนวน 40 ข้อ และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านการส่งเสริมนักเรียน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการส่งต่อ และด้านการคัดกรอง 2. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ 2.1) ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล สถานศึกษาควรร่วมมือกับผู้ปกครองในการวางแผน กำกับ ติดตามนักเรียน โดยใช้เครื่องมือที่หลากหลายเพื่อบันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนทั้งในและนอกสถานศึกษา เช่น แบบประเมินพฤติกรรม ทะเบียนประวัติ แบบบันทึกเยี่ยมบ้าน แบบรายงานผลการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลและควรจัดทำโครงการเยี่ยมบ้านนักเรียนอย่างจริงจังต่อเนื่อง ตลอดจนสนับสนุนงบประมาณในการเยี่ยมบ้านให้เพียงพอ 2.2) ด้านการคัดกรองนักเรียน สถานศึกษาควรจัดอบรมให้ความรู้แก่ครูในการคัดกรองนักเรียนมีการประชุมเพื่อจัดทำเกณฑ์การคัดกรองนักเรียนโดยใช้เครื่องมือเชิงประจักษ์และสรุปรายงานการคัดกรองตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2.3) ด้านการส่งเสริมนักเรียน สถานศึกษาควรจัดตั้งเครือข่ายผู้ปกครองทุกระดับชั้นและให้มีการประชุมเครือข่ายเพื่อร่วมมือกันในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.4) ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่หลากหลายตามความสนใจของนักเรียนและสอดคล้องกับทักษะความสามารถ ความถนัดของนักเรียน เพื่อเป็นการป้องกันการใช้เวลาว่างไปทำกิจกรรมไม่พึงประสงค์ และ 2.5) ด้านการส่งต่อ สถานศึกษาควรทำข้อตกลงกับหน่วยงานภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญในการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาของนักเรียน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและสะดวกในการติดต่อประสานงานการส่งต่อนักเรียนไปรับการช่วยเหลือ
The paper served the purposes to study: 1) operations of student care and assistance systems in Roi Et Provincial Administration Organization’s schools, 2) suggestions for enhancing operations of their student care and assistance systems in its schools. The target groups were school administrators and teaching-tasked teachers in its schools, tallying 74 in number. The instrument for data collection was the rating questionnaire containing forty questions, and the reliability of the whole questions amounting to 0.97. The statistics utilized for data analyses embraced percentage, mean and standard deviation by making use of the computer software package. Results of the research findings : 1) Operations of student care and assistance systems in its schools have been rated ‘high’ in the overall aspect, as has one single aspect taken into consideration. Each of aspects ranked in their descending order of means includes: support of students, problem prevention and solving, intimacy, referral, and screening procedures. 2) Suggestions for enhancing operations of assistance systems in its schools are that schools should : 2.1) cooperate with student guardians for planning, directing and keeping watching students in need by using such numerous tools to record their behavioral observations both inside and outside schools as SDQ, bio-data registration, a home visit form, a report form on intimacy, drawing up actual, successive a home visit scheme including the support of the sufficient budget, 2.2) organize training courses on screening procedures, holding meetings to look for criteria for screening students by using empirical tools and summing up reports on screening them following the established criteria, 2,3) set up student guardians’ networks to have covered at all levels, holding the meetings to seek for cooperation of assistance systems, 2.4) organize extra curriculum activities of various kinds in line with students’ interests, skills and competency to prevent them from spending their time on doing undesirable activities and, 2.5) make agreements with outsourcers specialized in helping solve students’ problems that will culminate in cooperation, facilitation of contacts and coordination with transferable of students to receive assistance.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558