Search results

33,640 results in 0.13s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ นี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จำนวน 108 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 3 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 324 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ตามแนวความคิดของ อาคม มากมีทรัพย์ และการบริหารงานวิชาการ ตามแนวความคิดของ กระทรวงศึกษาธิการ สถิติที่ใช้ คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบวา 1. จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวม และรายดานทุกดานอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่ามีการกระจายของข้อมูลน้อย แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขาคณิตจากมากไปน้อย พบว่า จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านความซื่อสัตย์ อยู่ในระดับมาก รองลงมา ด้านธรรมาภิบาล อยู่ในระดับมาก ด้านความมีวินัย ด้านกัลยาณมิตร อยู่ในระดับมาก ด้านความเมตตา กรุณา อยู่ในระดับมาก ด้านความยุติธรรม อยู่ในระดับมาก และลำดับที่สุดท้ายด้านการเป็นผู้นำ อยู่ในระดับมากตามลำดับ 2. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวม และรายดานทุกดานอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่ามีการกระจายของข้อมูลน้อย แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขาคณิตจากมากไปน้อย พบว่า ด้านการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก รองลงมา ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา อยู่ในระดับมาก ด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา อยู่ในระดับมาก ด้านการวัดผลประเมินผล อยู่ในระดับมาก ด้านสื่อการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก และลำดับที่สุดท้ายด้านการวิจัยในชั้นเรียนอยู่ในระดับมากตามลำดับ 3.
วิทยานิพนธ์ นี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จำนวน 108 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 3 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 324 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ตามแนวความคิดของ อาคม มากมีทรัพย์ และการบริหารงานวิชาการ ตามแนวความคิดของ กระทรวงศึกษาธิการ สถิติที่ใช้ คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบวา 1. จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวม และรายดานทุกดานอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่ามีการกระจายของข้อมูลน้อย แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขาคณิตจากมากไปน้อย พบว่า จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านความซื่อสัตย์ อยู่ในระดับมาก รองลงมา ด้านธรรมาภิบาล อยู่ในระดับมาก ด้านความมีวินัย ด้านกัลยาณมิตร อยู่ในระดับมาก ด้านความเมตตา กรุณา อยู่ในระดับมาก ด้านความยุติธรรม อยู่ในระดับมาก และลำดับที่สุดท้ายด้านการเป็นผู้นำ อยู่ในระดับมากตามลำดับ 2. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวม และรายดานทุกดานอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่ามีการกระจายของข้อมูลน้อย แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขาคณิตจากมากไปน้อย พบว่า ด้านการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก รองลงมา ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา อยู่ในระดับมาก ด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา อยู่ในระดับมาก ด้านการวัดผลประเมินผล อยู่ในระดับมาก ด้านสื่อการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก และลำดับที่สุดท้ายด้านการวิจัยในชั้นเรียนอยู่ในระดับมากตามลำดับ 3.
จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 คือ ด้านธรรมาภิบาล (X3) ด้านกัลยาณมิตร (X2) ด้านการเป็นผู้นำ (X6) และด้านความซื่อสัตย์ (X5) มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (R) ในการทำนายภาพรวม (Ytot) เท่ากับ 0.879 ค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนาย ได้ร้อยละ 77.20 (R2 = 0.772) ค่าประสิทธิภาพในการทำนายที่ปรับแล้ว (Adjusted R2) เท่ากับ 0.769 มีค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการทำนาย (Standard Error) เท่ากับ 0.091 ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ภาพรวม (Ytot) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = 1.625 + 0.583(X3) + -0.355(X2) + 0.247(X6) + 0.141(X5) (R2 = 0.772) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.787(X3) + -0.435(X2) + 0.334(X6) + 0.175(X5) (R2 = 0.772)
The research aimed to: 1) study the ethics of school administrators under the Ratchaburi Primary Educational Service Area Office, 2 2)study the academic administration in schools under the Ratchaburi Primary Educational Service Area Office, 2 3) study the ethics of school administrators affecting to academic administration in schools under the Ratchaburi Primary Educational Service Area Office, 2 The results were found that: 1)Ethics of school administrators under the Ratchaburi Primary Educational Service Area Office, 2. Honesty, good governance, discipline, friend, mercy please, justice, and leadership. 2)Academic Administration in Schools Under the Ratchaburi Primary Educational Service Area Office, 2.Teaching management, Quality Assurance,curriculum development of educational institutions, supervision within educational institutions, evaluation, teaching materials, and classroom research. 3)Ethics of School Administrators Affecting to Academic Administration in Schools Under the Ratchaburi Primary Educational Service Area Office, 2.Good governance (X3) friend (X2) leadership (X6) and honesty (X5) with which the Ethics of School Administrators can be predicted with statistical significance at the level of .05, multiple correlation coefficient of 0.879, prediction coefficient of 77.20 (R2 = 0.772), Adjusted R2 of 0.769, and standard error of 0.091. The prediction equation in the form of raw score can be derived as follows: Y' = 1.625 + 0.583(X3) + -0.355(X2) + 0.247(X6) + 0.141(X5) (R2 = 0.772) And the prediction equation in the form of standardized score can be derived as follows: Zy′ = 0.787(X3) + -0.435(X2) + 0.334(X6) + 0.175(X5) (R2 = 0.772)
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตาม เพศ อายุ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยม ศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ คณะกรรมการบริหาร และครูผู้สอนโรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม และโรงเรียนตระกูลประเทืองวิทยาคม จำนวน 76 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ไปหาค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านการวางแผนงานกิจ การนักเรียน ด้านการส่งเสริมพัฒนาให้ นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ด้านการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านการประเมินผลการดำเนินงานกิจการนักเรียน ด้านการดำเนินการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน และด้านการบริหารกิจการนักเรียน 2. การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียน ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศและประสบการณ์การทำงานไม่แตกต่างกัน ส่วนจำแนกตามตำแหน่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามระดับอายุ ด้านการบริหารกิจการนักเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยม ศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ควรจัดทำข้อมูลและจัดทำแผนงานกิจการนักเรียนเป็นลายลักษณ์อักษร แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติตามแผน ดำเนินงานตามแผน ประเมินผลการดำเนินงานประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในโรงเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง หน่วยงานที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับเยาวชน มีการประสานงานอย่างต่อเนื่อง ประเมินและติดตามผลการปฏิบัติ ควรจัดทำคู่มือนักเรียนเกี่ยวกับกฎระเบียบของโรงเรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาความประพฤติและระเบียบวินัยเป็นประจำและต่อเนื่อง ควรแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร ควรรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน ควรประเมินผลงานกิจการนักเรียนโดยมีหลักฐานให้ตรวจสอบได้
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตาม เพศ อายุ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยม ศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ คณะกรรมการบริหาร และครูผู้สอนโรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม และโรงเรียนตระกูลประเทืองวิทยาคม จำนวน 76 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ไปหาค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านการวางแผนงานกิจ การนักเรียน ด้านการส่งเสริมพัฒนาให้ นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ด้านการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านการประเมินผลการดำเนินงานกิจการนักเรียน ด้านการดำเนินการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน และด้านการบริหารกิจการนักเรียน 2. การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียน ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศและประสบการณ์การทำงานไม่แตกต่างกัน ส่วนจำแนกตามตำแหน่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามระดับอายุ ด้านการบริหารกิจการนักเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยม ศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ควรจัดทำข้อมูลและจัดทำแผนงานกิจการนักเรียนเป็นลายลักษณ์อักษร แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติตามแผน ดำเนินงานตามแผน ประเมินผลการดำเนินงานประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในโรงเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง หน่วยงานที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับเยาวชน มีการประสานงานอย่างต่อเนื่อง ประเมินและติดตามผลการปฏิบัติ ควรจัดทำคู่มือนักเรียนเกี่ยวกับกฎระเบียบของโรงเรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาความประพฤติและระเบียบวินัยเป็นประจำและต่อเนื่อง ควรแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร ควรรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน ควรประเมินผลงานกิจการนักเรียนโดยมีหลักฐานให้ตรวจสอบได้
The objectives of this research were : 1) to study condition of the management of student affairs based on the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawatthu 4) in secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28 2) to compare the management of student affairs based on the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawattu 4) in secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, divided by gender, age, position and work experience 3) to study recommendations for the management of student affairs based on the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawattu 4) in secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, the samples used in the research were 76 School Directors, Deputy Directors, the Executive Committee and teachers of Mahachanachai Wittayakom School and Trakoonpratuang Wittayakom School, Tool was used to collect data as a questionnaire of the content validity of 0.67-1.00 with the confidence as .91 The results of the study as follows : 1.The condition of student affairs administration according to the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawatthu 4) in secondary schools in Maha-chanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, overall was at a high level, ranked the aspects with the highest average to the lowest, namely, planning student affairs in promoting and developing students to have discipline, morality, operating ethics, student care system, in the evaluation of student affairs, the promotion of democracy schools and in the administration of student affairs. 2.Comparison of student affairs administration opinion levels according to the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawatthu4) in secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, classified by gender and work experience was the same. According to the position, the difference was statistically significant at the level 0.5 and classified by age in student affairs administration were statistically significant at the level 0.5. Other aspects were not different. 3.Suggestions for the administration of student affairs according to the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawattu 4) in secondary schools in Maha-chanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, should prepare information and prepare a written student affairs plan, appoint a person responsible for the implementation od the plan. Implement the performance appraisal plan , coordinate with various departments within the school such as parent networks, Youth department responsible, continuous coordination, evaluate and monitor of performance. Student handbooks should be developed on the rules, School regulation. Organize regular and ongoing behavioral and disciplinary promotion activities. A written implementation Committee should be established in writing. Students’ opinions should be assessed. Student affairs should be evaluated with evidence to be verified.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 พระพุทธเจ้า บทที่ 1 พุทธประวัติ
  • บทที่ 2 มุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า
  • ส่วนที่ 2 พระธรรม บทที่ 3 ลักษณะของคำสอน
  • บทที่ 4 พระพุทธศาสนากับสังคมและความสัมพันธ์ของมนุษย์
  • บทที่ 5 ชีวิตมนุษย์
  • บทที่ 6 พุทธมรรคาและหลักปฏิบัติ
  • บทที่ 7 จริยธรรม
  • บทที่ 8 การปฏิบัติภาวนา
  • บทที่ 9 ปัญญา
  • บทที่ 10 เป้าหมายของพระพุทธศาสนา
  • ส่วนที่ 3 พระสงฆ์ บทที่ 11 บรรพชิตและฆราวาสผู้ปฏิบัติธรรมและพระอริยบุคคล
  • บทที่ 12 บุคคลผู้เป็นแบบอย่าง
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และระดับการศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำนวน 88 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยง ตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสถิติด้วนค่า t-test และ F-test ผลการวิจัยพบว่า 1.การบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการยอมให้ ด้านการหลีกเลี่ยง ด้านการประนีประนอม ด้านการร่วมมือ และด้านการเอาชนะ ตามลำดับ 2.เปรียบเทียบการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และระดับการศึกษา ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ผู้บริหารควรแสวงหาเหตุผลในการที่จะทำให้บรรลุเป้าหมาย แก้ปัญหาความขัดแย้งที่จะนำไปสู่ผลที่พึงพอใจทั้งสองฝ่าย ซึ่งจะนำไปสู่ความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรในองค์กร โดยที่ผู้บริหารจะต้องมุ่งให้ทุกฝ่ายตระหนักว่าอะไรคือสิ่งที่ต้องแก้ไข โดยพิจารณาเหตุของความขัดแย้งและหาวิธีการจัดการกับความขัดแย้งที่เหมาะสม
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และระดับการศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำนวน 88 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยง ตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสถิติด้วนค่า t-test และ F-test ผลการวิจัยพบว่า 1.การบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการยอมให้ ด้านการหลีกเลี่ยง ด้านการประนีประนอม ด้านการร่วมมือ และด้านการเอาชนะ ตามลำดับ 2.เปรียบเทียบการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และระดับการศึกษา ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ผู้บริหารควรแสวงหาเหตุผลในการที่จะทำให้บรรลุเป้าหมาย แก้ปัญหาความขัดแย้งที่จะนำไปสู่ผลที่พึงพอใจทั้งสองฝ่าย ซึ่งจะนำไปสู่ความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรในองค์กร โดยที่ผู้บริหารจะต้องมุ่งให้ทุกฝ่ายตระหนักว่าอะไรคือสิ่งที่ต้องแก้ไข โดยพิจารณาเหตุของความขัดแย้งและหาวิธีการจัดการกับความขัดแย้งที่เหมาะสม
The purposes of this study were to 1)To study personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28 2) compare personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28 classified by the difference of gender, experience and education 3) study on recommendations for personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28. The samples were 88. The instruments used for collecting data were rating scale questionnaire with 5 levels.Have content accuracy of 0.67-1.00 and a con-fidence of .89. Data were analyzed to find frequency, percentage, mean, standard deviation. And to test statistics by amending t-test and F-test. The results of this study found that 1. The condition of personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28, overall at a high level. When considering each aspect, sorted from the side with high mean to low, ie allowance side. Side of avoidance Compromise Cooperation And overcoming. 2. compare personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28, classified by the difference of gender, experience and education Overall was no different. 3. study on recommendations for personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28. Management should seek reasons for achieving the goals. Resolving conflicts that will lead to satisfactory results for both parties. The cooperation of personnel in the organization The management must aim to make all parties aware of what needs to be resolved. By considering the causes of the conflict and finding appropriate methods of dealing with the conflict.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551