Search results

10 results in 0.05s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ และตำแหน่งงาน แตกต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 4 แห่ง จำนวน 207 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaires) มาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์และประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมี 2 ประเภท ได้แก่ 1) สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( )และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ 2) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงทำการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) และใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ และด้านหลักการมีส่วนร่วม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย พบว่า บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาครที่มีเพศต่างกัน มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานบริการสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวม และในรายด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนที่มีอายุต่างกัน โดยรวม ไม่แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่า ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และที่มีตำแหน่งงานต่างกัน โดยรวม แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่าด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักนิติธรรมด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร มีดังนี้ 1) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรรักษามาตรฐานที่ดีอยู่แล้วต่อไปอย่างต่อเนื่องในด้านนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใส ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุดซึ่งจะเป็นแบบอย่างองค์กรคุณภาพที่ดีทั้งในและนอกหน่วยงาน 2) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการส่งเสริมพัฒนาให้มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ในด้านหลักความคุ้มค่าด้านหลักความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น ซึ่งอยู่ในระดับมาก และด้านหลักการมีส่วนร่วม ควรเน้นให้ความสำคัญของการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ และตำแหน่งงาน แตกต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 4 แห่ง จำนวน 207 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaires) มาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์และประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมี 2 ประเภท ได้แก่ 1) สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( )และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ 2) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงทำการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) และใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ และด้านหลักการมีส่วนร่วม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย พบว่า บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาครที่มีเพศต่างกัน มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานบริการสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวม และในรายด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนที่มีอายุต่างกัน โดยรวม ไม่แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่า ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และที่มีตำแหน่งงานต่างกัน โดยรวม แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่าด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักนิติธรรมด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร มีดังนี้ 1) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรรักษามาตรฐานที่ดีอยู่แล้วต่อไปอย่างต่อเนื่องในด้านนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใส ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุดซึ่งจะเป็นแบบอย่างองค์กรคุณภาพที่ดีทั้งในและนอกหน่วยงาน 2) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการส่งเสริมพัฒนาให้มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ในด้านหลักความคุ้มค่าด้านหลักความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น ซึ่งอยู่ในระดับมาก และด้านหลักการมีส่วนร่วม ควรเน้นให้ความสำคัญของการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร
และผู้รับบริการเป็นอย่างมากตามหลักความเป็นเลิศทางธรรมาภิบาล ซึ่งอยู่ในระดับมาก แต่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดใน 6 ด้าน ซึ่งจะเป็นองค์กรคุณภาพที่ดี และมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป
This thematic paper had the following objectives: 1) to study an application of good governance principles in performing duties of public health personnel in public sector of Samut Sakhon province; 2) to compare the application of good governance principles in performing duties of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province, by categorizing personal factors with gender, age and occupation; and 3) to suggest guidelines for the application of good governance in the performance of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province. It was a survey research. The sample group was public health personnel In public sector of Samut Sakhon Province, 4 locations, 207 persons. Simple Random Sampling method was used. The research instruments were questionnaires, five levels of estimation scale, with the whole confidence value of .963, analyzed and processed by computer. The used statistics for data analysis were of 2 types : 1) descriptive statistics were frequency, percentage, average and standard deviation (S.D.) and 2) inferential statistics, namely, T-test and one-way ANOVA. When differences were found to be statistically significant at the level of 0.05, the average difference was tested by Scheffé's method and using content analysis techniques. The research was found as follows : 1) The level of applying good governance in the performance of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province, including all 6 aspects, was at a high level. When considering each aspect by sorting by average from descending order, it was in the aspect of rule of law, the aspect of moral principles, the aspect of transparency, the aspect of cost-effectiveness, the aspect of responsibility and the aspect of participation, respectively. 2) The results of the hypothesis testing of the research were found as follows: the personnel, with different gender, as the whole view and in each aspect, had no different level of applying of good governance in the performance of public health; the personnel with different age, as the whole view, had no different level, but in each aspect, it was found that personnel had no different level in the aspect of the rule of law, and the aspect of responsibility; the personnel had different level in the aspect of moral principles, the aspect of transparency, the aspect of cost effectiveness, and the aspect of participation, with statistical significance at the level of 0.05. 3) Suggestions on the application of good governance principles in the performance of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province were as follows: 1) in the aspect of the rule of law, the aspect of moral principles, and the aspect of transparency, which were at high level, the personnel should be trained to maintain such a good standard; and 2) in the aspect of cost-effectiveness, and the aspect of responsibility, which were at high level as well, the personnel should be encouraged and developed in good governance principles in performing duties; and in the aspect of participation, the personnel should be emphasized the importance of participation of public health and the service recipients, which were at a high level, but had the least average in 6 areas, and this would be a good quality organization and the most effective.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556