Search results

17 results in 0.11s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 3) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียน โดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายงานบริหาร ครูผู้สอน รวมทั้งหมด 280 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา และ การบริหารจัดการ ของสถานศึกษา สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า : 1. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 10 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักภาระรับผิดชอบ ด้านหลักความเสมอภาค ด้านหลักประสิทธิผล ด้านหลักการกระจายอำนาจ ด้านมุ่งเน้นฉันทามติ ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักประสิทธิภาพ และด้านหลักการตอบสนอง ตามลำดับ 2. การบริหารจัดการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานวิชาการ ด้านบริหารงานงบประมาณ และด้านบริหารงานบุคคล ตามลำดับ 3. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านนิติธรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 64.00 (R2 = 0.640) สามารถเขียนเป็นรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 1.262+ 0.217 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.258 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.254 (ด้านหลักนิติธรรม) สมการคะแนนมาตรฐาน = 0.257 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.307 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.293 (ด้านหลักนิติธรรม
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 3) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียน โดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายงานบริหาร ครูผู้สอน รวมทั้งหมด 280 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา และ การบริหารจัดการ ของสถานศึกษา สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า : 1. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 10 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักภาระรับผิดชอบ ด้านหลักความเสมอภาค ด้านหลักประสิทธิผล ด้านหลักการกระจายอำนาจ ด้านมุ่งเน้นฉันทามติ ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักประสิทธิภาพ และด้านหลักการตอบสนอง ตามลำดับ 2. การบริหารจัดการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานวิชาการ ด้านบริหารงานงบประมาณ และด้านบริหารงานบุคคล ตามลำดับ 3. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านนิติธรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 64.00 (R2 = 0.640) สามารถเขียนเป็นรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 1.262+ 0.217 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.258 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.254 (ด้านหลักนิติธรรม) สมการคะแนนมาตรฐาน = 0.257 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.307 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.293 (ด้านหลักนิติธรรม
The objectives of this research were: 1) to study good governance of administrators under Office of Secondary Educational Service Area 1, 2) to study school administration under Office of Secondary Educational Service Area 1, and 3) to study the good governance of administrators affecting school administration under Office of Secondary Educational Service Area 1. The data were collected by questionnaires from 280 samples in 56 schools consisting of school directors, heads of departments, and teachers. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regressions in steps. The results of the study were found that: 1. The level of good governance of school administrators under Office of Secondary Educational Service Area 1 was high overall. In each aspect, the highest level started at rule of law, followed by cooperation, responsibility, equality, efficiency, decentralization, agreement, transparency, effectiveness, and responsiveness respectively. 2. The administration of schools under Office of Secondary Educational Service Area 1 was at a high level totally. In details, the highest mean was on general administration, followed by academic administration, budget administration, and personnel administration respectively. 3. The good governance of school administrators affected the administration of schools under Office of Secondary Educational Service Area 1 with a significantly statistical level at 0.01 starting from transparency, responsibility , and rule of law with coefficient or prediction power at 64.00% (R2 = 0.640) and it could be written in predictive patterns as follows; Raw score equation = 1.262+ 0.217(transparency) + 0.258 (responsibility) + 0.254 (rule of law) Standard score equation = 0.257 (transparency) + 0.307 (responsibility) + 0.293 (rule of law
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • จุดมุ่งหมายของการอุดมศึกษา
  • หลักสูตรระดับอุดมศึกษา
  • การดำเนินการสอนในระดับอุดมศึกษา
  • งานวิจัย : หลักคิดและวิธีคิดในการดำเนินงาน
  • งานบริการชุมชน
  • นิสิตนักศึกษากับการเรียนการสอน
  • อาจารย์มหาวิทยาลัยกับผลงานทางวิชาการ : สภาพปัจจุบัน ปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไข
  • ผู้บริหารกับการพัฒนางานทางวิชาการและเอกสาร
  • การบริหารสถาบันอุดมศึกษา
  • ความเป็นผู้นำในสถาบันอุดมศึกษา
  • การบริหารมหาวิทยาลัยไทยในอนาคต
  • ภาวะผู้นำใหม่กับโลกาภิวัตน์ในระบบอุดมศึกษาไทย : เส้นทางสู่ความเป็นตัวเอง
  • สู่การอุดมศึกษาหลังโลกาภิวัตน์
  • อุดมศึกษา : สาขาวิชาเพื่อการพัฒนาและความก้าวหน้าของประเทศ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • สูตรการบริหารจัดการที่ดี บางพระชล หมวด 1 ผู้นำดี
  • หมวด 2 แผนดี
  • หมวด 3 บริการลูกค้าดี
  • หมวด 4 จัดการวัดวิเคราะห์ความรู้ดี
  • หมวด 5 จัดการทรัพยากรบุคคลดี
  • หมวด 6 จัดการกระบวนการดี
  • หมวด 7 ผลลัพธ์ดี
  • ข้อมูลแห่งอนาคต
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ปฐมบทวาทกรรม
  • วาทกรรมการศึกษาภาพรวม
  • วาทกรรมด้านบริหารและการจัดการ
  • วาทกรรมการพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อการศึกษาที่ยืนยง
หนังสือ

    The purposes of this research were as follows; 1) to study the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province, 2) to compare the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province having different gender, monthly income, working experience, and positions in the village funds, and 3) to have interviews for the guideline in the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected from documents in the primary source and secondary source, in-depth interviews, and by using questionnaires. The research results found that 1. The administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province in 3 aspects was at a high level overall. In details, the highest level was on planning, followed by operation, and evaluation respectively. 2. The results of comparison, the administration of the village fund committee having different genders, monthly income, work experience, and position in the village funds in 3 aspects was not different. 3. The results of interviews regarding the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province indicated that: In Loving-kindness, the administrators should assign work and duty relevant to the ability and knowledge of the subordinates, should support them in developing knowledge and ability. The administrators should work fulltime as the sample of the subordinates, and should be kind, friendly, and justice to the subordinates. In Compassion, the administrators should collaborate with the subordinates to work, share work experiences and knowledge to them, and provide assistance to them when in need. In Sympathetic joy, the administrators should praise and reward the subordinates on their achievement in work and duty performance, support and publicize their work outcome sincerely. In Equanimity, the administrators should assign job and work to the subordinates according to their knowledge and ability without bias, support them to work together in team, and treat everyone equally with neutral mind
The purposes of this research were as follows; 1) to study the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province, 2) to compare the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province having different gender, monthly income, working experience, and positions in the village funds, and 3) to have interviews for the guideline in the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected from documents in the primary source and secondary source, in-depth interviews, and by using questionnaires. The research results found that 1. The administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province in 3 aspects was at a high level overall. In details, the highest level was on planning, followed by operation, and evaluation respectively. 2. The results of comparison, the administration of the village fund committee having different genders, monthly income, work experience, and position in the village funds in 3 aspects was not different. 3. The results of interviews regarding the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province indicated that: In Loving-kindness, the administrators should assign work and duty relevant to the ability and knowledge of the subordinates, should support them in developing knowledge and ability. The administrators should work fulltime as the sample of the subordinates, and should be kind, friendly, and justice to the subordinates. In Compassion, the administrators should collaborate with the subordinates to work, share work experiences and knowledge to them, and provide assistance to them when in need. In Sympathetic joy, the administrators should praise and reward the subordinates on their achievement in work and duty performance, support and publicize their work outcome sincerely. In Equanimity, the administrators should assign job and work to the subordinates according to their knowledge and ability without bias, support them to work together in team, and treat everyone equally with neutral mind
TOC:
  • วิทยานิพนธ์เรื่อง การบริหารกองทุนหมู่บ้านของคณะกรรมการตามหลักพรหมวิหารธรรมอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม มี เพศ รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์ในการทำงาน ตำแหน่งในกองทุนหมู่บ้าน ที่ต่างกัน และ 3) เพื่อสัมภาษณ์แนวทางการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านตามหลักพรหมวิหารธรรม เป็นการศึกษาวิจัยแบบเชิงผสมผสาน (Mixed Method Research) ที่ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งเน้นวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยการแจกแบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ (Qualitative Research by interviews) เป็นการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากเอกสารปฐมภูมิและเอกสารทุติยภูมิรวมทั้งสร้างแบบสอบถาม (Questionnaires) ผลการวิจัยพบว่า 1.บริหารของคณะกรรมการกองทุนของหมู่บ้านตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียง ด้านการวางแผนตามหลักพรหมวิหารธรรม ด้านการดำเนินงานตามหลักพรหมวิหารธรรม และด้านการประเมินผลตามหลักพรหมวิหารธรรม 2.ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยเปรียบเทียบการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ที่มีเพศ รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์ ตำแหน่งในกองทุนหมู่บ้าน ไม่แตกต่างกัน มีการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3.ผลการวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย พบว่า เมตตา คือ ควรมอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถของผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน ควรสนับสนุนบุคลากรให้ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ปฏิบัติงานให้เต็มเวลา เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ภายใต้ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทำประโยชน์แก่มนุษย์สัตว์ทั่วหน้า กรุณา คือ ร่วมแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่องในการทำงานร่วมกัน ประสานงานกับผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างสม่ำเสมอ ถ่ายทอดถอดความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้วยความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปลื้องบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อน มุทิตา คือ ยกย่องชมเชยแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความจริงใจด้วยการประกาศความดีความชอบ สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้บริหาร สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานที่ดีของผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง กอปรด้วยอาการแช่มชื่นเบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ดำรงในปกติสุข พลอยยินดีด้วยเมื่อเขาได้ดีมีสุข เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป อุเบกขา คือ แบ่งงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างชดเจน เหมาะสมตามความรู้ ความสามารถ จัดจัดสรรผลประโยชน์แก่ผู้ร่วมงานอย่างเสมอภาค และส่งเสริม สนับสนุนให้ฝ่ายต่าง ๆ ทำงานร่วมกัน เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ ความวางใจเป็นกลางในส่วนของการจ่ายเงินของกองทุนเป็นการจ่ายตามลำดับอันจะให้ดำรงอยู่ในธรรมตามที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญา คือ มีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตราชั่ง ไม่เอนเอียงด้วยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สัตว์ทั้งหลายกระทำแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือชั่ว สมควรแก่เหตุอันตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบัติไปตามธรรม รวมทั้งรู้จักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทำ เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควรรับผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รับผลอันสมกับความรับผิดชอบของตน
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มีอายุพรรษาวุฒิการศึกษาทางโลก วุฒิการศึกษาทางธรรม ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากร ได้แก่ พระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งหมด จำนวน 543 รูป กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 226 รูป เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า F-test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1)สภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาส ในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านสาธารณูปการ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการเผยแผ่ศาสนธรรม และด้านการศาสนศึกษา มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตามอายุ พรรษา วุฒิการศึกษาทางโลก วุฒิการศึกษาทางธรรม ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2)ผลการเปรียบเทียบสภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มีอายุวุฒิการศึกษาทางโลก ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนที่มีพรรษา วุฒิการศึกษาทางธรรม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3)ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ข้อเสนอแนะมากที่สุดเกี่ยวกับปัญหา ได้แก่ ด้านปัญหาการบริหารงานด้านการสาธารณูปการ คือ เจ้าอาวาสขาดการวางแผนในการก่อสร้างอาคารเสนาสนะภายในวัดให้เป็นระเบียบมีสัดส่วน แนวทางแก้ไขปัญหามากที่สุด ได้แก่ ด้านปัญหาการบริหารงานด้านการสาธารณูปการ คือ เจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราชแต่ละวัดต้องวางแผนให้ความสำคัญกับการวางแผนการก่อสร้างและปรับภูมิทัศน์ให้สวยงาม
สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มีอายุพรรษาวุฒิการศึกษาทางโลก วุฒิการศึกษาทางธรรม ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากร ได้แก่ พระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งหมด จำนวน 543 รูป กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 226 รูป เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า F-test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1)สภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาส ในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านสาธารณูปการ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการเผยแผ่ศาสนธรรม และด้านการศาสนศึกษา มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตามอายุ พรรษา วุฒิการศึกษาทางโลก วุฒิการศึกษาทางธรรม ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2)ผลการเปรียบเทียบสภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มีอายุวุฒิการศึกษาทางโลก ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนที่มีพรรษา วุฒิการศึกษาทางธรรม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3)ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ข้อเสนอแนะมากที่สุดเกี่ยวกับปัญหา ได้แก่ ด้านปัญหาการบริหารงานด้านการสาธารณูปการ คือ เจ้าอาวาสขาดการวางแผนในการก่อสร้างอาคารเสนาสนะภายในวัดให้เป็นระเบียบมีสัดส่วน แนวทางแก้ไขปัญหามากที่สุด ได้แก่ ด้านปัญหาการบริหารงานด้านการสาธารณูปการ คือ เจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราชแต่ละวัดต้องวางแผนให้ความสำคัญกับการวางแผนการก่อสร้างและปรับภูมิทัศน์ให้สวยงาม
The objectives of this thematic paper were as follows : 1) To study the state and problem in the temple abbots’ administration in Nakhon Si Thammarat province. 2) To compare the state and problem in the temple abbots’ administration in Nakhon Si Thammarat province in terms of ages, periods of monkhood, degrees of secular education, Dhamma studies and periods of abbots position standing as differently. 3) To study the suggestion on state and problem in the temple abbots’ administration in Nakhon Si Thammarat province. The population were composed of Sangha’s ecclesiastics in Nakhon Si Thammarat province for 543persons, sample size according to the table of R.V. Krejcie and D.W. Morgan, got the sample at the number of 226 persons, The instrument for data collection was questionnaire. Data analysis by package computer program. The statistics were analyzed as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test F-test and LSD method. The results reveal that 1)The state and problem in the temple abbots’ administration in Nakhon Si Thammarat province by overviews in six aspects are at moderate level, while consider in each aspects from more to less find that the aspect of public welfare is the highest mean and follow up the aspect of Dhamma dissemination and the aspect of religious study is lowest mean respectively. when classify in terms of ages, periods of monkhood, degrees of secular education, Dhamma studies and periods of abbot’s position standing find that there are at moderate level. 2)The comparative result of state and problem in the temple abbots administration in Nakhon Si Thammarat province in terms of ages, degrees of secular education, and periods of abbot’s position standing find that there are different as statistically significance at .01 and in terms of periods of monkhood and Dhamma studies find that there are not different as statistically significance at .05 3)The suggestion on state and problem in the temple abbots administration in Nakhon Si Thammarat province. The problem find that; the public welfare aspect, the highest find that the abbot works without planning in construction and dwelling in temple as clustering. The resolution find that the highest is the aspect of public welfare i.e. the abbot should plan to construct any building or making background as nice as possible.
หนังสือ

หนังสือ

    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงาน ขององค์การบริหารตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเลย 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานตามหลักพละ 5 ขององค์การบริหารตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเลย 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการบริหารงาน ตามหลักพละ 5 ขององค์การบริหารตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเลย งานวิจัยนี้เป็นการทำวิจัยเชิงคุณภาพ การสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 18 คน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบล มีพละ 5 ในบริหารงานทั้ง 3 ด้าน คือ 1) ด้านการบริหารงานบุคคล 2) ด้านการบริหารงบประมาณ 3) ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบล มีความศรัทธาในการบริหารงานในการพัฒนาการบริหารองค์กรโดยเริ่มจากตนเองอาศัยภาวะผู้นำที่มีความศรัทธาเชื่อมั่น มีความศรัทธาต่อธรรมชาติและวัฒนธรรมของพื้นที่ มีความเพียรพยามยามสอดส่องติดตามบุคลากร งบประมาณ พร้อมทั้งการตรวจสอบวัสดุ เจ้าหน้าที่มีการใช้สติในการประสานงานภายในองค์กรและพบปะเจรจาลงพื้นที่ เจ้าหน้าที่มีสมาธิความแน่วแน่ในการพัฒนาพื้นที่ในการปกครองชุมชนและบริหารงาน เจ้าหน้าที่มีการเสริมสร้างความรู้ความชำนาญ และความสดใสในการทำงานอยู่เสมอ ด้วยความรอบคอบ ไม่ทอดทิ้งธุระ เมื่อปฏิบัติหน้าที่แล้วมีการประเมินผลงานทุกครั้ง ทั้งด้านจำนวนและคุณภาพ จุดอ่อนจุดแข็งส่งผลไปสู่ปฏิบัติงานได้สำเร็จ มีการบริหารงานด้วยความสามัคคีของบุคลากรและประชาชนในพื้นที่
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงาน ขององค์การบริหารตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเลย 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานตามหลักพละ 5 ขององค์การบริหารตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเลย 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการบริหารงาน ตามหลักพละ 5 ขององค์การบริหารตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเลย งานวิจัยนี้เป็นการทำวิจัยเชิงคุณภาพ การสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 18 คน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบล มีพละ 5 ในบริหารงานทั้ง 3 ด้าน คือ 1) ด้านการบริหารงานบุคคล 2) ด้านการบริหารงบประมาณ 3) ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบล มีความศรัทธาในการบริหารงานในการพัฒนาการบริหารองค์กรโดยเริ่มจากตนเองอาศัยภาวะผู้นำที่มีความศรัทธาเชื่อมั่น มีความศรัทธาต่อธรรมชาติและวัฒนธรรมของพื้นที่ มีความเพียรพยามยามสอดส่องติดตามบุคลากร งบประมาณ พร้อมทั้งการตรวจสอบวัสดุ เจ้าหน้าที่มีการใช้สติในการประสานงานภายในองค์กรและพบปะเจรจาลงพื้นที่ เจ้าหน้าที่มีสมาธิความแน่วแน่ในการพัฒนาพื้นที่ในการปกครองชุมชนและบริหารงาน เจ้าหน้าที่มีการเสริมสร้างความรู้ความชำนาญ และความสดใสในการทำงานอยู่เสมอ ด้วยความรอบคอบ ไม่ทอดทิ้งธุระ เมื่อปฏิบัติหน้าที่แล้วมีการประเมินผลงานทุกครั้ง ทั้งด้านจำนวนและคุณภาพ จุดอ่อนจุดแข็งส่งผลไปสู่ปฏิบัติงานได้สำเร็จ มีการบริหารงานด้วยความสามัคคีของบุคลากรและประชาชนในพื้นที่
The purposes of this research are: 1) to study administrative problems of Sub-district Administrative Organizations in Mueang District of Loei Province, 2) to study administration according to Bala principles of Sub-district Administrative Organizations in Mueang District of Loei Province, and 3) to propose administrative guidelines according to to Bala principles of Sub-district Administrative Organizations in Mueang District of Loei Province. This research is a qualitative research and its data were collected by in-depth interviews with 18 key informants and then analyzed by descriptive analysis method. The results of the study found that: The administrators and staff of the Subdistrict Administration Organizations in Mueang District of Loei Province have Bala principles in 3 areas; 1) human resource management, 2) budget management, and 3) public participation. The Personnel of Subdistrict Administrative Organizations have confidence in management in the development of organization management starting from oneself by relying on leadership with faith and confidence, on the nature and culture of the area, and on trying to monitor personnel, budget, and material inspection. The staffs coordinate within the organization and meet people in the area mindfully. The staffs concentrate on the determination to develop the area for community governance and administration, and strengthen their expertise and work refreshment regularly and carefully. The evaluations of duty performance are performed all the time in quantity, quality, weaknesses, and strengths that result to work achievements. The management is run by unity of personnel in the organizations and people in the area.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ 3) เพื่อบูรณาการการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ด้วยการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ด้วยการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่” ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Oualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth-interview) เป็นเครื่องมือใน การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระสงฆ์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ โดยเป็นวัดที่ได้รับการประกาศเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น จากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ย้อนหลัง 3 ปี พ.ศ. 2558 ถึง 2560 กระจายทุกภาคของประเทศ ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 79 วัด/จำนวน 474 รูป/คน, สัมภาษณ์ พระสังฆาธิการ จำนวน 9 รูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารจัดการงานสาธารณูปการของคณะสงฆ์ เป็นงานก่อสร้างซ่อมแซมและงานบูรณปฏิสังขรณ์ วางแผนปรับปรุง การพัฒนารวมไปถึงการทําวัดให้สะอาดร่มรื่นสะดวกสบาย ดูสวยงามให้สบายตาเป็นศาสนสถานที่สัปปายะ ปัญหาที่พบ 1) ระเบียบวิธีการบริหารจัดการงบประมาณมีปัญหา 2) ระบบการบริหารจัดการสาธารณูปการ ทั้งศาสนวัตถุศาสนสถาน ศาสนบุคคลที่สามารถตรวจสอบหรือถ่วงดุลอำนาจกันได้ให้ดำเนินงานไปมีประสิทธิภาพ 3) วัสดุอุปกรณ์สิ่งปลูกสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ในแต่ละวัดยังมีสภาพไม่พร้อม ไม่เหมาะสม ไม่เป็นที่สัปปายะ ไม่สะอาด ไม่เป็นระเบียบ 4) การจัดการของพระสังฆาธิการอาจจะขาดการวางแผน ขาดการจัดทีมงานทั้งพระสงฆ์และฆราวาส ขาดผู้ให้การสนับสนุนการก่อสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ 5) การบูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์ โบสถ์ กุฏิเสนาสนะ ศาลาการเปรียญ ที่ผิดจากรูปแบบดั้งเดิม 2. การบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ : บุคลากรเป็นปัจจัยสำคัญและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเน้นการวิเคราะห์องค์การเชิงระบบ มีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ตัวป้อน กระบวน การ ผลผลิต ผลกระทบ และสิ่งแวดล้อม องค์การปรับรูปแบบได้ทุกสภาวะแวดล้อม ใช้ 3 ทักษะ เพื่อการบริหารจัดการ คือ 1) ทักษะเชิงเทคนิค (การจัดการ) 2) ทักษะเชิงมนุษย์ (มนุษยสัมพันธ์ )และ 3) ทักษะเชิงมโนมติ (วิสัยทัศน์) ผลดี 1) มีคุณภาพด้วยการกระจายอำนาจ 2) ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน เพื่อการพัฒนาการสาธารณูปการเป็นอย่างดี 3) มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ 4) มีการจัดผังวัดตามระเบียบแบบแผน 5) มีการดูแลบำรุงรักษา หรือซ่อมแซมบูรณปฏิสังขรณ์ ที่ทันกาล 6) มีเครือข่ายประสานความร่วมมือช่วยเหลือกัน 7) มีกองทุนมูลนิธิสนับสนุนการบูรณปฏิสังขรณ์ 8) มีการดูแลสุขพลานามัยด้วยกิจกรรม 5 ส 9) มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติจากนิเวศวิทยาแนวลึก 10) มีการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมอย่างเป็นระบบด้วยภูมิสถาปัตยกรรม 11) การพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและการเรียนรู้ด้วยการจัดพิพิธภัณฑ์ในวัด 3.
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ 3) เพื่อบูรณาการการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ด้วยการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ด้วยการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่” ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Oualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth-interview) เป็นเครื่องมือใน การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระสงฆ์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ โดยเป็นวัดที่ได้รับการประกาศเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น จากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ย้อนหลัง 3 ปี พ.ศ. 2558 ถึง 2560 กระจายทุกภาคของประเทศ ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 79 วัด/จำนวน 474 รูป/คน, สัมภาษณ์ พระสังฆาธิการ จำนวน 9 รูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารจัดการงานสาธารณูปการของคณะสงฆ์ เป็นงานก่อสร้างซ่อมแซมและงานบูรณปฏิสังขรณ์ วางแผนปรับปรุง การพัฒนารวมไปถึงการทําวัดให้สะอาดร่มรื่นสะดวกสบาย ดูสวยงามให้สบายตาเป็นศาสนสถานที่สัปปายะ ปัญหาที่พบ 1) ระเบียบวิธีการบริหารจัดการงบประมาณมีปัญหา 2) ระบบการบริหารจัดการสาธารณูปการ ทั้งศาสนวัตถุศาสนสถาน ศาสนบุคคลที่สามารถตรวจสอบหรือถ่วงดุลอำนาจกันได้ให้ดำเนินงานไปมีประสิทธิภาพ 3) วัสดุอุปกรณ์สิ่งปลูกสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ในแต่ละวัดยังมีสภาพไม่พร้อม ไม่เหมาะสม ไม่เป็นที่สัปปายะ ไม่สะอาด ไม่เป็นระเบียบ 4) การจัดการของพระสังฆาธิการอาจจะขาดการวางแผน ขาดการจัดทีมงานทั้งพระสงฆ์และฆราวาส ขาดผู้ให้การสนับสนุนการก่อสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ 5) การบูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์ โบสถ์ กุฏิเสนาสนะ ศาลาการเปรียญ ที่ผิดจากรูปแบบดั้งเดิม 2. การบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ : บุคลากรเป็นปัจจัยสำคัญและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเน้นการวิเคราะห์องค์การเชิงระบบ มีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ตัวป้อน กระบวน การ ผลผลิต ผลกระทบ และสิ่งแวดล้อม องค์การปรับรูปแบบได้ทุกสภาวะแวดล้อม ใช้ 3 ทักษะ เพื่อการบริหารจัดการ คือ 1) ทักษะเชิงเทคนิค (การจัดการ) 2) ทักษะเชิงมนุษย์ (มนุษยสัมพันธ์ )และ 3) ทักษะเชิงมโนมติ (วิสัยทัศน์) ผลดี 1) มีคุณภาพด้วยการกระจายอำนาจ 2) ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน เพื่อการพัฒนาการสาธารณูปการเป็นอย่างดี 3) มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ 4) มีการจัดผังวัดตามระเบียบแบบแผน 5) มีการดูแลบำรุงรักษา หรือซ่อมแซมบูรณปฏิสังขรณ์ ที่ทันกาล 6) มีเครือข่ายประสานความร่วมมือช่วยเหลือกัน 7) มีกองทุนมูลนิธิสนับสนุนการบูรณปฏิสังขรณ์ 8) มีการดูแลสุขพลานามัยด้วยกิจกรรม 5 ส 9) มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติจากนิเวศวิทยาแนวลึก 10) มีการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมอย่างเป็นระบบด้วยภูมิสถาปัตยกรรม 11) การพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและการเรียนรู้ด้วยการจัดพิพิธภัณฑ์ในวัด 3.
บูรณาการการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์ด้วยการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ เป็นการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการสาธารณูปการของคณะสงฆ์และพัฒนาการบริหารจัดการด้วยข้อดีของการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่ ที่เน้นบุคลากร การวิเคราะห์องค์การเชิงระบบ มีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต ผลกระทบ และสิ่งแวดล้อม องค์การปรับรูปแบบได้ทุกสภาวะแวดล้อม 4. รูปแบบบูรณาการการบริหารจัดการสาธารณูปการสมัยใหม่เป็นทฤษฎี PSDH MODEL ได้แก่ Population หมายถึงคนหรือมนุษย์ System หมายถึงระบบองค์ความรู้เพื่อดำเนินงาน Doing หมายถึงการลงมือกระทำด้วยการใช้ความรู้ความสามารถพร้อมกับการพัฒนาองค์ความรู้ของภาระงาน Harmony ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกลมเกลียวขององค์กร ซึ่งได้จากบูรณาการปัญหาการบริหารจัดการ 4 ด้าน คือ 1. การวางแผน (Planning) 2. การจัดการองค์การ (Organizing) 3. ภาวะผู้นำ (Leader) 4. การติดตามและประเมินผล (Monitoring & Evaluation) กับข้อดีจากทักษะการบริหาร เชิงเทคนิค เชิงมนุษย์ และเชิงมโนมติ
The objectives of this dissertation were as follows; 1) to study the state of Buddhist infrastructure management of the Sangha, 2) to study the modern infrastructure management, 3) to integrate the Buddhist infrastructure management of the Sangha integrated by the modern infrastructure management, and 4) to create and propose a guideline and knowledge about the Buddhist infrastructure management of the Thai Sangha integrated by modern infrastructure management. The Research is Qualitative Research by In-Depth interview with Key Informant and to observe and participate in manual activities as tools to analyze the data collected by the application in accordance. The samples used in the study were monks and personnel who involved with public assistance management of the Sangha in 79 developed and outstanding performance temples declared by Office of National Buddhism from 2558 to 2560 nationwide. The Sample number are 474 monks/people. The results of research were found that 1. Buddhist infrastructure manage of the Thai Sangha is construction, renovation, restoration, planning, improving the temple areas and buildings into good and pleasurable conditions. The problems encountered were; 1) Budget management was unsystematic, 2) Infractructure system of religious place and religious personnel was not related by effectively check and balance system, 3) Renovation and restoration were not in order and comfortable, 4) The administrative monks lacked of management skills planning, teamwork, and the renovation was failed, and 5) The restoration of the Pagoda, Chapel, Pavilion at a temple wrong from the traditional style. 2. In modern infrastructure management, personnel are important factors and influence the development. It focuses on organizational systematic analysis. There is a relationship between different parts, the input elements, processes, outputs, impacts, and environment. The organization can be adjusted according to environment. The management is based on 3 skills; 1) Technical skills (management), 2) Human skills (Human relations), and 3) Conceptual skills (vision). The positive results are; 1) Quality by decentralization, 2) Get help from all organization for devennlopment infrastructure, 3) Systematic planning, 4) Placing area on temple master plans, 5) Religious places are maintained and repaired timely, 6) There is a network to coordinate and help each other, 7) There is a foundation and fund for the restoration of religious places, 8) Taking care of the public health in community with 5 S activities, 9) Natural resource conservation from Ecology in-depth, 10) Authentic culture conservation based on landscape architecture, and 11) There is develop temples into tourist attractions and learning museums. 3. Buddhist infrastructure management of the Thai Sangha integrated by modern infrastructure management is the solution of Buddhist infrastructure management of the Thai Sangha and development of traditional management by modern Infrastructure management system focusing on personnel, and organizational system analysis. There is a relationship between different parts, the input elements, processes, outputs, impacts and environment. The organization can be adjusted according to conditions and environment. 4. The integrated management model is the PSDH MODEL theory, P refers to population or people, S refers to system knowledge management for operation, D means doing, and H means harmony in the organization derived from the integration of 4 aspects in management : 1. Planning, 2. Organization Management, 3. Leadership, and 4. Monitoring and Evaluation together with advantages from human, technical, and conceptual management skills.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 3) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 ประชากรที่เป็นกลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ ศึกษากลุ่ม 1 จำนวน 14 โรงเรียน มีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วยผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ครู รวมทั้งสิ้น 178 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่า ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า: 1.การบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 มีค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดไปน้อยที่สุด คือ ด้านความยึดมั่นผูกพัน ด้านความอิสระต่อความรับผิดชอบในงาน ด้านความไว้วางใจ และด้านการตั้ง เป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน 2. ประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุ่มที่ 1 ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดไปน้อยที่สุด คือ ด้านความสามารถ ในการปรับเปลี่ยน และพัฒนาโรงเรียนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม รองลงมาคือ ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ตามด้วย ด้านความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนะคติทางบวก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านความสามารถในการแก้ไขปัญหาภายในโรงโรงเรียน ตามลำดับ 3. การบริหารแบบมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์กับประสิทธิ์ผลของโรงเรียน มากที่สุด คือ ด้านการตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน รองลงมาคือ ด้านความอิสระต่อความรับผิดชอบในงาน ตามด้วย ด้านความยึดมั่นผูกพัน และด้านที่มีความสัมพันธ์น้อยที่สุดคือ ด้านความไว้วางใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Ytot (Unstandardized Score) Ytot = 1.853 + .231X3 + .261X4 + .097X2 สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Ztot (Standardized Score) Ztot = .401Z3 + .360Z4 + .1342
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 3) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 ประชากรที่เป็นกลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ ศึกษากลุ่ม 1 จำนวน 14 โรงเรียน มีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วยผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ครู รวมทั้งสิ้น 178 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่า ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า: 1.การบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 มีค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดไปน้อยที่สุด คือ ด้านความยึดมั่นผูกพัน ด้านความอิสระต่อความรับผิดชอบในงาน ด้านความไว้วางใจ และด้านการตั้ง เป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน 2. ประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุ่มที่ 1 ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดไปน้อยที่สุด คือ ด้านความสามารถ ในการปรับเปลี่ยน และพัฒนาโรงเรียนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม รองลงมาคือ ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ตามด้วย ด้านความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนะคติทางบวก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านความสามารถในการแก้ไขปัญหาภายในโรงโรงเรียน ตามลำดับ 3. การบริหารแบบมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์กับประสิทธิ์ผลของโรงเรียน มากที่สุด คือ ด้านการตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน รองลงมาคือ ด้านความอิสระต่อความรับผิดชอบในงาน ตามด้วย ด้านความยึดมั่นผูกพัน และด้านที่มีความสัมพันธ์น้อยที่สุดคือ ด้านความไว้วางใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Ytot (Unstandardized Score) Ytot = 1.853 + .231X3 + .261X4 + .097X2 สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Ztot (Standardized Score) Ztot = .401Z3 + .360Z4 + .1342
The purposes of research were : 1) to study the the Participative Administration General Buddhist Seripture Schools Group 1 2) to study Affevtiveness of General Buddhist Seripture Schools Group 1 3) to study The Participative Administration Affevtiveness General Buddhist Seripture Schools Group 1. The sampling were totally 14 in schools under General Buddhist Seripture Schools Group 1 directors, duputy director, teacher, General Buddhist Seripture Schools Group 1. Total of 172 respondents. The research instrument was a questionnaire regarding the Participative Administration Affevtiveness of General Buddhist Seripture Schools Group 1. The statistics use for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and the stepwise multiple regession analysis. The results of the research were found that: 1. The Participative Administration General Buddhist Seripture Schools Group 1 was as most level. Considering the mean of each aspect was at the most level. Sort by average from highest to lowest level was inspiration, commitment, freedom of responsibirity in the job, fiduciary,trust. setting goals and objectives togetter. 2. The Affevtiveness of General Buddhist Seripture Schools Group 1 was, was as most level. Considering the mean of each aspect was at the most level. Sort by average from highest to lowest level was inspiration . ability modify and develop school in environment,.student product accomplishment, ability development attitude plas, ability solving problems inside school, respectively. 3. The Participative Administration freedom of responsibirity in the job and fiduciary Affevtiveness of General Buddhist Seripture Schools setting goals and objectives togetter. freedom of responsibirity in the job, commitment, trust, significant level at .01. and it can be written as a regression analysis equation as follow raw score forecast equation Ytot (Unstandardized Score) Ytot = 1.853 + .231X3 + .261X4 + .097X2 Rew score forecast standard equation Ztot (Standardized Score) Ztot = .401Z3 + .360Z4 + .1342
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
  • สาระสําคัญ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
  • สาระสําคัญ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
  • รวมกฎกระทรวง
  • ประมวลสาระสําคัญ ประกาศคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
  • ประกาศคณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการ กําหนดราคากลางงานก่อสร้าง
  • สาระสําคัญ หลักเกณฑ์การคํานวณราคากลางงานก่อสร้าง (แนบท้ายประกาศ)
  • รวมสรุปข้อหารือและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
  • หนังสือคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กําหนดแบบประกาศ และเอกสารเชิญชวนในการจัดซื้อจัดจ้าง
  • หนังสือกรมบัญชีกลาง กําหนดแนวทางปฏิบัติในการจัดซื้อจัดจ้างและ หนังสือกระทรวงการคลัง กําหนดหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่าตอบแทนบุคคลหรือคณะกรรมการ
  • แนวทางปฏิบัติในการจัดซื้อน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในการปฏิบัติราชการตามภารกิจของหน่วยงานของรัฐ
  • ประกาศคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริด เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของนโยบาย และแนวทางป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างที่ผู้ประกอบการต้องจัดให้มีตามมาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
  • ประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ เรื่อง กําหนดให้ประกาศเชิญชวนทั่วไป ประกาศผลผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้าง และสัญญา ที่ได้มีการอนุมัติสั่งซื้อหรือสั่งจ้าง เป็นข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (8) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
  • สาระสําคัญ พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
  • สาระสําคัญ พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2551
  • หลักการจําแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ
  • สาระสําคัญ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562
  • สาระสําคัญ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ. 2553

อนาคต... 2562

หนังสือ