Search results

2,196 results in 0.11s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทฤษฎีญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค 3) เพื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา คัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560 - มิถุนายน 2561 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ล้วนเป็นสัจนิยม ที่เกี่ยวกับเรื่องความจริงเป็นหลัก และพบว่า บ่อเกิดของความรู้ มี 3 อย่าง คือ สุตะ-การศึกษา เล่าเรียน, จินตะ-การใคร่ครวญพิจารณา, และภาวนา-การทำให้เกิดขึ้น ทำให้มีขึ้นเจริญขึ้น เมื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค พบว่า มีอยู่ 4 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีเหตุผลนิยม จะใช้เพียงสุตะ การเรียนรู้ด้วย หรือจินตะ ใคร่ครวญ คงไม่อาจทำให้เข้าใจถึงธรรมชาติของจิตได้ 2) ทฤษฎีประจักษนิยม การนำเอาส่วนเดียวในสิกขา 3 ใช้มาเพื่อปฏิบัติถือเป็นทางที่ผิด 3) ทฤษฎีอนุมานนิยม บ่อเกิดของความรู้ 3 อย่าง คือ สุตะ จินตะและภาวนา 3 ส่วนนี้ทำให้ผลสมควรแก่เหตุ การกระทำตามขั้นตอนที่ถูก ผลที่หวังจึงจะสัมฤทธิ์ผล 4) ทฤษฎีอัชฌัตติกญาณนิยม ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ปัจจเวกขณญาณ เป็นญาณลำดับสุดท้ายของแต่ละอริยมรรค หรือญาณ 16 เป็นตัวตรวจสอบความว่าสังโยชน์ข้อใดขาดไปจากจิตสันดาน ยังเหลือกิจที่ยังต้องทำหรือไม่มีกิจอื่นที่ต้องทำ นี้จึงเป็นอัชฌัตติกญาณนิยม คือ ความรู้แจ้งภายใน
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทฤษฎีญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค 3) เพื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา คัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560 - มิถุนายน 2561 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ล้วนเป็นสัจนิยม ที่เกี่ยวกับเรื่องความจริงเป็นหลัก และพบว่า บ่อเกิดของความรู้ มี 3 อย่าง คือ สุตะ-การศึกษา เล่าเรียน, จินตะ-การใคร่ครวญพิจารณา, และภาวนา-การทำให้เกิดขึ้น ทำให้มีขึ้นเจริญขึ้น เมื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค พบว่า มีอยู่ 4 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีเหตุผลนิยม จะใช้เพียงสุตะ การเรียนรู้ด้วย หรือจินตะ ใคร่ครวญ คงไม่อาจทำให้เข้าใจถึงธรรมชาติของจิตได้ 2) ทฤษฎีประจักษนิยม การนำเอาส่วนเดียวในสิกขา 3 ใช้มาเพื่อปฏิบัติถือเป็นทางที่ผิด 3) ทฤษฎีอนุมานนิยม บ่อเกิดของความรู้ 3 อย่าง คือ สุตะ จินตะและภาวนา 3 ส่วนนี้ทำให้ผลสมควรแก่เหตุ การกระทำตามขั้นตอนที่ถูก ผลที่หวังจึงจะสัมฤทธิ์ผล 4) ทฤษฎีอัชฌัตติกญาณนิยม ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ปัจจเวกขณญาณ เป็นญาณลำดับสุดท้ายของแต่ละอริยมรรค หรือญาณ 16 เป็นตัวตรวจสอบความว่าสังโยชน์ข้อใดขาดไปจากจิตสันดาน ยังเหลือกิจที่ยังต้องทำหรือไม่มีกิจอื่นที่ต้องทำ นี้จึงเป็นอัชฌัตติกญาณนิยม คือ ความรู้แจ้งภายใน
The thesis served its specific purposes: 1) to study a theory on epistemology in Theravada Buddhist philosophy, 3) to pursue epistemology in Visuddhi Magga scripture, and 3) to analyze its essences in the scripture. The sampling groups comprised: The Tipitaka, commentaries, the target scripture, treatises and relevant research undertakings. It was derived from the qualitative methodology, the documentary research. Data were collected between October, B.E. 2560 and June, B.E. 2561. With these data, their essences were analyzed and inductive summaries constructed. Results of the research have found the following findings.: Epistemology in Theravada Buddhist philosophy is entire realism. It has found sources of knowledge with three types: 1) Suta, learning/hearing, 2) Cinta, active thoughts, 3) Bhavana, development, to make something happen/prosper. Upon analyzing types in the target scripture, they have found four theories: 1) Rationalism, it uses only learning or hearing (suta) or active thought (cinta); it may not have ones understand the nature of mind. 2) Empiricism, the introduction of one part of threefold trainings into practical uses is regarded as the wrong way. 3) Inductivism, its three sources of knowledge are: i) learning or hearing, ii) active thoughts, and iii) development. These elements make results fit causes. They are right acts. Expected outcomes can be achieved. 4) Internalism, knowledge emerges in mind. Knowledge of reviewing (paccavekkhana-nana) is the last insight of Noble Paths. It is the inspector to find whether or not any fetter is disappeared from the mind. Is there any task done or not done. The knowledge is internalism, internal clear knowledge.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตตามหลักสัมมาอาชีวะในทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบทั้งทางกายและทางวาจา ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม 2) การครอบครองรักษาที่ดี ตามหลักการออมทรัพย์ทางพระพุทธศาสนาหรือหลักโภควิภาค 4 ได้แก่ ทรัพย์หนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ใช้สอยเลี้ยงชีพ ทรัพย์สองส่วน (50 %) ออมไว้ประกอบอาชีพและทรัพย์อีกหนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ในยามจำเป็นและใช้ทำบุญ 3) การบริโภคใช้จ่ายอย่างถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียง โดยให้ความสำคัญด้านคุณค่ามากกว่ามูลค่า และเน้นคุณประโยชน์มากกว่าความคุ้มทุน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองแก่ผู้อื่นและแก่สังคม สัมมาอาชีวะเป็นหลักการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคคลทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ อีกทั้งเกิดคุณค่าต่อการพัฒนาปัญญาให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต และยังมีคุณค่าต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบุญกิริยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการเกื้อหนุนและส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อื่น และมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมส่วนรวมทั้งด้านการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบจริยธรรมทางสังคมด้านอื่น ๆ ให้เข้มแข็งและมั่นคง ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดความสุขมวลรวมของคนในสังคมมากยิ่งขึ้น
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตตามหลักสัมมาอาชีวะในทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบทั้งทางกายและทางวาจา ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม 2) การครอบครองรักษาที่ดี ตามหลักการออมทรัพย์ทางพระพุทธศาสนาหรือหลักโภควิภาค 4 ได้แก่ ทรัพย์หนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ใช้สอยเลี้ยงชีพ ทรัพย์สองส่วน (50 %) ออมไว้ประกอบอาชีพและทรัพย์อีกหนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ในยามจำเป็นและใช้ทำบุญ 3) การบริโภคใช้จ่ายอย่างถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียง โดยให้ความสำคัญด้านคุณค่ามากกว่ามูลค่า และเน้นคุณประโยชน์มากกว่าความคุ้มทุน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองแก่ผู้อื่นและแก่สังคม สัมมาอาชีวะเป็นหลักการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคคลทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ อีกทั้งเกิดคุณค่าต่อการพัฒนาปัญญาให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต และยังมีคุณค่าต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบุญกิริยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการเกื้อหนุนและส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อื่น และมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมส่วนรวมทั้งด้านการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบจริยธรรมทางสังคมด้านอื่น ๆ ให้เข้มแข็งและมั่นคง ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดความสุขมวลรวมของคนในสังคมมากยิ่งขึ้น
The thesis served its specific purposes: 1) to study the way of leading one’s life in Theravada philosophy, 2) to examine Right Livelihood in Noble Eightfold Paths following Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze the way of leading one’s life with Right Livelihood as such. As the documentary research, it was derived from the qualitative methodology. Data were studied out of The Tipitaka, commentaries, books and relevant research undertakings, collected between October B.E. 2560 and June B.E. 2561. Findings are the followings: Ways of leading one’s life following the principle of right livelihood in Buddhism is composed of two aspects. The first aspect is seeking for leading one’s life with physical, verbal, legal and moral decency. Another aspect is good possession and economy spending of incomes following criteria of four good divisions in Buddhism. One portion of incomes is provided for feeding family, accounting for 25 %. Two portions making up 50 % are allocated for doing careers. One portion is kept for saving in the rainy days and making merits. The further aspect is proper and sufficient consumption, placing more importance in true values than face values, putting more emphasis on benefits than cost effectiveness, with the aims for benefits of their own, others’ and society. Analyses of right livelihood have found that it has been treated as the foundation stone of leading one’s life with moral values for developing individual life in physical, verbal and mental channels. It creates values towards developing wisdom to logically think of leading one’s life and making great contribution to accumulating much more merits. In addition, leading one’s life following right livelihood still have moral values for assistance and support of others’ life. All in all, it also has values for developing society in common in governmental, political, economic area, including the support of developing the moral system of society to be strong and stable, which will lead to the target giving rise to the mass happiness of members in the society
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2547
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาบทบาทของสามเณรในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาบทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย และ 3) เพื่อวิเคราะห์บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย ข้อมูลเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกพระภิกษุ10 รูป สามเณร 10 รูป รวม 20 รูป ข้อมูลนำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย สามเณรคือเหล่ากอแห่งสมณะ ในยุคพุทธกาลสามเณรมีบทบาทช่วยรักษาพระศาสนา สืบต่อและเผยแผ่พระธรรมวินัย ปัจจุบันสามเณรมีบทบาทช่วยและปฏิบัติตามสิกขาบท 10 ข้อ พร้อมเสขิยวัตร ธรรมเนียม และกฏหมาย ศึกษาปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญศึกษา รวมถึงระดับปริญญา รักษา ปกป้อง เผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วย ปัจจัยที่ทำให้เยาวชนในจังหวัดเลยตัดสินใจเข้ามาบรรพชา คือ แรงผลักดันจากผู้ปกครอง การเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น การบวชตามประเพณีการแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง ความยากจน การปลอดภัยจากพิษภัยของยาเสพติด ปัญหาพ่อแม่หย่าร้าง การขาดโอกาสทางการศึกษา การช่วยขัดเกลาพฤติกรรม และบวชตอบแทนพระคุณพ่อแม่ บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย คือ การศึกษาเล่าเรียนการสนองงานครูอาจารย์และคณะสงฆ์ผู้ช่วยพระภิกษุ ทำกิจวัตร เป็นแบบอย่างที่ดีแก่พุทธศาสนิกชนการสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิเคราะห์บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย พบว่า มีบทบาทโดยภาพรวมแล้ว ได้แก่ 1. เพื่อความมั่นคงของพระพุทธศาสนา เมื่อมีความรู้ทั้งแผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญ รวมถึงระดับปริญญาแล้ว ย่อมจะทำให้พระพุทธศาสนามั่นคง แม้จะลาสิกขาออกมาเป็นคฤหัสถ์ก็ได้ทำการรักษาพระพุทธศาสนาในหน้าที่ของตน 2. เพื่อสังคม เช่น การเผยแผ่พระศาสนา ทำหน้าที่เป็นพระภิกษุสืบไป เป็นต้น 3. เพื่อสถาบันสงฆ์ไทย พระสงฆ์ผู้ทำหน้าที่เป็นเจ้าคณะปกครองทุกระดับชั้นล้วนเคยบรรพชามาตั้งแต่เป็นสามเณร จึงเอื้อต่อสถาบันพระพุทธศาสนาต่อไป
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาบทบาทของสามเณรในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาบทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย และ 3) เพื่อวิเคราะห์บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย ข้อมูลเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกพระภิกษุ10 รูป สามเณร 10 รูป รวม 20 รูป ข้อมูลนำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย สามเณรคือเหล่ากอแห่งสมณะ ในยุคพุทธกาลสามเณรมีบทบาทช่วยรักษาพระศาสนา สืบต่อและเผยแผ่พระธรรมวินัย ปัจจุบันสามเณรมีบทบาทช่วยและปฏิบัติตามสิกขาบท 10 ข้อ พร้อมเสขิยวัตร ธรรมเนียม และกฏหมาย ศึกษาปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญศึกษา รวมถึงระดับปริญญา รักษา ปกป้อง เผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วย ปัจจัยที่ทำให้เยาวชนในจังหวัดเลยตัดสินใจเข้ามาบรรพชา คือ แรงผลักดันจากผู้ปกครอง การเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น การบวชตามประเพณีการแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง ความยากจน การปลอดภัยจากพิษภัยของยาเสพติด ปัญหาพ่อแม่หย่าร้าง การขาดโอกาสทางการศึกษา การช่วยขัดเกลาพฤติกรรม และบวชตอบแทนพระคุณพ่อแม่ บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย คือ การศึกษาเล่าเรียนการสนองงานครูอาจารย์และคณะสงฆ์ผู้ช่วยพระภิกษุ ทำกิจวัตร เป็นแบบอย่างที่ดีแก่พุทธศาสนิกชนการสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิเคราะห์บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย พบว่า มีบทบาทโดยภาพรวมแล้ว ได้แก่ 1. เพื่อความมั่นคงของพระพุทธศาสนา เมื่อมีความรู้ทั้งแผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญ รวมถึงระดับปริญญาแล้ว ย่อมจะทำให้พระพุทธศาสนามั่นคง แม้จะลาสิกขาออกมาเป็นคฤหัสถ์ก็ได้ทำการรักษาพระพุทธศาสนาในหน้าที่ของตน 2. เพื่อสังคม เช่น การเผยแผ่พระศาสนา ทำหน้าที่เป็นพระภิกษุสืบไป เป็นต้น 3. เพื่อสถาบันสงฆ์ไทย พระสงฆ์ผู้ทำหน้าที่เป็นเจ้าคณะปกครองทุกระดับชั้นล้วนเคยบรรพชามาตั้งแต่เป็นสามเณร จึงเอื้อต่อสถาบันพระพุทธศาสนาต่อไป
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the roles of the novices in the Theravada Buddhism 2) to study the roles of the novices in Loei Province 3) to analyze the roles of the novices in Loei Province. The derived information and data were: Tripitaka commentary, related textbooks, data and in-depth interviews from 10 monks and 10 novices. The total numbers of the interviewees were 20 persons. The derived data was contentedly analyzed and inductive conclusion was structurally formed. The results of research were found that: Novices are clans of the monks. In the Buddhist era, the novices’ roles were to preserve the religion, be successor to religion and propagate the Dharma disciplines. At present, the novices have roles in helping and following the 10 centipede, Se Khiyawat, traditions and laws. They study Pariyati Dharma including Dharma Department, Pali Department and Department of General Education and Bachelor Degree levels. They keep, protect and propagate Buddhism. Factors that the youths in Loei Province decided to ordinate were the motivation from their parents, ordination according to tradition, alleviating the burden of parents, problems of poverty, staying away from drugs, problems of divorced parents, lack of educational opportunities, refining behavior and ordaining to pay grace to parents. The duty of the novices in Loei are: studying, serving their teachers and clergy, being the monks’ assistants, doing the routine, being a good image to the Buddhists, renewing Buddhism and propagating Buddhism. After analyzing the roles of the novice in Loei Province, it was found that when picture their overall roles; their roles are: 1) for the stability of Buddhism, they have knowledge in 3 parts, Dharma, Pali and general education. This also includes the degree’s levels. The knowledge can stable Buddhism. Even when they leave the monkhood and become laymen, they preserve Buddhism in their duty. 2) For social duty such as propagation Buddhism as being monks. 3) For Thai monks Institute, the monks who become primates governing all levels used to be ordained as the novices. Then they contribute to the Buddhist Institute.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดพุทธปรัชญาการปกครองให้ทัศนะอันเป็นหลักการที่ประกอบด้วย คุณธรรม โดยกำหนดจุดมุ่งหมายไว้เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของมหาชนตลอดทั้งเทวดา เพื่ออนุเคราะห์ สงเคราะห์โลก และสิ่งแวดล้อม พุทธปรัชญาเถรวาทให้ความสำคัญกับผู้ปกครองที่มีศีลธรรม ผู้ปกครองที่ดีจะต้องประพฤติปฏิบัติและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสาธารณะชน 2. การปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ให้ทัศนะว่าการปกครองที่ดีที่สุด คือการบริหารจัดการหรือการปกครองอันเป็นกิจการสาธารณะ (The Republic) เพื่อประโยชน์สุข สันติ สงบ ของผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองมีใจเป็นธรรม มีความยุติธรรม จากการปกครองโดยราชาผู้เป็นปราชญ์ 3. แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต พบว่า มีลักษณะที่เหมือนกันในหลายแง่มุม คือ 1) มีลักษณะสังคมอุดมคติ 2) มีเป้าหมายทางการเมือง 3) ยึดหลักของประโยชน์สุขให้กับสังคมและคนหมู่มาก 4) สังคมที่ดีงามต้องใช้คุณธรรมและศีลธรรมเป็นรากฐานในการกำหนดคุณค่าสังคม 5) อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดพุทธปรัชญาการปกครองให้ทัศนะอันเป็นหลักการที่ประกอบด้วย คุณธรรม โดยกำหนดจุดมุ่งหมายไว้เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของมหาชนตลอดทั้งเทวดา เพื่ออนุเคราะห์ สงเคราะห์โลก และสิ่งแวดล้อม พุทธปรัชญาเถรวาทให้ความสำคัญกับผู้ปกครองที่มีศีลธรรม ผู้ปกครองที่ดีจะต้องประพฤติปฏิบัติและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสาธารณะชน 2. การปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ให้ทัศนะว่าการปกครองที่ดีที่สุด คือการบริหารจัดการหรือการปกครองอันเป็นกิจการสาธารณะ (The Republic) เพื่อประโยชน์สุข สันติ สงบ ของผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองมีใจเป็นธรรม มีความยุติธรรม จากการปกครองโดยราชาผู้เป็นปราชญ์ 3. แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต พบว่า มีลักษณะที่เหมือนกันในหลายแง่มุม คือ 1) มีลักษณะสังคมอุดมคติ 2) มีเป้าหมายทางการเมือง 3) ยึดหลักของประโยชน์สุขให้กับสังคมและคนหมู่มาก 4) สังคมที่ดีงามต้องใช้คุณธรรมและศีลธรรมเป็นรากฐานในการกำหนดคุณค่าสังคม 5) อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
The objectives of this thesis were as follows: 1) to study the concept of ruling in Theravada Buddhist philosophy. 2) to study the philosophy of the state of Plato. 3) to analyze the concepts of ruler ship in Theravada Buddhist philosophy and the state-based philosophy of Plato. The Result of this research were found as follows: 1. The concept of Buddhist philosophy of government has shown the views and practices that are the principles that comprise the rule of law. The purpose is for the happiness of the public. Theravada Buddhist Philosophy Focuses on Moral Guardians Good parents must behave. And control of their own behavior to the acceptance of the public. 2. The Rule of the State of Plato is the management or administration of the state (The Republic) to benefit the peace of the people. to be just to be fair and to be happiness from the philosopher king by the wise. 3. The concept of ruling in Theravada Buddhist philosophy and the philosophy of the state administration of Plato. 1) There is a social ideal. 2) It has a political purpose. 3) It is based on the principle of happiness for society and people. 4) A good society requires. Morality and morality are the foundation of a balanced. 5) Under natural rules.