Search results

2,196 results in 0.24s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2548
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2548
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 253
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 253
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสําเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม.)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2542
Note: ฉบับอัดสําเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม.)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2542
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2548
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2548
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    การศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูนมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน จำนวนทั้งสิ้น 25 ราย คัดเลือกผู้ที่อาศัยในพื้นที่เป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 30 ปี ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า : การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน เกิดจากสภาพวิถีชีวิตของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน ประกอบด้วยด้านครอบครัว ด้านอาชีพ ด้านการศึกษา ด้านการปกครอง ด้านศาสนาและวัฒนธรรม และด้านเทคโนโลยี และมีสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในชุมชน ประกอบด้วยสาเหตุภายใน ได้แก่ สาเหตุจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ความต้องการทางด้านวัตถุ การยอมรับประเพณีและวัฒนธรรมใหม่ๆ เข้ามาในชุมชน สาเหตุจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เมื่อรับวัฒนธรรมภายนอกเข้ามา ทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงแปลงไปด้วย และสาเหตุจากความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ส่วนสาเหตุภายนอก ได้แก่ เกิดจากสาเหตุด้านการพัฒนาของภาครัฐ และสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูนมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน จำนวนทั้งสิ้น 25 ราย คัดเลือกผู้ที่อาศัยในพื้นที่เป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 30 ปี ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า : การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน เกิดจากสภาพวิถีชีวิตของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน ประกอบด้วยด้านครอบครัว ด้านอาชีพ ด้านการศึกษา ด้านการปกครอง ด้านศาสนาและวัฒนธรรม และด้านเทคโนโลยี และมีสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในชุมชน ประกอบด้วยสาเหตุภายใน ได้แก่ สาเหตุจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ความต้องการทางด้านวัตถุ การยอมรับประเพณีและวัฒนธรรมใหม่ๆ เข้ามาในชุมชน สาเหตุจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เมื่อรับวัฒนธรรมภายนอกเข้ามา ทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงแปลงไปด้วย และสาเหตุจากความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ส่วนสาเหตุภายนอก ได้แก่ เกิดจากสาเหตุด้านการพัฒนาของภาครัฐ และสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
This is the study of the lifestyle and change of the Karen community in Phra Bath Huai Tom village, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. This study aimed to study the lifestyle and changes of the Karen community in Phra Bath Huai Tom village, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. The sample in this study was the 25 people who lived in Ban Phra Bath Huai Tom Karen community, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. All of the participant must have lived in the area for at least 30 years. The research designed qualitatively in order to investigate the phenomena of the lifestyle changes of the Karen community in Ban Phra Bath Huai Tom, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. Interviewing was the tool for data collection. The research finds that : Lifestyle changes of the Karen community Ban Phra Bath Huai Tom, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province are, most of data analysis presented comparing, a result of the past and present community lifestyle which was consisting of family, career, education, administration, religion and culture, and technology. Those are reasons why the cause changes in lifestyle in the community. The changes were consisting of internal causes because of the increasing of their population, the materialism trend, and the accepting of new traditions and cultures. That is the main reason why their lifestyle was changing. When Karen people received external culture, this makes the way of life changing as well as beliefs, traditions and culture. The external cause is affected by the development of local and centered government which changed their lifestyle of Karen community in Ban Phra Bath Huai Tom community, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาสันติภาพในพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) ศึกษาหลักเมตตาในพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) ศึกษาการสร้างสันติภาพในสังคมด้วยหลักเมตตาในพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นวิจัยทางด้านเอกสาร โดยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก หนังสือ เอกสาร ผลงานวิจัยของนักวิชาการ ตลอดจนผลงานของผู้รู้ในทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้อง นำเนื้อหามาวิเคราะห์ แล้วนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ในพุทธปรัชญาเถรวาท สันติภาพ หมายถึง การที่จิตใจสงบหลุดพ้นแล้วจากกิเลสตัณหา เป็นสภาพจิตใจที่บรรลุถึงพระนิพพาน สันติภาพในพุทธปรัชญาเถรวาท แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ (๑) สันติภาพภายใน คือสภาพจิตใจที่เป็นอิสระจากความคิด หรืออารมณ์ ด้วยการปฏิบัติตามมัชฌิมาปฏิปทา หรือมรรค ๘ เพื่อบรรลุถึงสันติภายในจิตใจที่เป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต คือ นิพพาน (๒) สันติภาพภายนอก คือสภาวะที่บุคคล สังคม ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ไม่ฆ่าหรือทำร้ายร่างกายของกันและกัน ด้วยการปฏิบัติตามหลักเบญจศีลเบญจธรรม และกุศลกรรมบถ เพื่อทำให้กาย วาจาสงบ ดังนั้นสันติภาพภายในกับสันติภาพภายนอก จึงแยกกันไม่ออกต้องพัฒนาไปพร้อมๆ กัน เมตตา คือ ความรักสรรพสัตว์อย่างไม่มีขอบเขต เมตตาเป็นหลักธรรมที่สำคัญในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ เป็นพื้นฐานของการควบคุมความประพฤติของมนุษย์ ให้มีความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน ไม่ ให้เบียดเบียนกันทำให้มนุษย์และสัตว์ทั้งปวงอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ด้วยการปฏิบัติเมตตามโนกรรม คือจะคิดสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้คิดด้วยเมตตา เมตตาวจีกรรม คือจะพูดจาสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้พูดจาด้วยเมตตา และเมตตากายกรรม คือจะกระทำการสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้กระทำด้วยเมตตา ดังนั้นการมีเมตตาอยู่ในจิตใจ จึงเปรียบเสมือนการทำความดีทั้งปวง ด้วยกาย วาจา ใจ มโนกรรมเป็นกรรมที่สำคัญที่สุดในการกำหนดการกระทำทั้งหมดของมนุษย์ เพราะเป็นจุด เริ่มต้นของกายกรรมและวจีกรรม การเจริญเมตตาจัดเป็นการปฏิบัติศาสนธรรมที่สำคัญต่อการเสริม สร้างสันติภาพ ๑) ในระดับบุคคล ได้แก่ การใช้หลักเมตตาในเบญจธรรม เบญจธรรม เป็นธรรมที่ดี สะอาด เพราะกำจัดธรรมที่ไม่สะอาด คือ โทสะ เป็นคุณธรรมคู่กับเบญจศีล เบญจศีลเป็นข้อที่ควรงดเว้น ส่วนเบญจธรรมเป็นข้อควรปฏิบัติที่ก่อให้เกิดความความเรียบร้อยด้านกายกรรมและวจีกรรม ทำให้บุคคลอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ๒) ในระดับสังคม ได้แก่ การใช้หลักเมตตาในพรหมวิหารธรรม เป็นคุณธรรมที่เกิดขึ้นภายในชีวิตจิตใจ หรือที่เรียกว่า มโนกรรม ทำให้ประชาชนในชุมชนมีความรัก ความปรารถนาดีต่อกัน รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตนได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์เช่นพระพรหม เป็นคุณธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างสันติสุข ความสัมพันธ์ระหว่างการสร้างสันติภาพในตัวบุคคลจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่จะนำไปสู่การสร้างสันติภาพในสังคมอย่างแท้จริง
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาสันติภาพในพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) ศึกษาหลักเมตตาในพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) ศึกษาการสร้างสันติภาพในสังคมด้วยหลักเมตตาในพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นวิจัยทางด้านเอกสาร โดยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก หนังสือ เอกสาร ผลงานวิจัยของนักวิชาการ ตลอดจนผลงานของผู้รู้ในทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้อง นำเนื้อหามาวิเคราะห์ แล้วนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ในพุทธปรัชญาเถรวาท สันติภาพ หมายถึง การที่จิตใจสงบหลุดพ้นแล้วจากกิเลสตัณหา เป็นสภาพจิตใจที่บรรลุถึงพระนิพพาน สันติภาพในพุทธปรัชญาเถรวาท แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ (๑) สันติภาพภายใน คือสภาพจิตใจที่เป็นอิสระจากความคิด หรืออารมณ์ ด้วยการปฏิบัติตามมัชฌิมาปฏิปทา หรือมรรค ๘ เพื่อบรรลุถึงสันติภายในจิตใจที่เป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต คือ นิพพาน (๒) สันติภาพภายนอก คือสภาวะที่บุคคล สังคม ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ไม่ฆ่าหรือทำร้ายร่างกายของกันและกัน ด้วยการปฏิบัติตามหลักเบญจศีลเบญจธรรม และกุศลกรรมบถ เพื่อทำให้กาย วาจาสงบ ดังนั้นสันติภาพภายในกับสันติภาพภายนอก จึงแยกกันไม่ออกต้องพัฒนาไปพร้อมๆ กัน เมตตา คือ ความรักสรรพสัตว์อย่างไม่มีขอบเขต เมตตาเป็นหลักธรรมที่สำคัญในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ เป็นพื้นฐานของการควบคุมความประพฤติของมนุษย์ ให้มีความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน ไม่ ให้เบียดเบียนกันทำให้มนุษย์และสัตว์ทั้งปวงอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ด้วยการปฏิบัติเมตตามโนกรรม คือจะคิดสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้คิดด้วยเมตตา เมตตาวจีกรรม คือจะพูดจาสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้พูดจาด้วยเมตตา และเมตตากายกรรม คือจะกระทำการสิ่งใดประกอบสิ่งใดก็ให้กระทำด้วยเมตตา ดังนั้นการมีเมตตาอยู่ในจิตใจ จึงเปรียบเสมือนการทำความดีทั้งปวง ด้วยกาย วาจา ใจ มโนกรรมเป็นกรรมที่สำคัญที่สุดในการกำหนดการกระทำทั้งหมดของมนุษย์ เพราะเป็นจุด เริ่มต้นของกายกรรมและวจีกรรม การเจริญเมตตาจัดเป็นการปฏิบัติศาสนธรรมที่สำคัญต่อการเสริม สร้างสันติภาพ ๑) ในระดับบุคคล ได้แก่ การใช้หลักเมตตาในเบญจธรรม เบญจธรรม เป็นธรรมที่ดี สะอาด เพราะกำจัดธรรมที่ไม่สะอาด คือ โทสะ เป็นคุณธรรมคู่กับเบญจศีล เบญจศีลเป็นข้อที่ควรงดเว้น ส่วนเบญจธรรมเป็นข้อควรปฏิบัติที่ก่อให้เกิดความความเรียบร้อยด้านกายกรรมและวจีกรรม ทำให้บุคคลอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ๒) ในระดับสังคม ได้แก่ การใช้หลักเมตตาในพรหมวิหารธรรม เป็นคุณธรรมที่เกิดขึ้นภายในชีวิตจิตใจ หรือที่เรียกว่า มโนกรรม ทำให้ประชาชนในชุมชนมีความรัก ความปรารถนาดีต่อกัน รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตนได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์เช่นพระพรหม เป็นคุณธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างสันติสุข ความสัมพันธ์ระหว่างการสร้างสันติภาพในตัวบุคคลจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่จะนำไปสู่การสร้างสันติภาพในสังคมอย่างแท้จริง
The objectives of this thesis were as follows: 1) To study of peace formation in Theravada Buddhist philosophy, 2) To study the principle of metta in Theravada Buddhist philosophy, and 3) To study of peace formation in social by metta’s principle in Theravada buddhist philosophy. This was qualitative research collecting the data from the Tipitaka, documents and research works. The data were analyzed and the presented in a descriptive method. The results of the research were found as follows: In Theravada buddhist philosophy, peace mean the mind is calm are free from already defilements craving. This mind condition to attainment at Nibbana. The peace in Theravada Buddhist philosophy, distribute 2 kind is 1) Inner peace is a mental condition free from thought or emotion with the way middle path practice or the path 8. That attainment of ultimate peace of mind in the goal of life viz Nibbana. 2) Outer peace was the condition that a person, social, do not exploit each other. do not kill or injure of one another, with practice the five precepts, the five ennobling virtues and Wholesome course of action for make the body, the speech is calm. Thus the Inner peace with Outer peace, then separate don't go out must develop go to at the same time. Metta (loving-kindness) is aboundless love for all fellow beings. Metta is the essential principle in Theravada buddhist philosophy to control behavior of the human beings which makes ones to be generous, no injury to each other, the human beings and sentient being to stay together happily and to make peace for social. Metta behavior for Metta Manokamma (mental action) be will think an anything assembles an anything , think with be loving-kindness, Metta Vacakamma (verbal action) be will talk an anything assembles an anything, talk with be loving-kindness, Metta Kayakamma (bodily action) be will do an anything assembles an anything , do with be loving-kindness. Thus having loving-kindness is in the mind, Then compared as doing goodness whole, with a body, word and mind. Manokamma is an essential principle kamma in Buddhism for point action of all human beings because it’s begin of verbal action and bodily action. The practice of metta or loving-kindness is an essential part of the religious training necessary for the promotion of peace. 1) Individual level such as Metta’s principle in Pancadhamma meaning the goodness and the virtues as the means to eradicate Dosa. Five precepts and Pancadhamma are the pairs of each other. Five precepts is the factor for refraining and Pancadhamma is the factor for practicing both of which cause of verbal action and bodily action to the peace. (2) Social Level such as Metta’s principle in Brahmaviharadhamma, the virtues as the means to inside mind or Mettamanokamma in their life, and make people in the community to have the love, the goodwill to each other. There should listen the other’s opinions and should encourage to behave for excellent existence living and being guiltless person as Brahma. That will be virtues to live with one another peace. The relation between building peace will in a person then basically important base to will bring about to building peace in the social actually.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสําเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2543
Note: ฉบับอัดสําเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2543
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาสัมมาทิฏฐิตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาการสร้างสันติสุขตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อวิเคราะห์สัมมาทิฏฐิ ในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก และจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักคำสอนเรื่องสัมมาทิฏฐิที่ปรากฏในพุทธปรัชญาเถรวาท ผลการวิจัยพบว่า สัมมาทิฏฐิเป็นองค์ประกอบข้อแรกของมรรคมีองค์ ๘ ซึ่งเป็นองค์ ต้นทางแห่งมรรค โดยที่องค์มรรคอีกทั้ง ๗ ข้อ ก็มีคำว่า สัมมา อยู่ข้างหน้าทุกองค์ ๒ และจะเห็นว่า “สัมมา” แปลว่า “ชอบ” หรือ “ถูก” และ “ทิฏฐิ” แปลว่า “ความเห็น” สัมมาทิฏฐินั้นเปรียบประดุจแกนนำ หรือในมุมของปฏิจจสมุปบาท ถ้ามีสัมมาทิฏฐิเป็นตัวนำวิถีชีวิตก็จะดำเนินไปในสายดับทุกข์ (นิโรธวาร) หรือ ปฏิบัติตามมรรคมีองค์ ๘ การสร้างสันติสุขมี ๒ ปัจจัย ได้แก่ (๑) ปัจจัยภายนอก สำหรับคนสามัญนั้นต้องอาศัยการชี้แนะจากคนดี มีปัญญา มีคุณธรรม ทำหน้าที่ช่วยเหลือแนะนำสั่งสอนให้ผู้อื่นมีความเห็นถูกและคล้อยไปตามคำแนะนำชักจูงที่ฉลาดได้ง่ายและจะต้องฝึกหัดให้สามารถใช้ความคิดอย่างถูกวิธีด้วยตนเองได้ เป็นกัลยาณมิตรโดยแท้มี ๒ ด้าน คือ (๑) คุณสมบัติที่แสดงออกภายนอก คือ คุณสมบัติมิตรที่ดี ๗ ได้แก่ ๑) มิตรมีใจงามชนิดอุปการะ ๒) ทมะ ๓) มิตรมีใจงามชนิดมีใจรัก ๔) สัจจะ ๕) ขันติ ๖) มิตรมีใจงามชนิดร่วมทุกข์ร่วมสุข ๗) มิตรมีใจงามชนิดแนะนำประโยชน์ (๒) ปัจจัยภายใน ได้แก่ ฝึกหัดอบรม กาย วาจา จิตใจ และปัญญาให้ยิ่งขึ้นไปจนบรรลุจุดหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ผลการวิเคราะห์สัมมาทิฏฐในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยนั้น ก่อให้เกิดความเห็นถูก เห็นชอบซึ่งต้องตั้งต้นด้วยความเห็นชอบเสมอ อีกทั้งเพื่อให้มีความสมดุล ในด้านต่างๆเช่น ด้านการศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านการศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อมจากวัฒนธรรมอื่นที่หลั่งไหลเข้ามาจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาสัมมาทิฏฐิตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาการสร้างสันติสุขตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อวิเคราะห์สัมมาทิฏฐิ ในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก และจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักคำสอนเรื่องสัมมาทิฏฐิที่ปรากฏในพุทธปรัชญาเถรวาท ผลการวิจัยพบว่า สัมมาทิฏฐิเป็นองค์ประกอบข้อแรกของมรรคมีองค์ ๘ ซึ่งเป็นองค์ ต้นทางแห่งมรรค โดยที่องค์มรรคอีกทั้ง ๗ ข้อ ก็มีคำว่า สัมมา อยู่ข้างหน้าทุกองค์ ๒ และจะเห็นว่า “สัมมา” แปลว่า “ชอบ” หรือ “ถูก” และ “ทิฏฐิ” แปลว่า “ความเห็น” สัมมาทิฏฐินั้นเปรียบประดุจแกนนำ หรือในมุมของปฏิจจสมุปบาท ถ้ามีสัมมาทิฏฐิเป็นตัวนำวิถีชีวิตก็จะดำเนินไปในสายดับทุกข์ (นิโรธวาร) หรือ ปฏิบัติตามมรรคมีองค์ ๘ การสร้างสันติสุขมี ๒ ปัจจัย ได้แก่ (๑) ปัจจัยภายนอก สำหรับคนสามัญนั้นต้องอาศัยการชี้แนะจากคนดี มีปัญญา มีคุณธรรม ทำหน้าที่ช่วยเหลือแนะนำสั่งสอนให้ผู้อื่นมีความเห็นถูกและคล้อยไปตามคำแนะนำชักจูงที่ฉลาดได้ง่ายและจะต้องฝึกหัดให้สามารถใช้ความคิดอย่างถูกวิธีด้วยตนเองได้ เป็นกัลยาณมิตรโดยแท้มี ๒ ด้าน คือ (๑) คุณสมบัติที่แสดงออกภายนอก คือ คุณสมบัติมิตรที่ดี ๗ ได้แก่ ๑) มิตรมีใจงามชนิดอุปการะ ๒) ทมะ ๓) มิตรมีใจงามชนิดมีใจรัก ๔) สัจจะ ๕) ขันติ ๖) มิตรมีใจงามชนิดร่วมทุกข์ร่วมสุข ๗) มิตรมีใจงามชนิดแนะนำประโยชน์ (๒) ปัจจัยภายใน ได้แก่ ฝึกหัดอบรม กาย วาจา จิตใจ และปัญญาให้ยิ่งขึ้นไปจนบรรลุจุดหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ผลการวิเคราะห์สัมมาทิฏฐในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยนั้น ก่อให้เกิดความเห็นถูก เห็นชอบซึ่งต้องตั้งต้นด้วยความเห็นชอบเสมอ อีกทั้งเพื่อให้มีความสมดุล ในด้านต่างๆเช่น ด้านการศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านการศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อมจากวัฒนธรรมอื่นที่หลั่งไหลเข้ามาจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
This thesis serves the purposes: 1) to study Right Understanding in Theravada Buddhist philosophy, 2) to study creating peace in Theravada Buddhist Philosophy, and 3) to analyze right understanding to create peace of Thai’s society in Theravada Buddhist Philosophy. It has been carried out with qualitative research methodology, of which its sources include The Tipitaka, relevant researches and other texts to supplement it. The results of the research were found that: The righteous thoughts are the first element of the eight paths of the path. By the 7 other paragraphs, the word is right in front of all 2, and see that “right” means “right” or “right” and “point” means “opinion”. There are two levels of peace building: (1) external factors For ordinary people, it requires the guidance of the good, the wise, the virtuous, the help, the instruction, the instruction to others, the right opinion, and follow the instructions to induce the smart and easy to practice to be able to use the right thinking. The analysis of the expected results when applied Sammathit to create peace in Thai society. It is for the opinion to be approved, which must always be initiated with approval. Also to be balanced. In such areas as education, social and environmental, to be ready to accommodate the rapid and widespread change in education, society, environment, from other cultures flowing from the outside world as well.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พิมพ์เป็นที่ระลึกในงานวันอนุสรณ์ 17 กันยายน 2540
สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พิมพ์เป็นที่ระลึกในงานวันอนุสรณ์ 17 กันยายน 2540
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียน จำนวน 121 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 92 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 460 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครู เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การพัฒนาสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามลำดับ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จากการทดสอบของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (2561) ในภาพรวมอยู่ในระดับผ่าน โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ วิชาภาษาไทยวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคณิตศาสตร์ ตามลำดับ 3) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.607 (R = 0.607) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ร้อยละ 36.8 (R^2= 0.368) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 7.923 + 1.988 (x4) + 2.394 (x2) (R^2= 0.368) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.385 (x4) + 0.298 (x4) (R^2= 0.368)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียน จำนวน 121 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 92 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 460 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครู เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การพัฒนาสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามลำดับ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จากการทดสอบของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (2561) ในภาพรวมอยู่ในระดับผ่าน โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ วิชาภาษาไทยวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคณิตศาสตร์ ตามลำดับ 3) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.607 (R = 0.607) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ร้อยละ 36.8 (R^2= 0.368) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 7.923 + 1.988 (x4) + 2.394 (x2) (R^2= 0.368) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.385 (x4) + 0.298 (x4) (R^2= 0.368)
The objectives of this research were: 1) to study academic affairs administration of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2, 2) to study learning achievement of students in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2, and 3) to study academic affairs administration of administrators affecting the learning achievement of students in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2. The data were collected from 460 informants from 92 schools out of 121 schools by using questionnaire. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple regressions. The results of the study were found that: 1) The academic affairs administration of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 was at a high level overall. In ranging order, the highest level was on learning innovation and technology development, followed by internal quality assurance assessment, evaluation, measurement and transfer of credits, curriculum development, learning process development, education supervision, and educational quality development research respectively. 2) The learning achievement of students in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 from National Institute of Educational Testing Service (2561) was at a passed level in total. The highest average level was on Thai language, followed by Science, English and Mathematics respectively. 3) The academic affairs administration of administrators affecting the learning achievement of students in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 was at a statistic significant level at 0.01. The most significant level was on educational quality development research and learning process development with a statistic figure at 0.01 and multiple correlation coefficient at 0.607 (R = 0.607) which can explain the variance of academic affairs administration of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 at 36.8% (R^2= 0.368). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 7.923 + 1.988 (x4) + 2.394 (x2) (R^2= 0.368) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.385 (x4) + 0.298 (x4) (R^2= 0.368)
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ที่ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ ประชาชน จำนวน 382 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติการบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ("x" ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ สถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่า (t–test) และ (One Way ANOVA/F–test) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์จากผู้บริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม ทางการเมืองของนักศึกษา จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ด้านการรณรงค์ ทางการเมือง และด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ดังนี้ (1) ประชาชนที่มีเพศ ต่างกัน มีส่วนร่วมทาง การเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) ประชาชนที่มีอายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ ต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งเอาไว้ 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า 1) ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ว่ามีการได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ให้รับรู้และรับทราบ ตรวจสอบข้อมูลตนเอง ได้รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญที่กำหนด 2) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง เมื่อมีการเลือกตั้ง มีการแจ้งประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการเลือกตั้ง จะได้รับข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ ในการตัดสินใจเลือกผู้แทนของตนเองทำให้ประชาชนเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตน ไปใช้สิทธิเลือกตั้งให้มากที่สุด 3) ด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง เป็นการประชุมมากกว่า มีการจัดอบรม ให้ความรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อให้ผู้มีอำนาจหน้าที่เข้าไปแก้ปัญหาเหล่านั้น 4) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ส่วนใหญ่ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร ทางสื่อโทรทัศน์ วิทยุ อินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ และข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ รวมทั้งสื่อออนไลน์ การติดตามข่าวสารให้ได้ข้อมูลที่แท้จริง
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ที่ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ ประชาชน จำนวน 382 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติการบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ("x" ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ สถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่า (t–test) และ (One Way ANOVA/F–test) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์จากผู้บริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม ทางการเมืองของนักศึกษา จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ด้านการรณรงค์ ทางการเมือง และด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ดังนี้ (1) ประชาชนที่มีเพศ ต่างกัน มีส่วนร่วมทาง การเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) ประชาชนที่มีอายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ ต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งเอาไว้ 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า 1) ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ว่ามีการได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ให้รับรู้และรับทราบ ตรวจสอบข้อมูลตนเอง ได้รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญที่กำหนด 2) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง เมื่อมีการเลือกตั้ง มีการแจ้งประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการเลือกตั้ง จะได้รับข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ ในการตัดสินใจเลือกผู้แทนของตนเองทำให้ประชาชนเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตน ไปใช้สิทธิเลือกตั้งให้มากที่สุด 3) ด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง เป็นการประชุมมากกว่า มีการจัดอบรม ให้ความรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อให้ผู้มีอำนาจหน้าที่เข้าไปแก้ปัญหาเหล่านั้น 4) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ส่วนใหญ่ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร ทางสื่อโทรทัศน์ วิทยุ อินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ และข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ รวมทั้งสื่อออนไลน์ การติดตามข่าวสารให้ได้ข้อมูลที่แท้จริง
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the political participation of people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng District, Si Sa Ket Province. 2) to compare the political participation of people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng District, Si Sa Ket Province classified by gender, age, educational level, occupation, and income, and 3) to propose the political participation of the people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng District, Si Sa Ket Province. The quantitative data were collected from 382 samples by questionnaires and the qualitative data were collected by interview forms from the 5 informants concerning political participation of students. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, value testing (t–test) and (One Way ANOVA/F–test). If statistically significant differences were found, LSD (Least Significant Difference) was used. The results of the research showed that: 1) Political participation of people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng district of Sisaket province was at a medium level overall. When considering in each aspect in order of average order from the highest to the least level, election voting was the first, followed by tracking political news, political campaigning, and the participation in political assembly respectively. 2) Comparison results; (1) People of different genders had political participation in 4 aspects indifferently which was not in accordance with the study hypothesis. (2) People with different educational backgrounds, occupations, and incomes had political participation in all 4 areas differently with statistically significant figure at the 0.05 level, which was in accordance with the study hypothesis. 3) Suggestions were as follows: 1) In exercising the right to vote; there was public relations to people to know, check and aware of their rights and duties under the constitution. 2) In political campaigns; in the election, there was public announcement about the election and people could obtain information from their leaders in making decision to their representatives, understand their roles and responsibilities for exercise the rights in voting. 3) in terms of political assembly; there were meeting, training, and knowledge sharing In order that the authority could help solve the problems. 4) In tracking political news; most people accessed information through television, radio, internet, newspapers and message from their leaders.
หนังสือ

    The purposes of this research were as follows; 1) to study the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province, 2) to compare the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province having different gender, monthly income, working experience, and positions in the village funds, and 3) to have interviews for the guideline in the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected from documents in the primary source and secondary source, in-depth interviews, and by using questionnaires. The research results found that 1. The administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province in 3 aspects was at a high level overall. In details, the highest level was on planning, followed by operation, and evaluation respectively. 2. The results of comparison, the administration of the village fund committee having different genders, monthly income, work experience, and position in the village funds in 3 aspects was not different. 3. The results of interviews regarding the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province indicated that: In Loving-kindness, the administrators should assign work and duty relevant to the ability and knowledge of the subordinates, should support them in developing knowledge and ability. The administrators should work fulltime as the sample of the subordinates, and should be kind, friendly, and justice to the subordinates. In Compassion, the administrators should collaborate with the subordinates to work, share work experiences and knowledge to them, and provide assistance to them when in need. In Sympathetic joy, the administrators should praise and reward the subordinates on their achievement in work and duty performance, support and publicize their work outcome sincerely. In Equanimity, the administrators should assign job and work to the subordinates according to their knowledge and ability without bias, support them to work together in team, and treat everyone equally with neutral mind
The purposes of this research were as follows; 1) to study the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province, 2) to compare the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province having different gender, monthly income, working experience, and positions in the village funds, and 3) to have interviews for the guideline in the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected from documents in the primary source and secondary source, in-depth interviews, and by using questionnaires. The research results found that 1. The administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province in 3 aspects was at a high level overall. In details, the highest level was on planning, followed by operation, and evaluation respectively. 2. The results of comparison, the administration of the village fund committee having different genders, monthly income, work experience, and position in the village funds in 3 aspects was not different. 3. The results of interviews regarding the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province indicated that: In Loving-kindness, the administrators should assign work and duty relevant to the ability and knowledge of the subordinates, should support them in developing knowledge and ability. The administrators should work fulltime as the sample of the subordinates, and should be kind, friendly, and justice to the subordinates. In Compassion, the administrators should collaborate with the subordinates to work, share work experiences and knowledge to them, and provide assistance to them when in need. In Sympathetic joy, the administrators should praise and reward the subordinates on their achievement in work and duty performance, support and publicize their work outcome sincerely. In Equanimity, the administrators should assign job and work to the subordinates according to their knowledge and ability without bias, support them to work together in team, and treat everyone equally with neutral mind
TOC:
  • วิทยานิพนธ์เรื่อง การบริหารกองทุนหมู่บ้านของคณะกรรมการตามหลักพรหมวิหารธรรมอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม มี เพศ รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์ในการทำงาน ตำแหน่งในกองทุนหมู่บ้าน ที่ต่างกัน และ 3) เพื่อสัมภาษณ์แนวทางการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านตามหลักพรหมวิหารธรรม เป็นการศึกษาวิจัยแบบเชิงผสมผสาน (Mixed Method Research) ที่ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งเน้นวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยการแจกแบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ (Qualitative Research by interviews) เป็นการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากเอกสารปฐมภูมิและเอกสารทุติยภูมิรวมทั้งสร้างแบบสอบถาม (Questionnaires) ผลการวิจัยพบว่า 1.บริหารของคณะกรรมการกองทุนของหมู่บ้านตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียง ด้านการวางแผนตามหลักพรหมวิหารธรรม ด้านการดำเนินงานตามหลักพรหมวิหารธรรม และด้านการประเมินผลตามหลักพรหมวิหารธรรม 2.ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยเปรียบเทียบการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ที่มีเพศ รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์ ตำแหน่งในกองทุนหมู่บ้าน ไม่แตกต่างกัน มีการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3.ผลการวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย พบว่า เมตตา คือ ควรมอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถของผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน ควรสนับสนุนบุคลากรให้ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ปฏิบัติงานให้เต็มเวลา เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ภายใต้ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทำประโยชน์แก่มนุษย์สัตว์ทั่วหน้า กรุณา คือ ร่วมแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่องในการทำงานร่วมกัน ประสานงานกับผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างสม่ำเสมอ ถ่ายทอดถอดความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้วยความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปลื้องบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อน มุทิตา คือ ยกย่องชมเชยแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความจริงใจด้วยการประกาศความดีความชอบ สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้บริหาร สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานที่ดีของผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง กอปรด้วยอาการแช่มชื่นเบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ดำรงในปกติสุข พลอยยินดีด้วยเมื่อเขาได้ดีมีสุข เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป อุเบกขา คือ แบ่งงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างชดเจน เหมาะสมตามความรู้ ความสามารถ จัดจัดสรรผลประโยชน์แก่ผู้ร่วมงานอย่างเสมอภาค และส่งเสริม สนับสนุนให้ฝ่ายต่าง ๆ ทำงานร่วมกัน เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ ความวางใจเป็นกลางในส่วนของการจ่ายเงินของกองทุนเป็นการจ่ายตามลำดับอันจะให้ดำรงอยู่ในธรรมตามที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญา คือ มีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตราชั่ง ไม่เอนเอียงด้วยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สัตว์ทั้งหลายกระทำแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือชั่ว สมควรแก่เหตุอันตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบัติไปตามธรรม รวมทั้งรู้จักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทำ เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควรรับผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รับผลอันสมกับความรับผิดชอบของตน
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2545
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2545
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ