Search results

39 results in 0.07s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปรัชญาปฏิรูปนิยม 2. เพื่อศึกษาปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) 3. เพื่อเปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร โดยศึกษาจากเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิ ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า 1. ปรัชญาปฏิรูปนิยม สรุปว่า ปรัชญาปฏิรูปนิยมมีพื้นฐานมาจากปรัชญาปฏิบัตินิยม ผสมผสานกับปรัชญาพิพัฒนาการแนวคิดที่ ผสมผสานทำให้ปรัชญาปฏิรูปนิยมเน้นการศึกษาเพื่อสังคมเป็นสำคัญ โดยมีปรัชญาว่า ปฏิรูปสังคม เพื่อชีวิตที่ชาญฉลาด สามารถทำให้สิ่งแวดล้อมของตนเองดีขึ้น 2. ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปว่า ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นกระบวนการให้และการรับความรู้ ประสบการณ์ การปรับเปลี่ยนทัศนคติการสร้างจิตสำนึก สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยมีปรัชญาว่า ชีวิตที่สุขเกษมดีงาม ท่ามกลางธรรมชาติที่สมดุล ในสังคมที่สันติสุข 3. เปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปได้ดังนี้ 1) เปรียบเทียบหลักสูตรโดยทั้งสองปรัชญามุ่งเน้นความเป็นเลิศเฉพาะทางในด้านสังคม 2) เปรียบเทียบการบริหารการศึกษามุ่งเน้นพัฒนาครูเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกันของชุมชน 3) เปรียบเทียบบุคลากรทางการศึกษา มุ่งเน้นพัฒนาผู้บริหารเป็นสำคัญ 4) เปรียบเทียบการจัดการสถาบันการศึกษา มุ่งเน้นให้สถาบันเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน 5) เปรียบเทียบกระบวนการเรียนการสอนและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มุ่งเน้นการเรียนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและเน้นการสอนที่สอดคล้องกับสังคม 6) เปรียบเทียบทรัพยากรทางการศึกษา ปรัชญาทั้งสองลัทธิมุ่งเน้นทรัพยากรในการบริหารและทรัพยากรการศึกษาเป็นหลักสำคัญ
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปรัชญาปฏิรูปนิยม 2. เพื่อศึกษาปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) 3. เพื่อเปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร โดยศึกษาจากเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิ ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า 1. ปรัชญาปฏิรูปนิยม สรุปว่า ปรัชญาปฏิรูปนิยมมีพื้นฐานมาจากปรัชญาปฏิบัตินิยม ผสมผสานกับปรัชญาพิพัฒนาการแนวคิดที่ ผสมผสานทำให้ปรัชญาปฏิรูปนิยมเน้นการศึกษาเพื่อสังคมเป็นสำคัญ โดยมีปรัชญาว่า ปฏิรูปสังคม เพื่อชีวิตที่ชาญฉลาด สามารถทำให้สิ่งแวดล้อมของตนเองดีขึ้น 2. ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปว่า ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นกระบวนการให้และการรับความรู้ ประสบการณ์ การปรับเปลี่ยนทัศนคติการสร้างจิตสำนึก สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยมีปรัชญาว่า ชีวิตที่สุขเกษมดีงาม ท่ามกลางธรรมชาติที่สมดุล ในสังคมที่สันติสุข 3. เปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปได้ดังนี้ 1) เปรียบเทียบหลักสูตรโดยทั้งสองปรัชญามุ่งเน้นความเป็นเลิศเฉพาะทางในด้านสังคม 2) เปรียบเทียบการบริหารการศึกษามุ่งเน้นพัฒนาครูเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกันของชุมชน 3) เปรียบเทียบบุคลากรทางการศึกษา มุ่งเน้นพัฒนาผู้บริหารเป็นสำคัญ 4) เปรียบเทียบการจัดการสถาบันการศึกษา มุ่งเน้นให้สถาบันเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน 5) เปรียบเทียบกระบวนการเรียนการสอนและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มุ่งเน้นการเรียนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและเน้นการสอนที่สอดคล้องกับสังคม 6) เปรียบเทียบทรัพยากรทางการศึกษา ปรัชญาทั้งสองลัทธิมุ่งเน้นทรัพยากรในการบริหารและทรัพยากรการศึกษาเป็นหลักสำคัญ
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study Reconstructionism, 2) to study education philosophy of Somdet PhraPhutthaghosajahn (P.A. Payutto), and 3) to compare Reconstructionism and education philosophy of Somdet PhraPhutthaghosajahn (P.A. Payutto). The data of this documentary qualitative study were collected from the primary and secondary sources concerned. The results of the study found that: 1) The Reconstructionism is originated from the combination of pragmatism and progressivism by placing a focus on education for society. Its slogan is social reform for intellectual life and better environment. 2) The education philosophy of Somdet PhraPhutthaghosajahn (P.A. Payutto) is the process of giving and receiving experiences, attitude adjustment and building awareness in order to live a life in society appropriately. Its slogan is a good and happy life in balanced nature in a peaceful society. 3) It can be concluded from the comparison as follows: (1) In curriculum, both concepts place a focus on a specific excellence in society, (2) In educational administration, both concepts aim to develop teachers for problem solving in communities, (3) In educational personnel, education administrators are specially emphasized, (4) In educational institution management, both concepts accept educational institutes are the learning sources of communities, (5) In teaching and learning process and technology, student-centered learning and learning relevant to social contexts are focused, and (6) In educational resources, both philosophies emphasize administrative resources as well as educational resources.
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ความคาดหวังของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 ในเขตจังหวัดเลย และเพื่อเปรียบเทียบสภาพ ความคาดหวังของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จำแนกตามอาชีพ ระดับการศึกษาของผู้ปกครองและเขตที่ตั้งของโรงเรียน และแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 ในเขตจังหวัดเลย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 ในเขตจังหวัดเลย ปีการศึกษา 2559 รวมทั้งสิ้น 234 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .976 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test for Indepen-dent samples) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ด้วยสถิติเอฟ (F-test) และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านการบริหารงานบุคคล รองลงมาคือด้านการบริหารวิชาการ และด้านการบริหารงบประมาณ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านการบริหารทั่วไปตามลำดับ 2. ผู้ปกครองมีความคาดหวังต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านการบริหารวิชาการ รองลงมาคือด้านการบริหารทั่วไป และด้านการบริหารงบประมาณ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านการบริหารงานบุคคลตามลำดับ 3. ผลการเปรียบเทียบสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 ในเขตจังหวัดเลย จำแนกตามอาชีพผู้ปกครอง ตามระดับการศึกษาของผู้ปกครอง และตามเขตที่ตั้งของโรงเรียน โดยภาพรวมพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 4. ผลการเปรียบเทียบความคาดหวังของผู้ปกครองนักเรียน พบว่าผู้ปกครองที่มีอาชีพ และระดับการศึกษาต่างกัน มีความคาดหวังต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ในจังหวัดเลย โดยภาพรวมและรายด้านพบว่าไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ส่วนผู้ปกครองที่นักเรียนเรียนอยู่ในเขตที่ตั้งของโรงเรียนต่างกัน มีความคาดหวังต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ในจังหวัดเลย โดยภาพรวมแตกต่างกันและเมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อยู่ 3 ด้านคือ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป ส่วนด้านการบริหารงบประมาณ พบว่าไม่แตกต่างกัน 5.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ความคาดหวังของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 ในเขตจังหวัดเลย และเพื่อเปรียบเทียบสภาพ ความคาดหวังของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จำแนกตามอาชีพ ระดับการศึกษาของผู้ปกครองและเขตที่ตั้งของโรงเรียน และแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 ในเขตจังหวัดเลย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 ในเขตจังหวัดเลย ปีการศึกษา 2559 รวมทั้งสิ้น 234 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .976 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test for Indepen-dent samples) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ด้วยสถิติเอฟ (F-test) และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านการบริหารงานบุคคล รองลงมาคือด้านการบริหารวิชาการ และด้านการบริหารงบประมาณ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านการบริหารทั่วไปตามลำดับ 2. ผู้ปกครองมีความคาดหวังต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านการบริหารวิชาการ รองลงมาคือด้านการบริหารทั่วไป และด้านการบริหารงบประมาณ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านการบริหารงานบุคคลตามลำดับ 3. ผลการเปรียบเทียบสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 ในเขตจังหวัดเลย จำแนกตามอาชีพผู้ปกครอง ตามระดับการศึกษาของผู้ปกครอง และตามเขตที่ตั้งของโรงเรียน โดยภาพรวมพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 4. ผลการเปรียบเทียบความคาดหวังของผู้ปกครองนักเรียน พบว่าผู้ปกครองที่มีอาชีพ และระดับการศึกษาต่างกัน มีความคาดหวังต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ในจังหวัดเลย โดยภาพรวมและรายด้านพบว่าไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ส่วนผู้ปกครองที่นักเรียนเรียนอยู่ในเขตที่ตั้งของโรงเรียนต่างกัน มีความคาดหวังต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ในจังหวัดเลย โดยภาพรวมแตกต่างกันและเมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อยู่ 3 ด้านคือ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป ส่วนด้านการบริหารงบประมาณ พบว่าไม่แตกต่างกัน 5.
แนวทางพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 ในเขตจังหวัดเลย พบว่า ด้านการบริหารวิชาการ ควรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นำภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา จัดบรรยากาศการเรียนการสอนให้นักเรียนได้เรียนอย่างมีความสุข และส่งเสริมให้ครูได้ทำวิจัยในชั้นเรียน ด้านการบริหารงบประมาณ ควรขอรับสนับสนุนงบประมาณจากเอกชน อบต. ธนาคาร ชุมชน นำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ปฏิบัติงานการเงินและพัสดุ และพัฒนาบุคลากรในการใช้เทคโนโลยี ด้านการบริหารงานบุคคล ครูควรเอาใจใส่นักเรียนอย่างใกล้ชิด ติดตามความประพฤติของนักเรียนทั้งในและนอกเวลาเรียน เปิดให้มีการบริหารงานในรูปแบบคณะกรรมการ และบรรจุอัตรากำลังครูให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน และด้านการบริหารทั่วไป ควรสร้างความตระหนักและจิตสำนึกที่ดีต่อการเป็นพลเมือง และต่อทรัพยากรธรรมชาติ จัดโครงการป้องกันยาเสพติดในโรงเรียนและชุมชน และ จัดกิจกรรมส่งเสริมเกี่ยวกับประชาธิปไตยให้แก่นักเรียนและชุมชน พัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ
The purpose of this research was to investigate the parents' expectations of students toward the educational administration of the Border Patrol Police School under the jurisdiction 24th Border Patrol Police Division in Loei Province and to compare the condition Expectations of Parents toward the educational administration of the Border Patrol Police School. The research was classified by occupation, educational level of parents and the settlement of schools, and the educational management guidelines of the Border Patrol Police School under the jurisdiction 24th Border Patrol Police Division in Loei Province. The sample was the parents of the Border Patrol Police School students. Krejcie & Morgan approach was the tool used to collect data together with a questionnaire in standard of estimated value. The reliability of the questionnaire was .976 and the interview form. Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation T-test for Independent samples and one way ANOVA with F-test and double-difference test of Scheffe. The research of the study were as follws: 1. The educational management of the Border Patrol Police School under the jurisdiction of the 24th Border Patrol Police Division, both overall and each aspect are at the medium level. The highest level was Human Resources, the Academic Department, and the Budgeting and Planning Administration respectively. The lowest level was the General Administration. 2. Parents had an expectation of educational management of Border Patrol Police Schools under the jurisdiction of the 24th Border Patrol Police Division was overall at a high level. The highest level was the Academic Administration, the General Administration and Budgeting and Planning respectively. The lowest level was the Human Resources. 3. Results of comparison of educational administration of Border Patrol Police School under the jurisdiction of the 24th Border Patrol Police Division in Loei Province classified by parental occupation, the education of the parents and the settlement of the schools. Overall, it was found that the difference was statistically significant at the level of .05 which was associated with the research assumptions. 4. Results of comparison of parents' expectations, it was found that parents with different occupations and education resulted in no significant difference in the expectations of the Border Patrol Police School in Loei Province but It did not meet the research assumptions while parents whose children studied in different schools districts had different expectations of educational administration of Border Patrol Police School in Loei Province. When considering each aspect, it was found that there was a statistically significant difference at the .05 level. Human Resource Administration and the Budgeting and Planning Administration were not different. 5. Guidelines for the development of educational administration of border patrol police schools under the jurisdiction of the 24th Border Patrol Police Division in Loei Province found that the Academic Administration should organize students and development activities by integrating local wisdom together with internal and external learning resources. The teachers created he atmosphere of learning and teach students to study happily. The school encouraged the teachers to conduct classroom research. The Budget and Planning Administration should be funded from the private sectors, Sub-District Administrative Organizations, community and banks. The school should apply modern technology to use in Finance and Procurement, and use high technology in Human Resource Administration. Teachers should closely monitor students and take very good care of student behavior both inside and outside the class. The school administration should be managed by the school board and develop the teacher's capacity to meet the standard and well management. It should raise awareness of the students to have good citizenship and think more about natural resources and also campaign about drug prevention programs in schools and communities. The school should organize democratic activities for students and communities and improve the efficiency of school staff.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2546
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2546
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2545
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2545
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557