Search results

89 results in 0.16s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (รศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (รศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ที่ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ ประชาชน จำนวน 382 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติการบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ("x" ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ สถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่า (t–test) และ (One Way ANOVA/F–test) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์จากผู้บริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม ทางการเมืองของนักศึกษา จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ด้านการรณรงค์ ทางการเมือง และด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ดังนี้ (1) ประชาชนที่มีเพศ ต่างกัน มีส่วนร่วมทาง การเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) ประชาชนที่มีอายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ ต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งเอาไว้ 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า 1) ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ว่ามีการได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ให้รับรู้และรับทราบ ตรวจสอบข้อมูลตนเอง ได้รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญที่กำหนด 2) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง เมื่อมีการเลือกตั้ง มีการแจ้งประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการเลือกตั้ง จะได้รับข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ ในการตัดสินใจเลือกผู้แทนของตนเองทำให้ประชาชนเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตน ไปใช้สิทธิเลือกตั้งให้มากที่สุด 3) ด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง เป็นการประชุมมากกว่า มีการจัดอบรม ให้ความรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อให้ผู้มีอำนาจหน้าที่เข้าไปแก้ปัญหาเหล่านั้น 4) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ส่วนใหญ่ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร ทางสื่อโทรทัศน์ วิทยุ อินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ และข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ รวมทั้งสื่อออนไลน์ การติดตามข่าวสารให้ได้ข้อมูลที่แท้จริง
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ที่ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ ประชาชน จำนวน 382 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติการบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ("x" ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ สถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่า (t–test) และ (One Way ANOVA/F–test) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์จากผู้บริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม ทางการเมืองของนักศึกษา จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ด้านการรณรงค์ ทางการเมือง และด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ดังนี้ (1) ประชาชนที่มีเพศ ต่างกัน มีส่วนร่วมทาง การเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) ประชาชนที่มีอายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ ต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งเอาไว้ 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลไพรบึง อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ พบว่า 1) ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ว่ามีการได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ให้รับรู้และรับทราบ ตรวจสอบข้อมูลตนเอง ได้รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญที่กำหนด 2) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง เมื่อมีการเลือกตั้ง มีการแจ้งประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการเลือกตั้ง จะได้รับข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ ในการตัดสินใจเลือกผู้แทนของตนเองทำให้ประชาชนเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตน ไปใช้สิทธิเลือกตั้งให้มากที่สุด 3) ด้านการร่วมการชุมนุมทางการเมือง เป็นการประชุมมากกว่า มีการจัดอบรม ให้ความรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อให้ผู้มีอำนาจหน้าที่เข้าไปแก้ปัญหาเหล่านั้น 4) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ส่วนใหญ่ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร ทางสื่อโทรทัศน์ วิทยุ อินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ และข้อมูลข่าวสารจากผู้นำ รวมทั้งสื่อออนไลน์ การติดตามข่าวสารให้ได้ข้อมูลที่แท้จริง
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the political participation of people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng District, Si Sa Ket Province. 2) to compare the political participation of people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng District, Si Sa Ket Province classified by gender, age, educational level, occupation, and income, and 3) to propose the political participation of the people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng District, Si Sa Ket Province. The quantitative data were collected from 382 samples by questionnaires and the qualitative data were collected by interview forms from the 5 informants concerning political participation of students. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, value testing (t–test) and (One Way ANOVA/F–test). If statistically significant differences were found, LSD (Least Significant Difference) was used. The results of the research showed that: 1) Political participation of people in Phrai Bueng Subdistrict Municipality, Phrai Bueng district of Sisaket province was at a medium level overall. When considering in each aspect in order of average order from the highest to the least level, election voting was the first, followed by tracking political news, political campaigning, and the participation in political assembly respectively. 2) Comparison results; (1) People of different genders had political participation in 4 aspects indifferently which was not in accordance with the study hypothesis. (2) People with different educational backgrounds, occupations, and incomes had political participation in all 4 areas differently with statistically significant figure at the 0.05 level, which was in accordance with the study hypothesis. 3) Suggestions were as follows: 1) In exercising the right to vote; there was public relations to people to know, check and aware of their rights and duties under the constitution. 2) In political campaigns; in the election, there was public announcement about the election and people could obtain information from their leaders in making decision to their representatives, understand their roles and responsibilities for exercise the rights in voting. 3) in terms of political assembly; there were meeting, training, and knowledge sharing In order that the authority could help solve the problems. 4) In tracking political news; most people accessed information through television, radio, internet, newspapers and message from their leaders.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2549
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2554
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2554
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    สารนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างกัน และ 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะในการพัฒนาการประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนที่เป็นหัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทนครัวเรือนที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปและอาศัยในเขตในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 382 คน จาก 382 ครัวเรือน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ จำนวน 32 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .91 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA : F-test) และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัย พบว่า 1) การประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทั้งสี่ด้าน เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการเลือกตั้ง ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ด้านการเข้าฟังการปราศรัยหาเสียงทางการเมือง และด้านการช่วยกลุ่มการเมืองรณรงค์หาเสียงตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน การประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างกัน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน และ 3) ข้อเสนอแนะของประชาชนในการพัฒนาการประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด เรียงลำดับจากข้อที่มีค่าความถี่สูงไปหาต่ำสามอันดับแรก ได้แก่ การติดตามข่าวสารทางการเมืองทางสื่อมวลชนควรทำอย่างเป็นกลาง ควรสละเวลาติดตามรับฟังคำปราศรัยของผู้สมัครรับเลือกตั้งในท้องถิ่นทุกคน และควรเลือกที่นโยบายมากกว่าความใกล้ชิดกับบุคคล
สารนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างกัน และ 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะในการพัฒนาการประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนที่เป็นหัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทนครัวเรือนที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปและอาศัยในเขตในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 382 คน จาก 382 ครัวเรือน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ จำนวน 32 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .91 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA : F-test) และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัย พบว่า 1) การประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทั้งสี่ด้าน เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการเลือกตั้ง ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ด้านการเข้าฟังการปราศรัยหาเสียงทางการเมือง และด้านการช่วยกลุ่มการเมืองรณรงค์หาเสียงตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน การประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างกัน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน และ 3) ข้อเสนอแนะของประชาชนในการพัฒนาการประยุกต์หลักอธิษฐานธรรม 4 ไปใช้ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด เรียงลำดับจากข้อที่มีค่าความถี่สูงไปหาต่ำสามอันดับแรก ได้แก่ การติดตามข่าวสารทางการเมืองทางสื่อมวลชนควรทำอย่างเป็นกลาง ควรสละเวลาติดตามรับฟังคำปราศรัยของผู้สมัครรับเลือกตั้งในท้องถิ่นทุกคน และควรเลือกที่นโยบายมากกว่าความใกล้ชิดกับบุคคล
This thematic paper served the purposes: 1) to study an application of ‘Buddhism’s Four Virtues in Mind’ to residents’ political participation in local politics in Roi Et Provincial Municipality’s authorized area, 2) to compare their application to disparity in their genders, ages, educational levels and occupations, 3) to regulate their suggestions for their application. Samplers were 382 household chiefs from 382 families including 18-year-up representatives by setting them through Taro Yamane’s table. The instrument used for data collection was the five-rating scale questionnaire with thirty-two questions, each of which possessed its reliability of .90. Statistics for analyzing data embraced: percentages, arithmetic means, standard deviations, t-tests and F-tests (One-way ANOVA) by making use of the computer software package. Results of findings 1) The application as such has been rated at the high scale in both of the overall aspect and a single one. All aspects in descending order of means are: i) casting the ballot, ii) monitoring political movements, iii) taking part in political rallies, and iv) helping a campaign of a political group for canvassing votes respectively. 2) The hypothesis testing results of the application of them to their political participations in local politics in its authorized area have shown no disparity in genders, ages, educational levels and occupations in both of the overall aspect and a single one. 3)Suggestions in descending order of first three frequencies are : i) monitoring political movements of political parties through media with neutrality, ii) devoting oneself to take part in every political rally, iii) preferring policies of the party to intimacy.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2549
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2549
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร (2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ ประเภทวิชา ระดับชั้นปี ที่แตกต่างกัน (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 274 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One–Way ANOVA/F–test) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยะสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ LSD.(Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการใช้สัมภาษณ์จากผู้บริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษา จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า (1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1) ด้านการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง มีค่าเฉลี่ย 3.34 2) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมืองมีค่าเฉลี่ย 3.18 3) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง มีค่าเฉลี่ย 2.79 และ 4 ) ด้านการชุมนุมทางการเมือง มีค่าเฉลี่ย 2.54 ตามลำดับ (2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาครที่มีประเภทวิชา และระดับชั้นปีต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศและอายุต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมืองโดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า 1) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ควรติดตามข่าวสารทางการเมืองในส่วนของข้อมูลที่มีความสำคัญ และมาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ เช่น ข่าวสารจากทางราชการ 2) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง ควรเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมรณรงค์ทางการเมืองเพราะการรณรงค์ทางการเมืองเป็นกิจกรรมขับเคลื่อนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 3) ด้านการร่วมชุมนุมทางการเมือง ควรเข้าร่วมการชุมนุมทางการเมืองอย่างถูกต้องและสร้างสรรค์โดยจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและไม่สร้างความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น 4) ด้านการลงคะแนนเลือกตั้ง ควรใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งทุกครั้งที่สามารถกระทำได้ และควรให้ความสำคัญกับการเลือกตั้งในทุกระดับ เพื่อแสดงให้เห็นว่านักศึกษาเป็นผู้รู้หน้าที่ และรักษาสิทธิที่ตนเองมีตามวิถีทางแห่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร (2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ ประเภทวิชา ระดับชั้นปี ที่แตกต่างกัน (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 274 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One–Way ANOVA/F–test) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยะสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ LSD.(Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการใช้สัมภาษณ์จากผู้บริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษา จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า (1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1) ด้านการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง มีค่าเฉลี่ย 3.34 2) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมืองมีค่าเฉลี่ย 3.18 3) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง มีค่าเฉลี่ย 2.79 และ 4 ) ด้านการชุมนุมทางการเมือง มีค่าเฉลี่ย 2.54 ตามลำดับ (2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาครที่มีประเภทวิชา และระดับชั้นปีต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศและอายุต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมืองโดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า 1) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ควรติดตามข่าวสารทางการเมืองในส่วนของข้อมูลที่มีความสำคัญ และมาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ เช่น ข่าวสารจากทางราชการ 2) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง ควรเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมรณรงค์ทางการเมืองเพราะการรณรงค์ทางการเมืองเป็นกิจกรรมขับเคลื่อนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 3) ด้านการร่วมชุมนุมทางการเมือง ควรเข้าร่วมการชุมนุมทางการเมืองอย่างถูกต้องและสร้างสรรค์โดยจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและไม่สร้างความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น 4) ด้านการลงคะแนนเลือกตั้ง ควรใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งทุกครั้งที่สามารถกระทำได้ และควรให้ความสำคัญกับการเลือกตั้งในทุกระดับ เพื่อแสดงให้เห็นว่านักศึกษาเป็นผู้รู้หน้าที่ และรักษาสิทธิที่ตนเองมีตามวิถีทางแห่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
This thesis has the following objectives: (1) to study the level of political participation of students in vocational schools in Samutsakhon province, (2) to compare the level of political participation of students in vocational schools in Samutsakhon province based on their gender, age, subject major, and year in study, and (3) to propose development guidelines for political participation of students in vocational schools in Samutsakhon province. The data were collected by questionnaires from 274 samples and analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test (Independent Sample) and F-test (OneWay ANOVA). In case, there were significant different levels, LSD (Least Significant Difference) was used. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 5 school administrators obtained by purposive selection. The findings indicated that: 1. The political participation of students in vocational schools in Samutsakhon Province was at a moderate level overall. The level could be ranged from the highest to the lowest level as follows: Political Voting 3.34, Political News Tracking 3.18, Political Campaign 2.79, and Political Congregation 2.54 respectively. 2. The students in vocational schools in Samutsakhon province with different subject majors and years in study had political participation differently with a significantly different statistic figure at the 0.05 level. While the students having different genders and ages, did not have different level of political participation. 3. Guidelines for promoting political participation of students in vocational schools in Samutsakhon province were found that; 1) The students should follow important political news through reliable sources such as government news, 2) Political Campaign is the political activity in which everyone should take part, 3) Political Congregation must comply with the constitutional requirements and must not cause trouble to others, and 4) In election voting, the students should vote on every election and realize the importance of election in order to indicate that they understand their political role and rights.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ