Search results

25 results in 0.07s

สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ตุลาคม - มกราคม 2566
Note: ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 ตุลาคม - มกราคม 2566
TOC:
  • พระราชดำรัส
  • บทความพิเศษ
  • พระราชกรณียกิจ
  • โครงการอันเนืองมาจากพระราชดำริ
  • สารพันเรื่องน่ารู้
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
Note: ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 42 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2566
Note: ปีที่ 42 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2566
TOC:
  • มุมมองและข้อเสนอแนะของเอนก เหล่าธรรมทัศน์ เรื่องบทบาทและสถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ในประชาธิปไตยของไทย
  • การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะใหม่ : มุมมองทฤษฎี การออกแบบการวิเคราะห์ และกรณีศึกษาเชิงประจักษ์
  • การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ : กิจกรรมศิลปะในการท่องเที่ยว ศตวรรษที่ 21
  • บริบทและแนวโน้มการลงทุนในแขวงหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
  • ไทย-จีน กับการบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการภายใต้กรอบความร่วมมือล้านช้าง-แม่โขง
  • การศึกษาสาหร่ายไท มหัศจรรย์อาหารพื้นบ้านที่หล่อหลอมสังคมอันดีงามของชาติพันธุ์ไทลื้อจังหวัดน่าน
  • ผลของกิจกรรมส่งเสริมการคิดเชิงวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ในข้าราชการ
  • การตามรอยนโยบายการดูแล "ผู้ดูแล" ผู้สูงอายุ ด้วยวิธีของเซลม่า เซเว่นฮุจเซ่น เพื่อสร้างข้อเสอนเชิงนโยบายด้านการดูแลผู้ดูแลผู้สูงอายุ
  • มุมมองของรัฐที่มีค่อผู้สูงอายุผ่านประวัติศาสตร์การจัดสวัสดิการในประเทศไทย
  • การสังเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนออนไลน์
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 มกราคม - มิถุนายน 2566
Note: ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 มกราคม - มิถุนายน 2566
TOC:
  • โนรา : ศิลปะการแสดงแดนใต้สู่สากล
  • กระบวนการรวยรวมมรดกดภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ โนราของมนุษยชาติ
  • ไอ้บุญทอง การศึกษาภาพสะท้อนวัฒนธรรมหนองขาวเพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริมวัฒนธรรมชุมชนหนองขาวผ่านละครพื้นบ้าน
  • ขับลื้อ : พลังแห่งการขับเคลื่อนและการมีส่วนร่วมทางวัฒนธรรมในสังคมยุคดิจิทัล
  • หมอลำอัศจรรย์
  • กระบวนการพัฒนานวัตกรรมแบบมีส่วนร่วม เพื่อฟื้นฟูการสืบทอด ภูมิปัญญาการแสดงเพลงโคราช เรื่อง ฉันทลักษณ์กลอนเพลงโคราช เรื่องฉันทลักษณ์กลอนเพลงโคราช
  • ดนตรีในพิธี ว่อน ไว่ ช่าง ชาวมอญบ้านวังกะ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
  • การศึกษาองค์ความรู้วงปี่พาทย์พื้นบ้าน บ้านหนองไทร ตำบลหนองไทร อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่ออนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น
  • หนังใหญ่และความเป็นไปได้ในการขอขึ้นทะเบียนในบัญชีการปกป้องคุ้มครองอันเป็นตัวอย่างที่ดี
  • หนังตะลุงกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำ 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญา 3) เพื่อวิเคราะห์การพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร และ 4) เพื่อนำเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก โดยมีกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือผู้เชี่ยวชาญ โดยเลือกแบบเจาะจง15 รูป/คน ในเขตพื้นที่ 3 อำเภอ คือ 1) อำเภอเมืองสมุทรสาคร 2) อำเภอบ้านแพ้ว และ 3) อำเภอกระทุ่มแบน ในจังหวัดสมุทรสาคร ผลการวิจัยพบว่า ผู้นำ หมายถึง คนที่ประยุกต์ใช้ความรู้ ความสามารถ จนก่อให้เกิดอำนาจ อิทธิพล หรือเกิดการยอมรับ จนสามารถจูงใจผู้อื่นหรือชักนำพาผู้อื่น ให้ปฏิบัติภารกิจการงานของกลุ่ม หรือองค์กรให้สำเร็จลุล่วงไปตามวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายที่ผู้นำหรือองค์กรตั้งไว้ และภาวะผู้นำนั้น จึงอาจจะหมายถึงกระบวนการที่ผู้นำใช้อิทธิพล หรืออำนาจหน้าที่ในการบริหารงานอย่างมีศิลปะ ทั้งการบอกและชี้แนะ สั่งการ หรืออำนวยการ เพื่อโน้มน้าวจิตใจผู้ใต้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุด เพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันในการถ่ายทอดแนวคิดไปสู่การปฏิบัติ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ภาวะผู้นำ เป็นกระบวนการในการจูงใจและปฏิสัมพันธ์ให้ทุกคนในองค์กรเข้าใจวงการขององค์กรเพื่อให้องค์กรสามารถดำเนินกิจกรรมได้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้นั่นเอง หลักสัปปุริสธรรม 7 เน้นความฉลาดรอบรู้ วางตนเหมาะสมมีทั้งพระเดชพระคุณในการนำพาผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานตามเป้าหมาย ว่าเมื่อผู้นำและภาวะผู้นำมีคุณธรรมแล้วประชาชนย่อมอยู่เป็นสุข คุณธรรมของการเป็นผู้นำและภาวะผู้นำนั้น เป็นหลักของการบริการที่ดี เรียกว่า ธรรมาธิปไตย หมายถึงการบริหารโดยถึงธรรมเป็นใหญ่ กล่าวคือยึดหลักบรรทัดฐาน หลักการและคุณธรรม เป็นแนวทางในการบริหาร และการบริหารนั้นต้องใช้ทั้งพระเดชและพระคุณ หรือใช้อำนาจและคุณธรรม ซึ่งจะทำให้ได้ทั้งน้ำใจและผลของงานภาพรวมของกรอบการพัฒนาและความร่วมมือกันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร ที่มีความเด่นชัดที่สุดคือ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทำให้เกิดความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในกรอบการพัฒนาทั้ง 5 ด้าน คือ 1) ด้านการบริหารงานบุคคล 2) ด้านการศึกษา 3) ด้านการบริหารงบประมาณ 4) ด้านสาธารณสุข 5) ด้านการบริการสาธารณะ โดยในการขับเคลื่อนทั้ง 5 ด้านนี้ จะเพิ่มความชัดเจน มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบมีแบบแผนที่ชัดเจนต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลทั้งต่อองค์กร และนำไปสู่ภาคประชาชนอย่างจริงจัง ซึ่งองค์ความรู้ในการนำเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร ได้แก่ “HICM” Model
ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำ 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญา 3) เพื่อวิเคราะห์การพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร และ 4) เพื่อนำเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก โดยมีกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือผู้เชี่ยวชาญ โดยเลือกแบบเจาะจง15 รูป/คน ในเขตพื้นที่ 3 อำเภอ คือ 1) อำเภอเมืองสมุทรสาคร 2) อำเภอบ้านแพ้ว และ 3) อำเภอกระทุ่มแบน ในจังหวัดสมุทรสาคร ผลการวิจัยพบว่า ผู้นำ หมายถึง คนที่ประยุกต์ใช้ความรู้ ความสามารถ จนก่อให้เกิดอำนาจ อิทธิพล หรือเกิดการยอมรับ จนสามารถจูงใจผู้อื่นหรือชักนำพาผู้อื่น ให้ปฏิบัติภารกิจการงานของกลุ่ม หรือองค์กรให้สำเร็จลุล่วงไปตามวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายที่ผู้นำหรือองค์กรตั้งไว้ และภาวะผู้นำนั้น จึงอาจจะหมายถึงกระบวนการที่ผู้นำใช้อิทธิพล หรืออำนาจหน้าที่ในการบริหารงานอย่างมีศิลปะ ทั้งการบอกและชี้แนะ สั่งการ หรืออำนวยการ เพื่อโน้มน้าวจิตใจผู้ใต้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุด เพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันในการถ่ายทอดแนวคิดไปสู่การปฏิบัติ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ภาวะผู้นำ เป็นกระบวนการในการจูงใจและปฏิสัมพันธ์ให้ทุกคนในองค์กรเข้าใจวงการขององค์กรเพื่อให้องค์กรสามารถดำเนินกิจกรรมได้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้นั่นเอง หลักสัปปุริสธรรม 7 เน้นความฉลาดรอบรู้ วางตนเหมาะสมมีทั้งพระเดชพระคุณในการนำพาผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานตามเป้าหมาย ว่าเมื่อผู้นำและภาวะผู้นำมีคุณธรรมแล้วประชาชนย่อมอยู่เป็นสุข คุณธรรมของการเป็นผู้นำและภาวะผู้นำนั้น เป็นหลักของการบริการที่ดี เรียกว่า ธรรมาธิปไตย หมายถึงการบริหารโดยถึงธรรมเป็นใหญ่ กล่าวคือยึดหลักบรรทัดฐาน หลักการและคุณธรรม เป็นแนวทางในการบริหาร และการบริหารนั้นต้องใช้ทั้งพระเดชและพระคุณ หรือใช้อำนาจและคุณธรรม ซึ่งจะทำให้ได้ทั้งน้ำใจและผลของงานภาพรวมของกรอบการพัฒนาและความร่วมมือกันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร ที่มีความเด่นชัดที่สุดคือ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทำให้เกิดความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในกรอบการพัฒนาทั้ง 5 ด้าน คือ 1) ด้านการบริหารงานบุคคล 2) ด้านการศึกษา 3) ด้านการบริหารงบประมาณ 4) ด้านสาธารณสุข 5) ด้านการบริการสาธารณะ โดยในการขับเคลื่อนทั้ง 5 ด้านนี้ จะเพิ่มความชัดเจน มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบมีแบบแผนที่ชัดเจนต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลทั้งต่อองค์กร และนำไปสู่ภาคประชาชนอย่างจริงจัง ซึ่งองค์ความรู้ในการนำเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร ได้แก่ “HICM” Model
The objectives of this dissertation are as follows: 1) to study leadership 2) to study the principles of Theravada Buddhist philosophy 3) to analyze leadership development according to Theravada Buddhist philosophy in local administrative organizations in Samut Sakhon Province; and 4) to present a leadership development model based on Theravada Buddhist philosophy in the local government organization, Samut Sakhon Province. There is a qualitative research, using in-depth interviews and the key informants were divided into 1) a group of 6 monks and 2) a group of 9 lay people, totaling 15 persons in 3 districts, namely 1) Mueang Samut Sakhon District 2) Amphoe Ban Phaeo and 3) Krathum Baen District in Samut Sakhon Province. The results were showed that: leaders are people who apply their knowledge and abilities to the point of power, influence, or acceptance. Until being able to motivate others or lead others to carry out group work tasks or organization to achieve its objectives or goals set by leaders or organizations and that leadership It may refer to the process by which the leader exerts influence. or authority in the administration of art both telling and instructing, directing or directing to convince subordinates to do their best. In order for the operations of the organization to achieve the common objectives of transferring ideas into practice. In other words, leadership is the process of motivating and interacting with everyone in the organization to understand the circle of the organization so that the organization can carry out activities to achieve its objectives and goals. Sappurisadhamma 7 emphasizing intelligence Put yourself right and have the grace to lead the subordinates to work according to the goals. that when leaders and leadership are virtuous, people will live happily The virtue of leadership and that leadership It is the principle of good service called Dhammathipataya. That is, adhere to the norm. principles and virtues as a guideline for management and administration requires both the power and grace. or using power and virtue which will make both the kindness and the result of the work. Overview of the development framework and cooperation of local government organizations in Samut Sakhon Province The most obvious is Sufficiency Economy Philosophy making it practically possible in the development framework, all 5 aspects are 1) Personnel Management 2) Education 3) Budget Management 4) Public Health 5) Public Service in driving these 5 aspects will increase clarity There is a systematic operation with a clear continuous pattern. to achieve efficiency and effectiveness for both the organization and seriously lead to the public sector which the body of knowledge in presenting a leadership development model according to Theravada Buddhist philosophy in Samut Sakhon Local Administrative Organization “HICM” Model.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสัมมาทิฏฐิ 2) เพื่อพัฒนาสัมมาทิฏฐิตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อศึกษารูปแบบในการพัฒนาสัมมาทิฏฐิตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบในการพัฒนาสัมมาทิฏฐิตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลักและการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มที่ 1 พระราชาคณะ พระสังฆาธิการ พระภิกษุผู้จบการศึกษาระดับเปรียญธรรม 9 ประโยค จำนวน 5 รูป กลุ่มที่ 2 นักวิชาการด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 5 รูป/คน ผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านพระพุทธศาสนา กลุ่มที่ 3 อุบาสกอุบาสิกา ในพระพุทธศาสนา จำนวน 5 คนรวมทั้งสิ้น จำนวน 15 รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า 1. สัมมาทิฏฐิ มีความสำคัญ คือความเห็นธรรมที่ถูกต้อง ชื่อว่า สัทธรรม และเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ นำมาซึ่งความดีงาม และความเจริญรุ่งเรืองเพียงอย่างเดียว สัมมาทิฏฐิตามนัยทางพระพุทธศาสนา จึงชื่อว่าเป็นพื้นฐานแห่งความเกิดขึ้นแห่งความดีงาม หรือกุศลธรรมทั้งหลาย และเป็นบ่อเกิดแห่งธรรมทั้งมวล 2. การพัฒนาสัมมาทิฏฐิตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทสามารถทำได้โดยการสร้างปัจจัยการเกิดสัมมาทิฏฐิ เนื่องจากสัมมาทิฏฐิจะเกิดขึ้นเองไม่ได้ ถ้าไม่มีเหตุปัจจัยให้เกิด ด้วยเหตุนี้เองจึงมีหลักธรรมหลายหมวดที่นำมาพัฒนาด้วยการแสดงปัจจัยแห่งสัมมาทิฏฐิ 3. รูปแบบในการพัฒนาสัมมาทิฏฐิตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทที่เหมาะสมเป็นรูปแบบที่มีปรโตโฆสะโยนิโสมนสิการ เป็นเหตุให้เกิดสัมมาทิฏฐิ และอยู่ภายใต้ ศีล สมาธิ ปัญญา การรับรู้ เป็นการรับรู้ที่ถูกต้อง 4. องค์ความรู้ใหม่ที่ได้เรียกว่า “WARM MODEL” โมเดล W = Wisdom คือ ภูมิปัญญาหมายถึง พัฒนาการเห็นชอบสรรพสิ่งด้วยปัญญา, A = Auspiciousness คือ ความเป็นสิริมงคลหมายถึง พัฒนาการเห็นชอบปรารถนาความมงคล, R = Real คือ จริง หมายถึง พัฒนาการเห็นชอบตามเป็นจริง, M = Middle path คือ ทางสายกลาง หมายถึง พัฒนาการเห็นชอบยิ่งทางสายกลาง
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสัมมาทิฏฐิ 2) เพื่อพัฒนาสัมมาทิฏฐิตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อศึกษารูปแบบในการพัฒนาสัมมาทิฏฐิตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบในการพัฒนาสัมมาทิฏฐิตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลักและการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มที่ 1 พระราชาคณะ พระสังฆาธิการ พระภิกษุผู้จบการศึกษาระดับเปรียญธรรม 9 ประโยค จำนวน 5 รูป กลุ่มที่ 2 นักวิชาการด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 5 รูป/คน ผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านพระพุทธศาสนา กลุ่มที่ 3 อุบาสกอุบาสิกา ในพระพุทธศาสนา จำนวน 5 คนรวมทั้งสิ้น จำนวน 15 รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า 1. สัมมาทิฏฐิ มีความสำคัญ คือความเห็นธรรมที่ถูกต้อง ชื่อว่า สัทธรรม และเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ นำมาซึ่งความดีงาม และความเจริญรุ่งเรืองเพียงอย่างเดียว สัมมาทิฏฐิตามนัยทางพระพุทธศาสนา จึงชื่อว่าเป็นพื้นฐานแห่งความเกิดขึ้นแห่งความดีงาม หรือกุศลธรรมทั้งหลาย และเป็นบ่อเกิดแห่งธรรมทั้งมวล 2. การพัฒนาสัมมาทิฏฐิตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทสามารถทำได้โดยการสร้างปัจจัยการเกิดสัมมาทิฏฐิ เนื่องจากสัมมาทิฏฐิจะเกิดขึ้นเองไม่ได้ ถ้าไม่มีเหตุปัจจัยให้เกิด ด้วยเหตุนี้เองจึงมีหลักธรรมหลายหมวดที่นำมาพัฒนาด้วยการแสดงปัจจัยแห่งสัมมาทิฏฐิ 3. รูปแบบในการพัฒนาสัมมาทิฏฐิตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทที่เหมาะสมเป็นรูปแบบที่มีปรโตโฆสะโยนิโสมนสิการ เป็นเหตุให้เกิดสัมมาทิฏฐิ และอยู่ภายใต้ ศีล สมาธิ ปัญญา การรับรู้ เป็นการรับรู้ที่ถูกต้อง 4. องค์ความรู้ใหม่ที่ได้เรียกว่า “WARM MODEL” โมเดล W = Wisdom คือ ภูมิปัญญาหมายถึง พัฒนาการเห็นชอบสรรพสิ่งด้วยปัญญา, A = Auspiciousness คือ ความเป็นสิริมงคลหมายถึง พัฒนาการเห็นชอบปรารถนาความมงคล, R = Real คือ จริง หมายถึง พัฒนาการเห็นชอบตามเป็นจริง, M = Middle path คือ ทางสายกลาง หมายถึง พัฒนาการเห็นชอบยิ่งทางสายกลาง
The objectives this dissertation are : 1) To study right views, 2) To develop right views according to Theravada Buddhist philosophy, 3) To study patterns in developing right views according to Theravada Buddhist philosophy, and 4)To present the body of knowledge about the development of right views according to Theravada Buddhist philosophy. The research is documentary qualitative research by studying and analyzing information from the Tipitaka, commentaries, and relevant textbooks and related other documents. The research methodology also used in-depth interviews on the number of 15 key informants by classifying into 3 groups, namely group 1 consisting of 5 Buddhist monks who graduated in Pali grade 9 and group 2 consisting of 5 Buddhist scholars who have expertise in Buddhism and group 3 consisting of 5 Buddhist laypeople in Buddhism. The content analysis is in the presenting descriptive information. The results of the research were as follows: 1. Right view is important due to see the right dhamma, called Saddhamma. The Dhamma is very useful by bring only beauty and prosperity. The right view according to Buddhist perspectives is, therefore, the basis of the emergence of goodness or wholesome and is the source of all Dharmas. 2. The development of right view according to Theravada Buddhist philosophy can be done by creating the condition of right view. Because it could not arise by itself if without its condition. That is why there are many categories of Dharma accompanied with right view as the condition. 3. The appropriate model of right view development according to Theravada Buddhist philosophy is always composed of Paratoghosa and Yonisomanasikara. These are the cause of right view and under the principles of precepts, concentration, wisdom as the right perception. 4. The new body of knowledge called “WARM MODEL”. The acronym of this model means as follows; W = Wisdom means development of approval of all things with wisdom, A = Auspiciousness means development of auspicious desires, R = Real means development of approval according to reality, and M = Middle Path means the development of approval through the middle path.
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2566)
Note: ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2566)
TOC:
  • มวยไทย : อำนาจอ่อนที่ทรงอิทธิพล
  • ช่องทางการรับรู้ขจองคนไทยต่อการจัดแสดง Soft Power ของรัฐบาลในการประชุม APEC 2022
  • วัฒนธรรมสมัยนิยมกับประเด็นยอดนิยมโลกออนไลน์เดือนธันวาคม 2565
  • ซอฟต์พาวเวอร์ไทยพวน : การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทยพวนในประเทศไทย
  • การศึกษาเกี่ยวกับ Soft Power ที่นำประเภทสื่อ และการสื่อสารมาร่วมเป็นหัวข้อศึกษา เพื่อมุ่งหวังให้เกิดการตัดสินใจซื้อ และติตาม Soft Power
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2566
Note: ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2566
TOC:
  • พุทธศาสนิกชนไทยในกระแสสังคมพหุวัฒนธรรม
  • หลักการบริหารจัดการเงินสำหรับวัด : การศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์จากพระวินัยและหลักธรรมาภิบาล
  • Nyi ma'i mdo และ Zla ba'i mdo กับสุริปริตร และจัทปริตร : การศึกษาเปรียบเทียบ
  • ถังไท่จงถาม ถังซัมจั๋งตอบ : วิชรัจเฉทิกาปรัชญาปารมิตา หมายถึงอะไร
  • องค์ใดพระสัมพุทธ
  • Chinul : The Founder of the Korean Son Tradition
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 (ตุลาคม 2535 - มีนาคม 2566)
Note: ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 (ตุลาคม 2535 - มีนาคม 2566)
TOC:
  • วาระยาเสพติด วาระแห่งชาติ : 12 ประเด็น เสนอเพื่อทบทวน เสนอแนะในการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างได้ผลใร 4 ปี
  • ผลของพืชกระท่อมต่อระบบประสาทอัตโนมัติในผู้เสพติดยาบ้าและเฮโรอีน
  • ค็อกเทลยเสพติดบนสื่อสังคมออนไลน์
  • การใช้สารเสพติดของวัยรุ่นไทย ปี 2565
  • ความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการใช้สารเสพติดของเยาวชนในสถานศึกษา
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุนแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก 3)เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยรวบรวมข้อมูลทางเอกสาร สัมภาษณ์เชิงลึก และจัดเวทีเสวนากลุ่ม จากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 16 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยสนับสนุนแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก พบว่า ปัจจัยต่างๆที่ช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมายถึง การมีชีวิตที่ดีมีความสุขมีความสมบูรณ์เกี่ยวกับปัจจัยทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และ ด้านสังคม มีการดำรงชีวิตอยู่ในระดับที่เหมาะสมตามความจำเป็นพื้นฐานในสังคมหนึ่งๆ ในช่วงเวลาหนึ่งๆ รวมทั้งเป็นความรู้สึกของการอยู่อย่างพอใจต่อองค์ประกอบต่าง ๆ ของชีวิต พร้อมที่จะพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และบุคคลสามารถดำรงตนเองให้เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม เป็นคนที่รู้จักการช่วยเหลือซึ่งกันและกันและไม่ทำตนให้เป็นภาระที่ก่อให้เกิดปัญหาแก่สังคม 2) แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก พบว่า มีแนวทางในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการอบรมกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการจัดกิจกรรมในประเพณีต่างๆในทางศาสนา กระบวนการเผยแพร่ข่าวสารทั้งภาครัฐและเอกชน กระบวนการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเอง กระบวนการรัฐสวัสดิการหรือการช่วยเหลือทางภาครัฐ 3) การนำเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก ผ่านรูปแบบที่เรียกว่า เรียกว่า OMGI Model กล่าวคือ O หมายถึง Original Traditions (ประเพณีต้นแบบ), M หมายถึง Moralities คุณธรรมจริยธรรมต่างๆ, G หมายถึง Guidelines แนวทางการพัฒนา, I หมายถึง Indicators ตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุนแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก 3)เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยรวบรวมข้อมูลทางเอกสาร สัมภาษณ์เชิงลึก และจัดเวทีเสวนากลุ่ม จากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 16 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยสนับสนุนแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก พบว่า ปัจจัยต่างๆที่ช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมายถึง การมีชีวิตที่ดีมีความสุขมีความสมบูรณ์เกี่ยวกับปัจจัยทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และ ด้านสังคม มีการดำรงชีวิตอยู่ในระดับที่เหมาะสมตามความจำเป็นพื้นฐานในสังคมหนึ่งๆ ในช่วงเวลาหนึ่งๆ รวมทั้งเป็นความรู้สึกของการอยู่อย่างพอใจต่อองค์ประกอบต่าง ๆ ของชีวิต พร้อมที่จะพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และบุคคลสามารถดำรงตนเองให้เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม เป็นคนที่รู้จักการช่วยเหลือซึ่งกันและกันและไม่ทำตนให้เป็นภาระที่ก่อให้เกิดปัญหาแก่สังคม 2) แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก พบว่า มีแนวทางในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการอบรมกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการจัดกิจกรรมในประเพณีต่างๆในทางศาสนา กระบวนการเผยแพร่ข่าวสารทั้งภาครัฐและเอกชน กระบวนการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเอง กระบวนการรัฐสวัสดิการหรือการช่วยเหลือทางภาครัฐ 3) การนำเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก ผ่านรูปแบบที่เรียกว่า เรียกว่า OMGI Model กล่าวคือ O หมายถึง Original Traditions (ประเพณีต้นแบบ), M หมายถึง Moralities คุณธรรมจริยธรรมต่างๆ, G หมายถึง Guidelines แนวทางการพัฒนา, I หมายถึง Indicators ตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพ
The objectives of this research were as follows: 1) to study the contributing factors to guide the life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically 2) to study the guideline for life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically 3) to present the guideline for life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically. This research was qualitative research by collecting data from documents, in-depth interviews, and organizing a group discussion with the scholars and experts, 16 persons. The research tools were interview forms and data analysis by a descriptive method. The findings were as follows : 1. The contributing factors to guide the life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically found that the factors which are contributed to the life quality development of people referred to the happy and good life, perfect life, on the factors on physical, mental, and social. There are living on the proper level according to a basic need in society at a moment time, and to get satisfactory to components of life and ready to be a self-development for suitable in social change and they can be performed as benefit ability both oneself and society, can be helped each other without burden to others. 2. The guideline for life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically found that the guideline for moving the processes of life quality development must be composed of; the process of training, the process of religion’s affair traditional training, the process of public and private advertising, the process of self-development and the process of state welfare contribution. 3. The presentation of the guideline for life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically throughout OMGI model, O = Original Traditions, M = Moralities, G = Guidelines, I = Indicators
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรี 2) เพื่อพัฒนาปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรีตามแนวพระพุทธศาสนา 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการพัฒนาปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรีตามแนวพระพุทธศาสนา ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และศึกษาจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 26 รูป/คน ทั้งในส่วนสัมภาษณ์เชิงลึกและการเสวนากลุ่ม นำข้อมูลมาวิเคราะห์จัดระบบเป็นหมวดหมู่ และสรุปผลวิจัยนำเสนอเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: สภาพปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรี มี 5 ด้าน 1) ด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม โดยการอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ และให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดล้อมและที่พักอาศัยให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ 2) ด้านความมั่นคงและปลอดภัยโดยการเรียนรู้วิธีการประกอบอาชีพต่าง ๆ 3) ด้านสัมพันธภาพภายในครอบครัวและคนในสังคมด้วยการจัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ 4) ด้านการได้รับการยกย่องด้วยการจัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุ 5) ด้านการต้องการพัฒนาตนเองโดยการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้แนวคิดทางพระพุทธศาสนา การพัฒนาปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรีตามแนวพระพุทธศาสนา 5 ด้าน 1) กิจกรรมอาหารกาย อาหารใจ เกื้อกูลคุณค่าตนเองด้านมาตรฐานคุณภาพชีวิต 2) กิจกรรมความพอเพียง เกื้อกูลคุณค่าตนเองด้านความสุขในการดำรงชีวิต 3 กิจกรรมเทคนิคการเชื่อมสัมพันธ์ เกื้อกูลคุณค่าด้านความรู้สึกว่าตนเองมีความสำคัญ 4) กิจกรรมแสดงความสามารถด้านภูมิปัญญา เกื้อกูลคุณค่าตนเองด้านการรับรู้ความสามารถตนเอง เกิดความภาคภูมิใจ 5) กิจกรรมปฏิบัติธรรมตามวัย ให้ผู้สูงอายุเห็นคุณค่าตนเองด้านคุณความดี คือ การบรรลุซึ่งศีลธรรม และด้านพลังอำนาจ คือ การมีอิทธิพลต่อตนเองและผู้อื่น รูปแบบการพัฒนาปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรีตามแนวพระพุทธศาสนามีกระบวนขั้นตอนเรียกว่า “ระดับการศึกษา 4 ขั้น” ระดับปฐมาวุโส มีความรู้ มีความรู้ในการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ระดับทุติยาวุโส อยู่เป็น การเรียนรู้ในการสร้างสัมพันธภาพกับคนรอบข้าง ระดับตติยาวุโส เห็นปัญญา การรับรู้ความสามารถตนเองด้านภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ ระดับจตุราวุโส การพัฒนาตน กิจกรรมปฏิบัติธรรมเพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสุขจากการเข้าใจโลกตามความเป็นจริง ระดับการศึกษา 4 ขั้น ที่ทำให้ผู้สูงอายุมองเห็นคุณค่าของตนเองทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ซึ่งอยู่ในสัญลักษณ์ดวงตาแห่งคุณค่า เรียกว่า SCCL MODEL
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรี 2) เพื่อพัฒนาปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรีตามแนวพระพุทธศาสนา 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการพัฒนาปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรีตามแนวพระพุทธศาสนา ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และศึกษาจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 26 รูป/คน ทั้งในส่วนสัมภาษณ์เชิงลึกและการเสวนากลุ่ม นำข้อมูลมาวิเคราะห์จัดระบบเป็นหมวดหมู่ และสรุปผลวิจัยนำเสนอเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: สภาพปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรี มี 5 ด้าน 1) ด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม โดยการอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ และให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดล้อมและที่พักอาศัยให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ 2) ด้านความมั่นคงและปลอดภัยโดยการเรียนรู้วิธีการประกอบอาชีพต่าง ๆ 3) ด้านสัมพันธภาพภายในครอบครัวและคนในสังคมด้วยการจัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ 4) ด้านการได้รับการยกย่องด้วยการจัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุ 5) ด้านการต้องการพัฒนาตนเองโดยการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้แนวคิดทางพระพุทธศาสนา การพัฒนาปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรีตามแนวพระพุทธศาสนา 5 ด้าน 1) กิจกรรมอาหารกาย อาหารใจ เกื้อกูลคุณค่าตนเองด้านมาตรฐานคุณภาพชีวิต 2) กิจกรรมความพอเพียง เกื้อกูลคุณค่าตนเองด้านความสุขในการดำรงชีวิต 3 กิจกรรมเทคนิคการเชื่อมสัมพันธ์ เกื้อกูลคุณค่าด้านความรู้สึกว่าตนเองมีความสำคัญ 4) กิจกรรมแสดงความสามารถด้านภูมิปัญญา เกื้อกูลคุณค่าตนเองด้านการรับรู้ความสามารถตนเอง เกิดความภาคภูมิใจ 5) กิจกรรมปฏิบัติธรรมตามวัย ให้ผู้สูงอายุเห็นคุณค่าตนเองด้านคุณความดี คือ การบรรลุซึ่งศีลธรรม และด้านพลังอำนาจ คือ การมีอิทธิพลต่อตนเองและผู้อื่น รูปแบบการพัฒนาปัจจัยเกื้อกูลต่อการเห็นคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดกาญจนบุรีตามแนวพระพุทธศาสนามีกระบวนขั้นตอนเรียกว่า “ระดับการศึกษา 4 ขั้น” ระดับปฐมาวุโส มีความรู้ มีความรู้ในการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ระดับทุติยาวุโส อยู่เป็น การเรียนรู้ในการสร้างสัมพันธภาพกับคนรอบข้าง ระดับตติยาวุโส เห็นปัญญา การรับรู้ความสามารถตนเองด้านภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ ระดับจตุราวุโส การพัฒนาตน กิจกรรมปฏิบัติธรรมเพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสุขจากการเข้าใจโลกตามความเป็นจริง ระดับการศึกษา 4 ขั้น ที่ทำให้ผู้สูงอายุมองเห็นคุณค่าของตนเองทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ซึ่งอยู่ในสัญลักษณ์ดวงตาแห่งคุณค่า เรียกว่า SCCL MODEL
The objectives of this dissertation were as follows 1) to study the condition of factors contributing to the self-esteem of the elderly in the elderly school in Kanchanaburi Province, 2) to develop factors contributing to the self-esteem based on Buddhism of elders in the elderly school in Kanchanaburi Province, 3) to present a model for developing factors contributing to the self-esteem based on Buddhism in the elderly school in Kanchanaburi Province. The dissertation was qualitative research in which all data were collected from the Tipitaka, Commentaries, Texts and relevant documents and other researches. There were 26 key informant persons used both in the in-depth interview and group discussion. The data were systematically analyzed and presented the results through the narrative interpretation. The research results showed that : Conditions of factors contributing to the self-esteem of the elderly in the elderly school in Kanchanaburi Province consist of 5 aspects namely; 1) Physical and environment concerning to healthy education and arrangement of the environment and accommodation suitable for the elderly, 2) Security and safety concerning to train the method of various occupations, 3) Relationship within the family and people in society concerning to provide beneficial activities, 4) Recognition concerning to provide activities in the Elderly Day, and 5) Self-development concerning to encourage the elders to learn Buddhist perspectives. The development of factors contributing to the self-esteem of the elderly based on Buddhism of elders in the elderly school in Kanchanaburi Province are consisted of 5 aspects; 1) to contribute esteem in term of quality of life standard by supporting both physical food and mental food, 2) to contribute esteem in term of happiness in life by creating sufficiency activities, 3 to contribute esteem in term of self-important perception by providing collaborative technique activities, 4) to contribute esteem in term of self-worthy to be proud by showing intelligent activities, and 5) to contribute esteem in term of virtue regarding to attainment of morality and power regarding to influence oneself and others by practicing Dhamma suitable for the elderly. The model of factors development contributing to the self-esteem of the elderly based on Buddhism of elders in the elderly school in Kanchanaburi Province laid upon the process called “4 levels of education”. The first level is Pathamavuso. It is a beginning elder level consisting of knowledge to create a good quality of life. The second level is Dutiyavuso. It is a know-how living level consisting of learning to build relationships with those around you. The third level is Tatiyavuso. It is a right view level consisting of perceiving to improve self-capability. The fourth level is Caturavuso. It is a self-development level consisting of practicing to cultivate the right realization of the world for making the elders happy. In order to conclude all 4 levels of education as the body of knowledge of self-esteem elderly contribution is called “SCCL MODEL in the value eye symbol”.
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 66 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2566
Note: ปีที่ 66 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2566
TOC:
  • พระมหากรุณาธิคุณมหาจักรีบรมราชวงศ์ที่มีต่อการประกวดอ่านทำนองเสนาะ
  • ศรีสุพรรณอาราม : ต้นแบบบูรณาการแห่งล้านนา
  • โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ พบในเจดีย์วัดศรีสุพรรณ เชียงใหม่
  • ธรรมาสน์ในจังหวัดลำพูน
  • การศึกษาองค์ประกอบโลหะ พระพุทธรูปศิลปะอู่ทอง
  • "ติสฺสเถรภิรักษมรดกไทย ศิลปากรนฤมิตพิพิธภัณฑนุสรณ" สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) พระเถระผู้มีคุณูปการยิ่งต่อกิจการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
  • แหล่งภาพเขียนสีเขาหัวหมวก จังหวัดนครนายก
  • เกร็ดความรู้จากประวัติศาสตร์และโบราณคดี : กำแพงเมืองฉะเชิงเทรา
  • ศิลปิน - ศิลปากร : นายพนมบุตร จันทรโชติ อธิบดีกรมศิลปากรที่หลากหลายและลุ่มลึก
  • ถามมา-ตอบไป ผมถักเปียมัดคัมภีร์ใบลาน : ภูมิปัญญา ศรัทธา ของสตรีไทยโบราณ
  • ของชิ้นเอกในกรมศิลปากร : บัฏเทพนพเคราะห์