Search results

1 results in 0.26s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุนแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก 3)เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยรวบรวมข้อมูลทางเอกสาร สัมภาษณ์เชิงลึก และจัดเวทีเสวนากลุ่ม จากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 16 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยสนับสนุนแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก พบว่า ปัจจัยต่างๆที่ช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมายถึง การมีชีวิตที่ดีมีความสุขมีความสมบูรณ์เกี่ยวกับปัจจัยทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และ ด้านสังคม มีการดำรงชีวิตอยู่ในระดับที่เหมาะสมตามความจำเป็นพื้นฐานในสังคมหนึ่งๆ ในช่วงเวลาหนึ่งๆ รวมทั้งเป็นความรู้สึกของการอยู่อย่างพอใจต่อองค์ประกอบต่าง ๆ ของชีวิต พร้อมที่จะพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และบุคคลสามารถดำรงตนเองให้เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม เป็นคนที่รู้จักการช่วยเหลือซึ่งกันและกันและไม่ทำตนให้เป็นภาระที่ก่อให้เกิดปัญหาแก่สังคม 2) แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก พบว่า มีแนวทางในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการอบรมกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการจัดกิจกรรมในประเพณีต่างๆในทางศาสนา กระบวนการเผยแพร่ข่าวสารทั้งภาครัฐและเอกชน กระบวนการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเอง กระบวนการรัฐสวัสดิการหรือการช่วยเหลือทางภาครัฐ 3) การนำเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก ผ่านรูปแบบที่เรียกว่า เรียกว่า OMGI Model กล่าวคือ O หมายถึง Original Traditions (ประเพณีต้นแบบ), M หมายถึง Moralities คุณธรรมจริยธรรมต่างๆ, G หมายถึง Guidelines แนวทางการพัฒนา, I หมายถึง Indicators ตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุนแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก 3)เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยรวบรวมข้อมูลทางเอกสาร สัมภาษณ์เชิงลึก และจัดเวทีเสวนากลุ่ม จากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 16 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยสนับสนุนแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก พบว่า ปัจจัยต่างๆที่ช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมายถึง การมีชีวิตที่ดีมีความสุขมีความสมบูรณ์เกี่ยวกับปัจจัยทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และ ด้านสังคม มีการดำรงชีวิตอยู่ในระดับที่เหมาะสมตามความจำเป็นพื้นฐานในสังคมหนึ่งๆ ในช่วงเวลาหนึ่งๆ รวมทั้งเป็นความรู้สึกของการอยู่อย่างพอใจต่อองค์ประกอบต่าง ๆ ของชีวิต พร้อมที่จะพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และบุคคลสามารถดำรงตนเองให้เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม เป็นคนที่รู้จักการช่วยเหลือซึ่งกันและกันและไม่ทำตนให้เป็นภาระที่ก่อให้เกิดปัญหาแก่สังคม 2) แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก พบว่า มีแนวทางในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการอบรมกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านการจัดกิจกรรมในประเพณีต่างๆในทางศาสนา กระบวนการเผยแพร่ข่าวสารทั้งภาครัฐและเอกชน กระบวนการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเอง กระบวนการรัฐสวัสดิการหรือการช่วยเหลือทางภาครัฐ 3) การนำเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้หลักธรรมในประเพณีต้นแบบของจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นฐานราก ผ่านรูปแบบที่เรียกว่า เรียกว่า OMGI Model กล่าวคือ O หมายถึง Original Traditions (ประเพณีต้นแบบ), M หมายถึง Moralities คุณธรรมจริยธรรมต่างๆ, G หมายถึง Guidelines แนวทางการพัฒนา, I หมายถึง Indicators ตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพ
The objectives of this research were as follows: 1) to study the contributing factors to guide the life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically 2) to study the guideline for life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically 3) to present the guideline for life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically. This research was qualitative research by collecting data from documents, in-depth interviews, and organizing a group discussion with the scholars and experts, 16 persons. The research tools were interview forms and data analysis by a descriptive method. The findings were as follows : 1. The contributing factors to guide the life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically found that the factors which are contributed to the life quality development of people referred to the happy and good life, perfect life, on the factors on physical, mental, and social. There are living on the proper level according to a basic need in society at a moment time, and to get satisfactory to components of life and ready to be a self-development for suitable in social change and they can be performed as benefit ability both oneself and society, can be helped each other without burden to others. 2. The guideline for life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically found that the guideline for moving the processes of life quality development must be composed of; the process of training, the process of religion’s affair traditional training, the process of public and private advertising, the process of self-development and the process of state welfare contribution. 3. The presentation of the guideline for life quality development of people based on Buddhadhamma in the original tradition of Nakhon Si Thammarat as basically throughout OMGI model, O = Original Traditions, M = Moralities, G = Guidelines, I = Indicators