Search results

18 results in 0.1s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของบุคลากรโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนะแนวทางการให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 180 คน ซึ่งได้จากการกำหนดโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม (Questionnaire) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (x ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) และสถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่า (t-test) การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test or One – Way ANOVA) หากพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. การให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตาม ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ รองลงมาคือ ด้านศูนย์กลางยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านศูนย์กลางบริการสุขภาพ 2. ผลการเปรียบเทียบ บุคลากรโรงพยาบาลพญาไท 2 ที่มีรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็น เกี่ยวกับการให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนอกนั้นไม่พบความแตกต่าง ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3. ข้อเสนอแนะการให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานครด้านศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ คือ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสิ่งอำนวยความสะดวก และระบบบริหารจัดการให้มีความพร้อม ด้านศูนย์กลางบริการสุขภาพ ได้แก่ สนับสนุนและเปิดโอกาสให้บุคลากรได้ใช้ความรู้ ความสามารถที่มีในการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาใน การปฏิบัติงานได้ด้วย ด้านศูนย์กลางบริการวิชาการและงานวิจัย ได้แก่ ส่งเสริมการเรียนรู้ส่งเสริมการ ยอมรับนับถือตนเองและผู้อื่น เปิดโอกาสให้ได้แสดงความคิดเห็น ยอมรับ รับฟังของเพื่อนร่วมงาน
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของบุคลากรโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนะแนวทางการให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 180 คน ซึ่งได้จากการกำหนดโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม (Questionnaire) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (x ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) และสถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่า (t-test) การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test or One – Way ANOVA) หากพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. การให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตาม ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ รองลงมาคือ ด้านศูนย์กลางยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านศูนย์กลางบริการสุขภาพ 2. ผลการเปรียบเทียบ บุคลากรโรงพยาบาลพญาไท 2 ที่มีรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็น เกี่ยวกับการให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนอกนั้นไม่พบความแตกต่าง ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3. ข้อเสนอแนะการให้บริการตามนโยบายของรัฐตามหลักอิทธิบาท 4 ของโรงพยาบาลพญาไท 2 กรุงเทพมหานครด้านศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ คือ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสิ่งอำนวยความสะดวก และระบบบริหารจัดการให้มีความพร้อม ด้านศูนย์กลางบริการสุขภาพ ได้แก่ สนับสนุนและเปิดโอกาสให้บุคลากรได้ใช้ความรู้ ความสามารถที่มีในการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาใน การปฏิบัติงานได้ด้วย ด้านศูนย์กลางบริการวิชาการและงานวิจัย ได้แก่ ส่งเสริมการเรียนรู้ส่งเสริมการ ยอมรับนับถือตนเองและผู้อื่น เปิดโอกาสให้ได้แสดงความคิดเห็น ยอมรับ รับฟังของเพื่อนร่วมงาน
The objectives of this thematic paper are as follows:1) To study the services according to the government policy under the principles of Iddhipada of Phyathai Hospital 2 in Bangkok, 2) To compare the services according to the government policy under the principles of Iddhipada of personnel of Phyathai Hospital 2 in Bangkok with different gender, age, education level and monthly income, and 3) To study guidelines for providing services according to the government policy under the principles of Iddhipada of Phyathai Hospital 2 in Bangkok. The data of this quantitative research were collected from 180 samples by questionnaire. The samples were determined by using the Taro Yamane formula. The statistics used in the data analysis were frequency, percentage, mean, Standard Deviation (SD) and inferential statistics such as t-test (One-way ANOVA test (F-test or One-Way ANOVA). If a statistically significant difference was found at the 0.05 level, the mean difference was tested individually by the LSD method (Least Significant Difference). The study results showed that 1. Providing services according to the government's policy under the principles of Iddhipada of Phyathai Hospital 2 in Bangkok was at a high level overall. When considering each aspect sorted by descending mean, the highest mean was the service center for health promotion, followed by the center of medicines and health products 4, and the center of health services respectively.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551