Search results

75 results in 0.61s

หนังสือ

    วิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
Note: วิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการเผยแผ่พระ พุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) คือ บรรพชิต 10 รูป ฆราวาส 10 คน (รวม 20 รูป/คน) นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหาตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า : การเผยแผ่พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เริ่มแรกพระพุทธองค์ทรงเผยแผ่หลักธรรมคำสอนด้วยพระองค์เอง ต่อจากนั้น การเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยพระสาวกดำเนินเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน โดยมีหลักคำสอนที่สำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ หลักโอวาทปาติโมกข์ หลักประโยชน์ 3 หลักไตรสิกขา ปฏิจจสมุปบาท เพื่อให้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่เบียดเบียนกันทั้งตนเองและผู้อื่น โดยพระพุทธองค์ทรงคำนึงถึงประโยชน์ที่พุทธศาสนิกชนจะได้รับเป็นหลักสำคัญที่สุดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พุทธวิธีที่พระองค์ทรงสอนนั้นทรงเลือกใช้พุทธวิธีการสอนให้เหมาะสมกับบุคคลสถานที่กาลและกุศโลบายวิธี เพื่อให้ผู้ที่พระองค์ทรงสอนเกิดสติปัญญาแก้ไขปัญหา สามารถนำพาชีวิตประสบความสงบสุขหลุดพ้นจากความทุกข์ดำเนินสู่มรรคผล คือ พระนิพพาน หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ มีวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ชัดเจนที่สุด คือ การแสดงธรรมเทศนา เพื่ออธิบายเรื่องการนั่งสมาธิภาวนา เรื่องอิทธิปาฏิหาริย์มีกุศโลบายในการสอนโดยสอดแทรกธรรมะผ่านวัตถุมงคลเรื่องคาถาต่างๆ เป้าหมายของการอบรมภาวนา คือ สอนวิธีทำใจให้สงบ ท่านไม่ได้สอนอะไรมากมายเพียงแต่สอนคนให้ภาวนาได้เท่านั้น ศาสนาพุทธเป็นศาสนาของใจการภาวนา คือ การพัฒนาจิตใจต้องให้ใจสงบก่อนจึงจะก้าวสู่วิปัสสนาได้สมถะเป็นเหตุวิปัสสนาเป็นผล ท่านสอนให้เดินจิตให้ชำนาญให้คล่องตัวเกิดความชำนิชำนาญในการเข้าการออก เพื่อเป็นฐานของวิปัสสนาการพิจารณาค้นหาใจตนเองให้พบก่อนเป็นการค้นไปในจิตหากิเลส อาสวะที่หมักดองอยู่ และชำระสะสางออกไปจากจิตใจ ในท้ายที่สุดแล้ว ท่านจะบรรยายอธิบายเรื่องทั้งหมดผ่านการแสดงธรรมตามวิธีสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผลจากการวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ของพรโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ ไตรสิกขา อันหมายถึง การฝึกพฤติกรรมฝึกจิตใจและฝึกปัญญาผ่านรูปแบบการเจริญภาวนาด้วยทาน ศีล ภาวนา จนเกิดปัญญาโดยมีแนวทางที่เป็นสายกลาง คือ อริยมรรค มีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ท่านได้แสดงให้เห็นว่า ท่านเป็นแบบอย่างที่ดียิ่งที่สร้างศรัทธาให้พุทธบริษัท และพุทธศาสนิกชนให้มั่นคงในพระพุทธศาสนาด้วยรูปแบบการเผยแผ่ดังกล่าวและกุศโลบายต่างๆ นั้นเพื่อให้ได้เข้าถึงความดีงามตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา ทั้งที่แสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ด้วยตาคือ ผลงานด้านถาวรวัตถุ ทั้งที่แสดงให้เห็นด้วยใจ คือ แรงพลังศรัทธาที่พุทธศาสนิกชนเข้าได้เข้ารับการอบรมสมาธิภาวนา มีทั้งแสดงให้เห็นด้วยปัญญา คือ หลักธรรมคำสอนที่มีจุดมุ่งหมายสูงสุดอันจะก่อเกิดความเป็นอิสระจากทุกข์ทั้งปวง กล่าวคือมรรคผลนิพพาน
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการเผยแผ่พระ พุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) คือ บรรพชิต 10 รูป ฆราวาส 10 คน (รวม 20 รูป/คน) นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหาตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า : การเผยแผ่พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เริ่มแรกพระพุทธองค์ทรงเผยแผ่หลักธรรมคำสอนด้วยพระองค์เอง ต่อจากนั้น การเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยพระสาวกดำเนินเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน โดยมีหลักคำสอนที่สำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ หลักโอวาทปาติโมกข์ หลักประโยชน์ 3 หลักไตรสิกขา ปฏิจจสมุปบาท เพื่อให้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่เบียดเบียนกันทั้งตนเองและผู้อื่น โดยพระพุทธองค์ทรงคำนึงถึงประโยชน์ที่พุทธศาสนิกชนจะได้รับเป็นหลักสำคัญที่สุดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พุทธวิธีที่พระองค์ทรงสอนนั้นทรงเลือกใช้พุทธวิธีการสอนให้เหมาะสมกับบุคคลสถานที่กาลและกุศโลบายวิธี เพื่อให้ผู้ที่พระองค์ทรงสอนเกิดสติปัญญาแก้ไขปัญหา สามารถนำพาชีวิตประสบความสงบสุขหลุดพ้นจากความทุกข์ดำเนินสู่มรรคผล คือ พระนิพพาน หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ มีวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ชัดเจนที่สุด คือ การแสดงธรรมเทศนา เพื่ออธิบายเรื่องการนั่งสมาธิภาวนา เรื่องอิทธิปาฏิหาริย์มีกุศโลบายในการสอนโดยสอดแทรกธรรมะผ่านวัตถุมงคลเรื่องคาถาต่างๆ เป้าหมายของการอบรมภาวนา คือ สอนวิธีทำใจให้สงบ ท่านไม่ได้สอนอะไรมากมายเพียงแต่สอนคนให้ภาวนาได้เท่านั้น ศาสนาพุทธเป็นศาสนาของใจการภาวนา คือ การพัฒนาจิตใจต้องให้ใจสงบก่อนจึงจะก้าวสู่วิปัสสนาได้สมถะเป็นเหตุวิปัสสนาเป็นผล ท่านสอนให้เดินจิตให้ชำนาญให้คล่องตัวเกิดความชำนิชำนาญในการเข้าการออก เพื่อเป็นฐานของวิปัสสนาการพิจารณาค้นหาใจตนเองให้พบก่อนเป็นการค้นไปในจิตหากิเลส อาสวะที่หมักดองอยู่ และชำระสะสางออกไปจากจิตใจ ในท้ายที่สุดแล้ว ท่านจะบรรยายอธิบายเรื่องทั้งหมดผ่านการแสดงธรรมตามวิธีสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผลจากการวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ของพรโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ ไตรสิกขา อันหมายถึง การฝึกพฤติกรรมฝึกจิตใจและฝึกปัญญาผ่านรูปแบบการเจริญภาวนาด้วยทาน ศีล ภาวนา จนเกิดปัญญาโดยมีแนวทางที่เป็นสายกลาง คือ อริยมรรค มีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ท่านได้แสดงให้เห็นว่า ท่านเป็นแบบอย่างที่ดียิ่งที่สร้างศรัทธาให้พุทธบริษัท และพุทธศาสนิกชนให้มั่นคงในพระพุทธศาสนาด้วยรูปแบบการเผยแผ่ดังกล่าวและกุศโลบายต่างๆ นั้นเพื่อให้ได้เข้าถึงความดีงามตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา ทั้งที่แสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ด้วยตาคือ ผลงานด้านถาวรวัตถุ ทั้งที่แสดงให้เห็นด้วยใจ คือ แรงพลังศรัทธาที่พุทธศาสนิกชนเข้าได้เข้ารับการอบรมสมาธิภาวนา มีทั้งแสดงให้เห็นด้วยปัญญา คือ หลักธรรมคำสอนที่มีจุดมุ่งหมายสูงสุดอันจะก่อเกิดความเป็นอิสระจากทุกข์ทั้งปวง กล่าวคือมรรคผลนิพพาน
ตามหลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพื่อสร้างประโยชน์ที่เกิดกับสังคมและหมู่คณะสงฆ์ในจังหวัดขอนแก่นอีกด้วย
This research had the objectives to study; 1) Theravada Buddhist propagation, 2) the propagation of Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako), and 3) to analyze the propagation principles of Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako). The researcher collected and studied from text books and related documents including in-depth interview from 10 Buddhist monks and 10 Buddhist laymen. The results were as follows: In the preliminary of Buddhist propagation, the Buddha went to teach and propagate by himself. When he had the disciples, he allowed them to teach and propagated Buddhism till now. The core of Buddhist propagation is Ovada Patimokkha, The Principle of Advantage, Threefold Training, and the Principle of Dependent Origination to cease from all evil, to do what is good, and to purify the mind. The Buddha and his disciples had proper methods to teach the people with the goal to leave from suffering and to reach enlightenment. For Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako), he applied the Buddha’ methods to teach the people with four principle; transparency, motivation, brave, and happiness. He described, discussed, and answered Buddhist principles. The principles that he used to teach were Dhana, Sila, Panya because there were the factors of Anapanasati. Also, it was the way to resolve the problems that brought the happiness and calm. For the analytical of Phrasophonvisutdhikhun’s propagation and teaching, he applied the Principles of Threefold Training, the Eightfold Path to teach the people to reach enlightenment. He acted as the model for the people to strongly believe in Buddhism by builds, Buddhist estates and meditation. He practiced following the Buddha’s teaching for the benefit of the people to relief suffering and reach enlightenment and for the benefit of the Sangha in Khonkaen province.
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม.)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2547
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม.)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(สศ.ม)--มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2547
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(สศ.ม)--มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2547
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง “กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ” มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษากระบวนทัศน์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ๒) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ๓) การสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ และ ๔) การนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบสัมภาษณ์ (Qualitative research interview) ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน ๑๒ รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอในรูปแบบเชิงพรรณนา ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ๑) กระบวนทัศน์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นการเผยแผ่ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนในรูปแบบต่าง ได้แก่ ๑. การเผยแผ่ด้วยการทำพระองค์เป็นแบบอย่าง ๒. การเผยแผ่ด้วยการให้ผู้ปฏิบัติสัมผัสกับสัจจะเกิดประสบการณ์ด้วยตนเอง ๓. การเผยแผ่ด้วยการแสดงธรรม ๔. การเผยแผ่ด้วยการให้ผู้ฝังคิดหาเหตุผลด้วยตนเอง และกิจกรรมเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์วัดและคณะสงฆ์ในปัจจุบันมีทั้งแบบ ประเพณี และปรับปรุงให้เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน ได้แก่ ๑. การเผยแผ่ตามประเพณีคณะสงฆ์และตามประเพณีไทย ๒. การเผยแผ่แบบปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบัน ๓. การเผยแผ่แบบจัดเป็นคณะ หรือหน่วยงานเผยแผ่ ๔. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้านคฤหัสถ์ มีการตั้งเป็นสมาคม ๒) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ในด้านการเทศน์ การปาฐกถา การเขียนหนังสือ การแปลหนังสือ บทกวีนิพนธ์ร้อยกรอง และในด้านปริศนาธรรมโรงมหรสพทางวิญญาณ ทั้ง ๔ ด้านนี้ ซึ่งในแต่ละด้านของกระบวนทัศน์นั้นมี ๓ วิธีการ แต่ละวิธีการมีประเด็นที่ศึกษา คือ (๑) วิธีคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วยการศึกษาปัญหา สาเหตุ เป้าหมาย และศึกษาวิธีการ (๒) วิธีปฏิบัติ ประกอบด้วย กระบวนวิธีการเรียนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้เห็น และปฏิบัติให้เป็นตัวอย่าง (๓) วิธีนำเสนอ ประกอบด้วย ชี้แจงให้เห็นชัด ชวนใจให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชื่นร่าเริง ๓) สร้างกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ประกอบด้วย (๑)กระบวนวิธีการคิดวิเคราะห์ โดยใช้หลักอริยสัจ ในการศึกษาปัญหา สาเหตุ เป้าหมาย ตลอดจนถึงวิธีการ และแบบวิภัชชวาท เป็นการจำแนกความจริง แยกส่วนประกอบ (๒) กระบวนวิธีปฏิบัติ ท่านเรียนให้รู้จากพระไตรปิฎก แล้วก็เอามาทำให้ดู ซึ่งปรากฏให้เห็นในวิถีความเป็นอยู่ของท่านแบบสวนโมกข์ ปฏิบัติให้เป็นตัวอย่างแก่ผู้ใคร่ศึกษา และ (๓) กระบวนวิธีนำเสนอ สร้างความรู้ ประมวลความรู้ และเผยแพร่ความรู้ ด้วยการชี้แจงให้เห็นอย่างชัดแจ้ง ๔) องค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ได้แก่ “SWPD MODEL” S ย่อมาจาก SERMON ได้แก่ การแสดงพระธรรมเทศนา การปาฐกถา การบรรยายธรรม W ย่อมาจาก WRITING ได้แก่ งานเขียนหนังสือ แปลหนังสือ P ย่อมาจาก POETRY ได้แก่ บทกวีนิพนธ์ บทร้อยกรอง D ย่อมาจาก DHAMMA PUZZLE ได้แก่ ปริศนาธรรมในโรงมหรสพทางวิญญาณ SWPD MODEL จึงเป็น กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ที่มีความเป็นเอกลักษณ์และประสบความสำเร็จ สามารถนำมาเป็นตัวอย่างในการเผยแผ่ทั้งวิธีการคิดวิเคราะห์ วิธีการปฏิบัติ และวิธีการนำเสนอ
ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง “กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ” มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษากระบวนทัศน์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ๒) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ๓) การสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ และ ๔) การนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบสัมภาษณ์ (Qualitative research interview) ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน ๑๒ รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอในรูปแบบเชิงพรรณนา ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ๑) กระบวนทัศน์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นการเผยแผ่ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนในรูปแบบต่าง ได้แก่ ๑. การเผยแผ่ด้วยการทำพระองค์เป็นแบบอย่าง ๒. การเผยแผ่ด้วยการให้ผู้ปฏิบัติสัมผัสกับสัจจะเกิดประสบการณ์ด้วยตนเอง ๓. การเผยแผ่ด้วยการแสดงธรรม ๔. การเผยแผ่ด้วยการให้ผู้ฝังคิดหาเหตุผลด้วยตนเอง และกิจกรรมเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์วัดและคณะสงฆ์ในปัจจุบันมีทั้งแบบ ประเพณี และปรับปรุงให้เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน ได้แก่ ๑. การเผยแผ่ตามประเพณีคณะสงฆ์และตามประเพณีไทย ๒. การเผยแผ่แบบปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบัน ๓. การเผยแผ่แบบจัดเป็นคณะ หรือหน่วยงานเผยแผ่ ๔. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้านคฤหัสถ์ มีการตั้งเป็นสมาคม ๒) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ในด้านการเทศน์ การปาฐกถา การเขียนหนังสือ การแปลหนังสือ บทกวีนิพนธ์ร้อยกรอง และในด้านปริศนาธรรมโรงมหรสพทางวิญญาณ ทั้ง ๔ ด้านนี้ ซึ่งในแต่ละด้านของกระบวนทัศน์นั้นมี ๓ วิธีการ แต่ละวิธีการมีประเด็นที่ศึกษา คือ (๑) วิธีคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วยการศึกษาปัญหา สาเหตุ เป้าหมาย และศึกษาวิธีการ (๒) วิธีปฏิบัติ ประกอบด้วย กระบวนวิธีการเรียนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้เห็น และปฏิบัติให้เป็นตัวอย่าง (๓) วิธีนำเสนอ ประกอบด้วย ชี้แจงให้เห็นชัด ชวนใจให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชื่นร่าเริง ๓) สร้างกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ประกอบด้วย (๑)กระบวนวิธีการคิดวิเคราะห์ โดยใช้หลักอริยสัจ ในการศึกษาปัญหา สาเหตุ เป้าหมาย ตลอดจนถึงวิธีการ และแบบวิภัชชวาท เป็นการจำแนกความจริง แยกส่วนประกอบ (๒) กระบวนวิธีปฏิบัติ ท่านเรียนให้รู้จากพระไตรปิฎก แล้วก็เอามาทำให้ดู ซึ่งปรากฏให้เห็นในวิถีความเป็นอยู่ของท่านแบบสวนโมกข์ ปฏิบัติให้เป็นตัวอย่างแก่ผู้ใคร่ศึกษา และ (๓) กระบวนวิธีนำเสนอ สร้างความรู้ ประมวลความรู้ และเผยแพร่ความรู้ ด้วยการชี้แจงให้เห็นอย่างชัดแจ้ง ๔) องค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ได้แก่ “SWPD MODEL” S ย่อมาจาก SERMON ได้แก่ การแสดงพระธรรมเทศนา การปาฐกถา การบรรยายธรรม W ย่อมาจาก WRITING ได้แก่ งานเขียนหนังสือ แปลหนังสือ P ย่อมาจาก POETRY ได้แก่ บทกวีนิพนธ์ บทร้อยกรอง D ย่อมาจาก DHAMMA PUZZLE ได้แก่ ปริศนาธรรมในโรงมหรสพทางวิญญาณ SWPD MODEL จึงเป็น กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ที่มีความเป็นเอกลักษณ์และประสบความสำเร็จ สามารถนำมาเป็นตัวอย่างในการเผยแผ่ทั้งวิธีการคิดวิเคราะห์ วิธีการปฏิบัติ และวิธีการนำเสนอ
The objectives of the dissertation entitled “A New Paradigm in Buddhist Propagation According to Buddhadasa Bhikkhu” were as follows: 1) to study a paradigm in Buddhist propagation, 2) to the Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu, 3) to create a new paradigm in Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu, and 4) to propose a new knowledge in “a new paradigm in Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu”. The data of this qualitative research were collected from documents and in-depth interviews with 12 experts and then analyzed by content analysis. The study results were presented in a descriptive method. The result of this research found that: 1) The paradigm in Buddhist propagation is the teaching that the Buddha did in many methods. They are 1) To behave himself as the sample or model, 2) To have the audience earn experiences by themselves, 3) To give a sermon, and 4) To let the audience consider and find causes and results by themselves. The propagations of Buddhism of monks in the present are both traditional and improving according to the social contexts nowadays. They are 1) To follow the Sangha traditions and Thai festivals, 2) To improve the propagating methods suitable to the social contexts at present, 3) To propagate by team or by unit, and 4) To propagate by lay-people in the form of organization. 2) The Buddhist propagation of Buddhadasa Bhikkhu was on giving a sermon, speech, book writing, translation, poetry and Dhamma puzzle in the theater of Dhamma and soul. Each paradigm can be classified into 3 methods; (1) Analytical thinking method consisting of the study of problem, cause, purpose and approach, (2) Practice consisting of study and learn, learning by doing, and presenting the model, and (3) Presentation consisting of clear explanation, practical inspiration, confidence alertness, and pleasurable feeling. 3) The creation of a new paradigm in Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu consist of; (1) Analytical thinking process based on the principles of the Four Noble Truths and classification system, (2) Practical process by referring to the sources in the Tipitaka and putting into practice in his temple as the sample, and (3) Presentation process consisting of accumulating knowledge, knowledge analysis and classification, and proposing the knowledge with clear explanation. 4) The body of knowledge on a new paradigm in Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu can be concluded in “SWPD Model”. S stands for Sermon, W for Writing, P for Poetry, and D for Dhamma Puzzle. SWPD MODEL is a new paradigm in Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu. The propagation has identity and is successful in practice. It can be used as a model in Buddhist propagation in 3 aspects; analytical thinking, practice and presentation.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง “รูปแบบการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาตามช่วงวัยในสังคมยุคปัจจุบัน” มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาในสังคมยุคปัจจุบัน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาตามช่วงวัยในสังคมยุคปัจจุบัน และ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาตามช่วงวัยในสังคมยุคปัจจุบัน วิทยานิพนธ์นี้ได้ดำเนินการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Designs) โดยมีวิธีดำเนินการวิจัยจากเอกสารขั้นปฐมภูมิ และเอกสารตำราวิชาการ สอบถามกับกลุ่มตัวอย่างในคน 4 เจเนอเรชัน จำนวน 136 คน และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา จำนวน 14 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า: 1) สภาพการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน ผู้เผยแผ่มีทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ที่ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดคำสอนในพระพุทธศาสนาให้กับคนในสังคม ทั้งเทศน์สอนโดยตรงและสอนผ่านสื่อที่สามารถเข้าถึงกลุ่มคนได้ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สื่อโซเชียลเนตเวิร์ค โดยที่ผู้เผยแผ่ต่างทำหน้าที่เผยแผ่คำสอนตามแนวทางที่ตนเองถนัด ไม่ได้มีความร่วมมือในการเผยแผ่อย่างเป็นรูปธรรม 2) รูปแบบของการเผยแผ่มีหลากหลายรูปแบบทั้งหนังสือธรรมะ รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ คลิปวีดีโอ บทความ ข้อความสั้น ๆ ประกอบรูปภาพในสื่อโซเชียลเนตเวิร์ค รวมไปถึงการจัดกิจกรรมค่ายธรรมะด้วย ซึ่งแต่ละรูปแบบและช่องทางนั้นจะมีกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกันไปตามการเข้าถึงและเปิดรับสื่อนั้น ๆ อย่างไรก็ตามลักษณะของผู้เผยแผ่และผู้ฟังจะมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน โดยแนวทางการสอนของผู้เผยแผ่จะดึงดูดกลุ่มผู้ฟังที่ชอบแนวทางนั้น ส่วนความสนใจของผู้ฟังนั้นมีส่วนในการกำหนดแนวทางการสอนและการเลือกเนื้อหาของผู้เผยแผ่ด้วย 3) รูปแบบการเผยแผ่คำสอนในพระพุทธศาสนาควรให้ความสำคัญกับทุกองค์ประกอบไม่ว่าจะเป็นผู้สอนที่ควรศึกษาคำสอนนำมาพัฒนาคุณธรรมของตน และศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่สามารถนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการเผยแผ่ เนื้อหาคำสอนควรเป็นเนื้อหาที่ผู้ฟังสนใจ ปรับให้ง่ายเหมาะกับวุฒิภาวะของผู้ฟังในแต่ละเจเนอเรชัน ทำให้เกิดความประทับใจ คลายข้อสงสัยและสามารถนำหลักคำสอนไปใช้แก้ปัญหารวมถึงการพัฒนาชีวิตและจิตใจให้ดีขึ้น สื่อและวิธีการที่ใช้ควรเป็นสื่อที่เข้าถึงกลุ่มคนได้ง่าย ไม่ซับซ้อน การเผยแผ่ต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้เผยแผ่ที่รู้จักยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนทั้งสื่อและวิธีการให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ฟัง ดังรูปแบบการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาตามช่วงวัยในสังคมยุคปัจจุบัน คือ EPIE Model
ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง “รูปแบบการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาตามช่วงวัยในสังคมยุคปัจจุบัน” มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาในสังคมยุคปัจจุบัน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาตามช่วงวัยในสังคมยุคปัจจุบัน และ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาตามช่วงวัยในสังคมยุคปัจจุบัน วิทยานิพนธ์นี้ได้ดำเนินการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Designs) โดยมีวิธีดำเนินการวิจัยจากเอกสารขั้นปฐมภูมิ และเอกสารตำราวิชาการ สอบถามกับกลุ่มตัวอย่างในคน 4 เจเนอเรชัน จำนวน 136 คน และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา จำนวน 14 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า: 1) สภาพการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน ผู้เผยแผ่มีทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ที่ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดคำสอนในพระพุทธศาสนาให้กับคนในสังคม ทั้งเทศน์สอนโดยตรงและสอนผ่านสื่อที่สามารถเข้าถึงกลุ่มคนได้ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สื่อโซเชียลเนตเวิร์ค โดยที่ผู้เผยแผ่ต่างทำหน้าที่เผยแผ่คำสอนตามแนวทางที่ตนเองถนัด ไม่ได้มีความร่วมมือในการเผยแผ่อย่างเป็นรูปธรรม 2) รูปแบบของการเผยแผ่มีหลากหลายรูปแบบทั้งหนังสือธรรมะ รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ คลิปวีดีโอ บทความ ข้อความสั้น ๆ ประกอบรูปภาพในสื่อโซเชียลเนตเวิร์ค รวมไปถึงการจัดกิจกรรมค่ายธรรมะด้วย ซึ่งแต่ละรูปแบบและช่องทางนั้นจะมีกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกันไปตามการเข้าถึงและเปิดรับสื่อนั้น ๆ อย่างไรก็ตามลักษณะของผู้เผยแผ่และผู้ฟังจะมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน โดยแนวทางการสอนของผู้เผยแผ่จะดึงดูดกลุ่มผู้ฟังที่ชอบแนวทางนั้น ส่วนความสนใจของผู้ฟังนั้นมีส่วนในการกำหนดแนวทางการสอนและการเลือกเนื้อหาของผู้เผยแผ่ด้วย 3) รูปแบบการเผยแผ่คำสอนในพระพุทธศาสนาควรให้ความสำคัญกับทุกองค์ประกอบไม่ว่าจะเป็นผู้สอนที่ควรศึกษาคำสอนนำมาพัฒนาคุณธรรมของตน และศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่สามารถนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการเผยแผ่ เนื้อหาคำสอนควรเป็นเนื้อหาที่ผู้ฟังสนใจ ปรับให้ง่ายเหมาะกับวุฒิภาวะของผู้ฟังในแต่ละเจเนอเรชัน ทำให้เกิดความประทับใจ คลายข้อสงสัยและสามารถนำหลักคำสอนไปใช้แก้ปัญหารวมถึงการพัฒนาชีวิตและจิตใจให้ดีขึ้น สื่อและวิธีการที่ใช้ควรเป็นสื่อที่เข้าถึงกลุ่มคนได้ง่าย ไม่ซับซ้อน การเผยแผ่ต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้เผยแผ่ที่รู้จักยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนทั้งสื่อและวิธีการให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ฟัง ดังรูปแบบการเผยแผ่คำสอนพระพุทธศาสนาตามช่วงวัยในสังคมยุคปัจจุบัน คือ EPIE Model
The dissertation on “The Model of Buddhist Dissemination to Generation Groups inContemporary Society” aims to 1) study the state of Buddhist dissemination in contemporary society, 2) develop the pattern of Buddhist dissemination to generation groups, and 3) propose the model of Buddhist dissemination to generation groups in contemporary society. The mixed methods design was used. The tools for collecting data were primary source analysis from Buddhist Canon and academic documents, questionnaires administered to the sample groups of 4 generations consisting of 136 people, and in-depth interview with 14 Buddhist dissemination experts. The results of the research were as follows: 1) At present, both monks and lay people have responsibility for disseminating the Teachings of the Buddha to people in society. They give sermon in person or through available social media channels such as television, radio, social media networks. Without substantial collaboration, Dhamma distributors generally have their own way to perform their task of Dhamma dissemination. 2) Nowadays Buddhist dissemination employs various means including Dhamma books, TV programs, radio programs, VDO clips, articles, short texts incorporated with illustrations shared on social media, and Dhamma camps. Each type of means is compatible with different groups of receivers. However, characteristics of media senders and receivers mutually influence each other. The Dhamma distributors’ teaching styles attract particular group of receivers whereas the receivers’ preference partially directs Dhamma distributors’ teaching styles. 3) The model of Buddhist dissemination should emphasize on every factor. Dhamma distributors should learn Buddhist teachings to develop their own morals and improve their knowledge on technology essential for dissemination. The content should be relevant to audience interests, and adjusted to suit with the maturity of each generation. These would impress receivers, eliminate their doubts, and encourage them to apply Buddhist doctrines in real life to overcome obstacles and improve their mind and body. Media and methods used should be simple and easily accessed. The dissemination requires agile experience of Dhamma distributors, appropriate media channels, and methods to serve receivers’ needs according to EPIE Model which is the model of Buddhist dissemination to generation groups in today’s society.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาลและสมัยปัจจุบัน 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด และ 3) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด และนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาลและปัจจุบันเพื่อเข้าถึงเป้าหมาย หลักการและวิธีที่ใช้ประกาศพระธรรมวินัยของพระพุทธองค์ในฐานะธรรมราชา ทรงมีรูปแบบและวิธีการเผยแผ่ที่หลากหลาย และทรงประกอบด้วยคุณสมบัติของนักเผยแผ่ผู้ยอดเยี่ยม โดยการคำนึงถึงประโยชน์สุขอย่างยั่งยืนของผู้ฟังเป็นสำคัญ ทำให้ทราบว่าพระพุทธเจ้าทรงประกาศศาสนาด้วยวิธีการเชิงรุก จากการศึกษาทรรศนะและวิธีการประกาศพระศาสนาของพระองค์นั้น พบว่ากระทำโดยคณะสงฆ์เป็นหลัก มีพระพุทธเจ้าทรงเป็นประธาน เป็นผู้นำทัพธรรมพร้อมด้วยการสนับสนุนของเหล่าอุบาสกอุบาสิกา โดยมีองค์ประกอบของแนวทาง คือ เป้าหมาย เพื่อประกาศแบบแผนในการดำรงชีวิตที่ดีงามตามที่พระองค์ทรงค้นพบให้ชาวโลกได้รับรู้และนำไปปฏิบัติเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข และเพื่อสันติภาพของมวลมนุษย์โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน หลักการเผยแผ่แยกเป็นสามส่วน คือ (1) หลักการแห่งพระธรรมวินัยทั้งมวล (2) หลักการเผยแผ่ และ (3) หลักการว่าด้วยคุณธรรมของผู้ทำการเผยแผ่ แม้ในสมัยหลังพุทธกาลถึงปัจจุบันพระธรรมกถึกก็ยังปฏิบัติตามหลักการเป็นนักเผยแผ่หลักธรรมคำสอนแบบเชิงรุกโดยการประยุกต์หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาให้ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน และให้ทันสมัยอยู่ทุกเมื่อจนเป็นที่ยอมรับของพระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนาเชิงรุกว่า เป็นการเผยแผ่เชิงรุกอย่างแท้จริง 2) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นงานที่ดำเนินตามกฎ ระเบียบ และคำสั่งของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึก มีรูปแบบและวิธีการการเผยแผ่ที่หลากหลาย แต่ละรูปแบบก็มีวิธีการแตกต่างกันออกไป ตามคตินิยม ความเชื่อสภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ส่วนเนื้อหาหลักธรรมที่ใช้ในการเผยแผ่นั้นไม่มีรูปแบบที่ตายตัวซึ่งพระธรรมกถึกสามารถประยุกต์หลักธรรมมาใช้ในการเผยแผ่ได้ด้วยตัวเอง ส่วนเรื่อเทคนิควิธีการเผยแผ่ เป็นความสามารถเฉพาะบุคคล และการหมั่นพัฒนาความสามรถในการเผยแผ่ของตนเอง และเทคนิควิธีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ฟัง 3) พระธรรมกถึกมีการใช้เนื้อหาหลักธรรมหลายหมวด รวมทั้งข้อคิดคำคมในสถานการณ์ปัจจุบันมาใช้ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมกับเพศ วัย อาชีพ สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง มีการใช้หลักธรรมร่วมกับการทำกิจกรรมสร้างสรรค์ สื่อการสอนประกอบในการเผยแผ่ที่นำมาใช้แตกต่างกันขึ้นอยู่กับความรู้ ความชำนาญของพระธรรมกถึกแต่ละรูป และขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับผู้ฟัง ในส่วนของการได้รับประโยชน์และคุณค่านั้นโดยภาพรวม พบว่าผู้ฟังได้รับประโยชน์ทั้งด้านกายภาพ ด้านจิตภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมในระดับที่ดีขึ้น
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาลและสมัยปัจจุบัน 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด และ 3) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด และนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาลและปัจจุบันเพื่อเข้าถึงเป้าหมาย หลักการและวิธีที่ใช้ประกาศพระธรรมวินัยของพระพุทธองค์ในฐานะธรรมราชา ทรงมีรูปแบบและวิธีการเผยแผ่ที่หลากหลาย และทรงประกอบด้วยคุณสมบัติของนักเผยแผ่ผู้ยอดเยี่ยม โดยการคำนึงถึงประโยชน์สุขอย่างยั่งยืนของผู้ฟังเป็นสำคัญ ทำให้ทราบว่าพระพุทธเจ้าทรงประกาศศาสนาด้วยวิธีการเชิงรุก จากการศึกษาทรรศนะและวิธีการประกาศพระศาสนาของพระองค์นั้น พบว่ากระทำโดยคณะสงฆ์เป็นหลัก มีพระพุทธเจ้าทรงเป็นประธาน เป็นผู้นำทัพธรรมพร้อมด้วยการสนับสนุนของเหล่าอุบาสกอุบาสิกา โดยมีองค์ประกอบของแนวทาง คือ เป้าหมาย เพื่อประกาศแบบแผนในการดำรงชีวิตที่ดีงามตามที่พระองค์ทรงค้นพบให้ชาวโลกได้รับรู้และนำไปปฏิบัติเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข และเพื่อสันติภาพของมวลมนุษย์โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน หลักการเผยแผ่แยกเป็นสามส่วน คือ (1) หลักการแห่งพระธรรมวินัยทั้งมวล (2) หลักการเผยแผ่ และ (3) หลักการว่าด้วยคุณธรรมของผู้ทำการเผยแผ่ แม้ในสมัยหลังพุทธกาลถึงปัจจุบันพระธรรมกถึกก็ยังปฏิบัติตามหลักการเป็นนักเผยแผ่หลักธรรมคำสอนแบบเชิงรุกโดยการประยุกต์หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาให้ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน และให้ทันสมัยอยู่ทุกเมื่อจนเป็นที่ยอมรับของพระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนาเชิงรุกว่า เป็นการเผยแผ่เชิงรุกอย่างแท้จริง 2) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นงานที่ดำเนินตามกฎ ระเบียบ และคำสั่งของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึก มีรูปแบบและวิธีการการเผยแผ่ที่หลากหลาย แต่ละรูปแบบก็มีวิธีการแตกต่างกันออกไป ตามคตินิยม ความเชื่อสภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ส่วนเนื้อหาหลักธรรมที่ใช้ในการเผยแผ่นั้นไม่มีรูปแบบที่ตายตัวซึ่งพระธรรมกถึกสามารถประยุกต์หลักธรรมมาใช้ในการเผยแผ่ได้ด้วยตัวเอง ส่วนเรื่อเทคนิควิธีการเผยแผ่ เป็นความสามารถเฉพาะบุคคล และการหมั่นพัฒนาความสามรถในการเผยแผ่ของตนเอง และเทคนิควิธีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ฟัง 3) พระธรรมกถึกมีการใช้เนื้อหาหลักธรรมหลายหมวด รวมทั้งข้อคิดคำคมในสถานการณ์ปัจจุบันมาใช้ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมกับเพศ วัย อาชีพ สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง มีการใช้หลักธรรมร่วมกับการทำกิจกรรมสร้างสรรค์ สื่อการสอนประกอบในการเผยแผ่ที่นำมาใช้แตกต่างกันขึ้นอยู่กับความรู้ ความชำนาญของพระธรรมกถึกแต่ละรูป และขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับผู้ฟัง ในส่วนของการได้รับประโยชน์และคุณค่านั้นโดยภาพรวม พบว่าผู้ฟังได้รับประโยชน์ทั้งด้านกายภาพ ด้านจิตภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมในระดับที่ดีขึ้น
The objectives of this thesis were : 1) to study the propagation of Buddhism in the Buddhist era and the present time 2) to study the propagation Buddhism of the Northeastern Phradhammakatuk Training Center (Preacher Training Center) at Wat Bueng Phra Lan Chai, Phra Aram Luang, Muang Roi Et District, Roi Et Province and 3) to analyze the pattern of Buddhism propagation of the Northeastern Phradhammakatuk Training Center at Wat Bueng Phra Lan Chai, Phra Aram Luang, Muang Roi Et District, Roi Et Province and use the data to analyze the contents. The results of the research found that: 1)The propagation of Buddhism in the Buddhist time and present time to approach the goal. Principles and methods used to preach the Dharma and discipline of Buddha as a Dharma Raja which had various forms and methods of propagation and possessed the qualities of a great missionary by considering to the sustainable benefits of listeners. Let us know that the Buddha preached his religion with an aggressive approach. From the study of his views and methods of preaching on his religion found that acts mainly by the clergy. The Buddha was a president, the leader of the Dharma Army with support with churchman and churchwoman. The elements of the approach were the goal for announcing the pattern of a good living as he discovered as he discovered for human to know and implement for the benefit, happiness, and peace of human, with the ultimate goal was Nirvana. The principle of propagation divided into 3 parts: (1) Principles of all disciplines, (2) principles of propagation and (3) principles of the whole morality of missionaries. Even in the post-Buddhist era until at present, Phradhammakatuk still following the principle of proactive doctrinal missionary principles by applying Buddhist doctrines to keep up with current events and to be up-to-date at all times until it is accepted by proactive Buddhist propaganda by applying Buddhist doctrines to keep up with current events. 2) Propagation of Buddhism at the Northeastern Phradhammakatuk Training Center Wat Bueng Phra Lan Chai, Phra Aram Luang, Muang Roi Et District, Roi Et Province was performed according to the rules, regulations and orders of the Pradhammakatuk Training Center. There were various forms and methods of propagation. It was different from each other based on ideology, beliefs, social environment, economy and politics. In part of the contents of the dharma principles used in propagating, there was no fixed form which the Phradhammakatuk could apply the dharma principles can be used to propagate by their own. In case of techniques of propagation, it was an individual ability and diligently developing the ability to propagate their own and modern techniques for the greatest benefit to the listeners. 3) Phradharmakatuek used the content of dharma principles in many categories. Including of thought and quotes in the current situation to use by considering gender suitability, age, occupation, economic environment, society and politics. The principles of dharma were used in conjunction with creative activities, teaching materials used in propagation differ depending on the knowledge, proficiency of each Phradhammakathuk, and depends on the environment in which the listener is involved. In terms of the benefits and values by are overall, It was found that the listeners benefited both physically, mentally, economically, and socially at a better level.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(กศ.ม)มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2544
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(กศ.ม)มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2544
หนังสือ

หนังสือ

    การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา และ2) ศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา โดยการวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) ทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยพระภิกษุสงฆ์ ในอำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จำนวน 86 รูป วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป โดยใช้โปรแกรมทางสถิติ วิเคราะห์หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการเก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 5 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า: 1. ผลการวิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 2.94) ซึ่งเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับบ ( = 3.10) รองลงมา คือ ด้านการปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 3.05) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านการเผยแผ่ธรรมะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 2.69) ตามลำดับ 2. ข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา มีความคิดเห็นสอดคล้องกัน พบว่า พระสงฆ์มีการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องด้วยข้อจำกัดด้านวัยของพระสงฆ์ที่เป็นผู้สูงอายุ จึงควรได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา รวมทั้งมีการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อจัดตั้งศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่คณะสงฆ์ และจัดอบรมเพิ่มความรู้เกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยีให้เหมาะสมแก่พระสงฆ์เพราะความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่การปรับตัวโดยการเรียนรู้และพัฒนาทักษะสำคัญต่อการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาบุคคลและคณะสงฆ์ให้อยู่ร่วมกับสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงได้ดียิ่งขึ้น
การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา และ2) ศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา โดยการวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) ทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยพระภิกษุสงฆ์ ในอำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จำนวน 86 รูป วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป โดยใช้โปรแกรมทางสถิติ วิเคราะห์หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการเก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 5 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า: 1. ผลการวิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 2.94) ซึ่งเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับบ ( = 3.10) รองลงมา คือ ด้านการปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 3.05) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านการเผยแผ่ธรรมะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 2.69) ตามลำดับ 2. ข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา มีความคิดเห็นสอดคล้องกัน พบว่า พระสงฆ์มีการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องด้วยข้อจำกัดด้านวัยของพระสงฆ์ที่เป็นผู้สูงอายุ จึงควรได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา รวมทั้งมีการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อจัดตั้งศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่คณะสงฆ์ และจัดอบรมเพิ่มความรู้เกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยีให้เหมาะสมแก่พระสงฆ์เพราะความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่การปรับตัวโดยการเรียนรู้และพัฒนาทักษะสำคัญต่อการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาบุคคลและคณะสงฆ์ให้อยู่ร่วมกับสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงได้ดียิ่งขึ้น
The objectives of this research were 1) to study the use of information technology for the Buddhist propagation of monks in the area of Bang Klam District, Songkhla province, and 2) to study the recommendations and guidelines for promoting the use of information technology for the propagation of Buddhism by monks in the area of Bang Klam district, Songkhla province. The researcher used a mixed method of research both quantitative and qualitative research. The population used in this research consisted of monks in Bang Klam district, Songkhla province for 86 persons and analyzed using a ready-made computer program. By using a statistical program frequency, percentage, mean, and standard deviation were analyzed. and qualitative research by in-depth interview with 5 key informants. The results showed that: 1) The results of the analysis of the use of information technology for Buddhism propagation of the monks in Bang Klam district, Songkhla province by overall were at a moderate level with an average of ( = 2.94) When considering each aspect it was found that the educational aspect had the highest mean score of ( = 3.10) The mean for protecting Buddhism was equal to ( = 3.05) and for propagating dharma the mean value was ( = 2.69). 2) Suggestions on guidelines for promoting the use of information technology for Buddhist propagation of monks in Bang Klam district, Songkhla province showed consistent opinions. It was found that the monks used technology at a moderate level. Due to the age limitation of the elderly monks, therefore, they should be encouraged to learn about using technology for the propagation of Buddhism. including budget support to set up a center for propagating Buddhism for the Sangha and organize training sessions to increase knowledge on how to use technology appropriately for monks because the change of the era is inevitable but the adaptation by learning and developing skills important to the use of information technology for communication. It is important to develop individuals and sangha to better coexist with a changing society.
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่ธรรมะในสมัยพุทธกาลและปัจจุบัน 2) เพื่อศึกษาชีวิตและผลงานการเผยแผ่ธรรมะของพระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกฺขุ) และ 3) เพื่อวิเคราะห์การเผยแผ่ธรรมะของพระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกฺขุ) ตามหลักประจักษ์นิยมนิยมในทางญาณวิทยา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาจากคัมภีร์พระพุทธศาสนา เอกสารทางวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูล แล้วนำเสนอผลการวิจัยด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การเผยแผ่พุทธศาสนาในครั้งพุทธกาลใช้วิธี “มุขปาฐะ” เป็นสำคัญ โดยมุ่งเน้นไปที่การเผยแผ่นั้นให้เป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล (หิตาย) เพื่อความสุข (สุขาย) และเพื่ออนุเคราะห์แก่ชาวโลก (โลกานุกัมปาย) ทั้งนี้เพราะชาวโลกหรือมนุษย์จำนวนมากยังเป็นผู้เวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ พระพรหมมังคลาจารย์หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อ หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ผู้เป็นพระภิกษุในพุทธศาสนาเถรวาท ท่านเป็นผู้บุกเบิกแหล่งศึกษาธรรมชื่อสวนโมกข์ ให้เป็นสถานที่ศึกษาธรรมจากคัมภีร์หลักคือพระไตรปิฎก ศึกษาธรรมะจากธรรมชาติที่อยู่รอบตัว ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย โดยเฉพาะท่านมีความโดดเด่นด้านปาฐกถาธรรมและเทศนาธรรมในที่สาธารณะอย่างองอาจ จนกลายเป็นต้นแบบและสร้างแรงบันดาลใจแก่พระนักเผยแผ่ได้เป็นอย่างดี และท่านยังมีผลงานเชิงประจักษ์ เช่น หนังสือ คำบรรยายธรรม แผ่นซีดี และอื่นๆ เป็นจำนวนมาก หากนำประจักษ์นิยมไปวิเคราะห์การเผยแผ่ธรรมะของหลวงพ่อปัญญานันทภิกษุ จะเห็นว่า หลักการ วิธีการและแนวทางการเผยแผ่ธรรมะของท่านล้วนเกิดจากประสบการณ์ที่ท่านเดินทางไปจำพรรษาในภูมิภาคต่างๆ มีจังหวัดเชียงใหม่เป็นต้น ซึ่งทำให้ท่านกล้าเปลี่ยนการนั่งบนธรรมาสน์มาเป็นยืนบรรยายธรรมะบนโพเดียมต่อหน้าชาวพุทธ วิธีการเผยแผ่ธรรมะดังกล่าวจะตรงกับประจักษ์นิยม ที่เชื่อว่าประสบการณ์เป็นที่มาของความรู้ที่แท้จริงและถูกต้อง ซึ่งเกิดได้จากการรับรู้ได้ทางประสาทสัมผัส โดยเฉพาะความรู้ความเข้าใจในการกระทำต่อสิ่งต่างๆ กล้าคิด กล้าทำและกล้าเปลี่ยนแปลงวิธีการเผยแผ่ธรรมะ ล้วนเกิดจากประสบการณ์ตรงเชิงประจักษ์ตลอดชีวิตแห่งสมณเพศของท่าน
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่ธรรมะในสมัยพุทธกาลและปัจจุบัน 2) เพื่อศึกษาชีวิตและผลงานการเผยแผ่ธรรมะของพระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกฺขุ) และ 3) เพื่อวิเคราะห์การเผยแผ่ธรรมะของพระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกฺขุ) ตามหลักประจักษ์นิยมนิยมในทางญาณวิทยา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาจากคัมภีร์พระพุทธศาสนา เอกสารทางวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูล แล้วนำเสนอผลการวิจัยด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การเผยแผ่พุทธศาสนาในครั้งพุทธกาลใช้วิธี “มุขปาฐะ” เป็นสำคัญ โดยมุ่งเน้นไปที่การเผยแผ่นั้นให้เป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล (หิตาย) เพื่อความสุข (สุขาย) และเพื่ออนุเคราะห์แก่ชาวโลก (โลกานุกัมปาย) ทั้งนี้เพราะชาวโลกหรือมนุษย์จำนวนมากยังเป็นผู้เวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ พระพรหมมังคลาจารย์หรือที่รู้จักทั่วไปในชื่อ หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ผู้เป็นพระภิกษุในพุทธศาสนาเถรวาท ท่านเป็นผู้บุกเบิกแหล่งศึกษาธรรมชื่อสวนโมกข์ ให้เป็นสถานที่ศึกษาธรรมจากคัมภีร์หลักคือพระไตรปิฎก ศึกษาธรรมะจากธรรมชาติที่อยู่รอบตัว ท่านเป็นที่รู้จักในฐานะพระสงฆ์ผู้ปฏิรูปแนวทางการเผยแผ่พุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย โดยเฉพาะท่านมีความโดดเด่นด้านปาฐกถาธรรมและเทศนาธรรมในที่สาธารณะอย่างองอาจ จนกลายเป็นต้นแบบและสร้างแรงบันดาลใจแก่พระนักเผยแผ่ได้เป็นอย่างดี และท่านยังมีผลงานเชิงประจักษ์ เช่น หนังสือ คำบรรยายธรรม แผ่นซีดี และอื่นๆ เป็นจำนวนมาก หากนำประจักษ์นิยมไปวิเคราะห์การเผยแผ่ธรรมะของหลวงพ่อปัญญานันทภิกษุ จะเห็นว่า หลักการ วิธีการและแนวทางการเผยแผ่ธรรมะของท่านล้วนเกิดจากประสบการณ์ที่ท่านเดินทางไปจำพรรษาในภูมิภาคต่างๆ มีจังหวัดเชียงใหม่เป็นต้น ซึ่งทำให้ท่านกล้าเปลี่ยนการนั่งบนธรรมาสน์มาเป็นยืนบรรยายธรรมะบนโพเดียมต่อหน้าชาวพุทธ วิธีการเผยแผ่ธรรมะดังกล่าวจะตรงกับประจักษ์นิยม ที่เชื่อว่าประสบการณ์เป็นที่มาของความรู้ที่แท้จริงและถูกต้อง ซึ่งเกิดได้จากการรับรู้ได้ทางประสาทสัมผัส โดยเฉพาะความรู้ความเข้าใจในการกระทำต่อสิ่งต่างๆ กล้าคิด กล้าทำและกล้าเปลี่ยนแปลงวิธีการเผยแผ่ธรรมะ ล้วนเกิดจากประสบการณ์ตรงเชิงประจักษ์ตลอดชีวิตแห่งสมณเพศของท่าน
The objectives of this thesis were: 1) to study the Dharma Propagation in the Buddhist era and present time 2) to study the life and Dharma propagation performance of Phra Brahma Mangkalajarn (Panya Nanthaphikkhu) and 3) to analyze the Dharma propagation performance of Phra Brahma Mangkalajarn(Panya Nanthaphikkhu) based on Empiricism in Epistemology. This research was a qualitative research based on Buddhist scriptures, academic papers and related research using data analysis, the research results were then presented using a descriptive analysis method. The results of this research found that The Dharma propagation in the Buddhist era was mainly based on the method of "mukhapatha", focusing on propagating it for the benefit (hita), for happiness (sukha) and humanity assistance (Lokanukampai) because human beings were still born in samsara. Phra Brahma Mangkalajarn, or commony known better as Luang Phor Panyananthaphikku, a monk in Theravada Buddhism, the pioneer of the Dharma learning source, named Suan Mokkh as a place to learn Dharma from the main scriptures, the Tripitaka, study Dharma from nature. He was known as a monk who reformed the way of propagating Buddhism of Thai monks. Particularly, he had outstanding in Dhamma lecture and Dhamma sermon in public with dignity until becoming a model and inspiring the missionaries as well, altogether with a large number of empirical works such as books, lectures, CDs., and others. Provided that applying empiricism to analyze Dharma propagation of Luang Phor Panyananthaphikku, you could find that his principles, all methods and guidelines of the Dharma propagating obtained from his experiences on travelling to stay in Buddhist temple in other regions such as Chiang Mai province, which altering from sitting on the pulpit to standing for preaching on the podium in front of the Buddhists. The method of Dharma propagating was consistent with empiricism which believed that experience was the source of true and correct knowledge, caused by sensory perception, especially the knowledge and understanding of how to act on things, daring to think, act, and change the way of Dharma propagating. All were influenced by Empirical direct experience throughout his life of ascetic.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาในพระไตรปิฎก ๒) เพื่อศึกษาปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในสมัยปัจจุบัน ๓) เพื่อบูรณาการปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า และ ๔) เพื่อนำเสนอรูปแบบปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ แบบวิจัยเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก รวมทั้งเอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ได้ทำการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเจาะจง ซึ่งประกอบด้วยพระธรรมทูตต่างประเทศ ผู้เชี่ยวชาญด้านการศาสนา และเจ้าหน้าที่สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ จำนวน ๑๓ รูป/คน เมื่อได้ข้อมูลแล้วจึงนำมาจัดหมวดหมู่ วิเคราะห์ และสุดท้ายทำการสังเคราะห์เพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่ โดยใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ๑) ปรัชญาพื้นฐานการเผยแผ่พุทธศาสนาในพระไตรปิฎกไม่ว่ายุคใดสมัยใดก็คือ หลักการ ๓ ประการ อุดมการณ์ ๔ ประการ และวิธีการ ๖ ประการ ซึ่งมาจากคำสอนในเรื่องโอวาทปาฏิโมกข์ หากขาดหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการนี้แล้ว การเผยแผ่พุทธศาสนาจะก่อให้เกิดการปัญหา ไม่เป็นไปเพื่อการสิ้นทุกข์ หลักการ ๓ ได้แก่ (๑) การไม่ทำบาปทั้งปวง (๒) การทำกุศลให้ถึงพร้อม (๓) การทำจิตใจให้บริสุทธิ์, อุดมการณ์ ๔ ได้แก่ (๑) อดทน (๒) ไม่เบียดเบียน (๓) ความสงบ (๔) มุ่งนิพพาน, วิธีการ ๖ ได้แก่ (๑) ไม่ว่าร้าย (๒) ไม่ทำร้าย (๓) สำรวมในปาฏิโมกข์ (๔) รู้จักประมาณในการบริโภค (๕) อยู่ในที่สงบ (๖) ชำระจิตให้สงบ ๒) ปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในสมัยปัจจุบัน ได้ศึกษาถึงปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทใน ๕ ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศศรีลังกา จากการศึกษาพบว่า แต่ละประเทศอาศัยบุคคลและองค์กรในการเผยแผ่ บุคคลและองค์กรที่มีบทบาทในการเผยแผ่พุทธศาสนาตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบันนั้น ได้แก่ พระมหากษัตริย์ ราชวงศ์และราชสกุล ขุนนางหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ราชบัณฑิต พระสงฆ์หรือคณะสงฆ์หรือคณะธรรมทูต มหาวิทยาลัยสงฆ์ รัฐบาล วัดหรือศาสนสถาน ปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในงานเผยแผ่ด้วย ๓) บูรณาการปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ (๑) ส่วนองค์กร มีการกำหนดนโยบายทางสังคมและวัฒนธรรม ด้านการศึกษา ด้านพระธรรมทูตและการเผยแผ่ทางออนไลน์ ด้านการปกครองและกฎหมายให้อยู่ในหลักโอวาทปาฏิโมกข์ (๒) ส่วนบุคคล ควรดำเนินงานด้านการเผยแผ่ด้วยหลักโอวาทปาฏิโมกข์ ได้แก่ หลักการ ๓ อุดมการณ์ ๔ และ วิธีการ ๖ ๔) องค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการวิจัยนี้ชื่อว่า PGV Model เป็นรูปแบบปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้าที่มีความทันสมัยและรองรับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นรูปแบบภายใต้หลักคำสอนดั้งเดิมที่พระพุทธเจ้าทรงมุ่งเน้นสำหรับผู้เผยแผ่พุทธศาสนา ได้แก่ คำสอนเรื่องโอวาทปาฏิโมกข์ ประกอบด้วยหลักการ ๓ อุดมการณ์ ๔ และวิธีการ ๖ แม้ว่าจะเป็นคำสอนดั้งเดิมแต่ก็มีความเป็นสัมพัทธ์ที่สามารถปรับประยุกต์ และบูรณาการให้เข้ากับกระแสของยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปตามกฎอนิจจัง ทั้งยังมีความเป็นสากล และมุ่งต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามเป้าหมายในทศวรรษหน้า
ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาในพระไตรปิฎก ๒) เพื่อศึกษาปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในสมัยปัจจุบัน ๓) เพื่อบูรณาการปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า และ ๔) เพื่อนำเสนอรูปแบบปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ แบบวิจัยเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก รวมทั้งเอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ได้ทำการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเจาะจง ซึ่งประกอบด้วยพระธรรมทูตต่างประเทศ ผู้เชี่ยวชาญด้านการศาสนา และเจ้าหน้าที่สำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ จำนวน ๑๓ รูป/คน เมื่อได้ข้อมูลแล้วจึงนำมาจัดหมวดหมู่ วิเคราะห์ และสุดท้ายทำการสังเคราะห์เพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่ โดยใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ๑) ปรัชญาพื้นฐานการเผยแผ่พุทธศาสนาในพระไตรปิฎกไม่ว่ายุคใดสมัยใดก็คือ หลักการ ๓ ประการ อุดมการณ์ ๔ ประการ และวิธีการ ๖ ประการ ซึ่งมาจากคำสอนในเรื่องโอวาทปาฏิโมกข์ หากขาดหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการนี้แล้ว การเผยแผ่พุทธศาสนาจะก่อให้เกิดการปัญหา ไม่เป็นไปเพื่อการสิ้นทุกข์ หลักการ ๓ ได้แก่ (๑) การไม่ทำบาปทั้งปวง (๒) การทำกุศลให้ถึงพร้อม (๓) การทำจิตใจให้บริสุทธิ์, อุดมการณ์ ๔ ได้แก่ (๑) อดทน (๒) ไม่เบียดเบียน (๓) ความสงบ (๔) มุ่งนิพพาน, วิธีการ ๖ ได้แก่ (๑) ไม่ว่าร้าย (๒) ไม่ทำร้าย (๓) สำรวมในปาฏิโมกข์ (๔) รู้จักประมาณในการบริโภค (๕) อยู่ในที่สงบ (๖) ชำระจิตให้สงบ ๒) ปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในสมัยปัจจุบัน ได้ศึกษาถึงปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทใน ๕ ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศศรีลังกา จากการศึกษาพบว่า แต่ละประเทศอาศัยบุคคลและองค์กรในการเผยแผ่ บุคคลและองค์กรที่มีบทบาทในการเผยแผ่พุทธศาสนาตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบันนั้น ได้แก่ พระมหากษัตริย์ ราชวงศ์และราชสกุล ขุนนางหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ราชบัณฑิต พระสงฆ์หรือคณะสงฆ์หรือคณะธรรมทูต มหาวิทยาลัยสงฆ์ รัฐบาล วัดหรือศาสนสถาน ปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในงานเผยแผ่ด้วย ๓) บูรณาการปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้า สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ (๑) ส่วนองค์กร มีการกำหนดนโยบายทางสังคมและวัฒนธรรม ด้านการศึกษา ด้านพระธรรมทูตและการเผยแผ่ทางออนไลน์ ด้านการปกครองและกฎหมายให้อยู่ในหลักโอวาทปาฏิโมกข์ (๒) ส่วนบุคคล ควรดำเนินงานด้านการเผยแผ่ด้วยหลักโอวาทปาฏิโมกข์ ได้แก่ หลักการ ๓ อุดมการณ์ ๔ และ วิธีการ ๖ ๔) องค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการวิจัยนี้ชื่อว่า PGV Model เป็นรูปแบบปรัชญาการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาทในทศวรรษหน้าที่มีความทันสมัยและรองรับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นรูปแบบภายใต้หลักคำสอนดั้งเดิมที่พระพุทธเจ้าทรงมุ่งเน้นสำหรับผู้เผยแผ่พุทธศาสนา ได้แก่ คำสอนเรื่องโอวาทปาฏิโมกข์ ประกอบด้วยหลักการ ๓ อุดมการณ์ ๔ และวิธีการ ๖ แม้ว่าจะเป็นคำสอนดั้งเดิมแต่ก็มีความเป็นสัมพัทธ์ที่สามารถปรับประยุกต์ และบูรณาการให้เข้ากับกระแสของยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปตามกฎอนิจจัง ทั้งยังมีความเป็นสากล และมุ่งต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามเป้าหมายในทศวรรษหน้า
This dissertation has the following objectives;1) to study the propagation philosophy of Buddhism in the Tipitaka, 2) to study the propagation philosophy of Theravada Buddhism in modern times, 3) to integrate the propagation philosophy of Theravada Buddhism in the next decade, and 4) to present the model of Theravada Buddhist propagation philosophy in the next decade. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, documents, research works, and purposive in-depth interviews with 13 key-informants consisting of DhammadutaBhikkhus from foreign countries, Buddhism's experts, and officers of the National Office of Buddhism. The data were analyzed,categorized, synthesized, and presented in adescriptive method. The results of the research showed that; 1) The basic philosophy of Buddhist propagation in the Tipitaka is the 3 principles, the 4 ideologies and the 6 methods which are derived from the Principal Teaching. Without these principles, ideologies, and methods, Buddhist propagation will cause problems and not lead to the end of suffering. The 3 principles are: (1) Not to do any evils, (2) To do good, and (3) To purify the mind. The 4 ideologies are; (1) Patience, (2) Non-violence, (3) Peace, (4) Nibbana orientation, The 6 methods include; (1) not do evil in word, (2) not do evil in body, (3) restraint with regard to the monastic disciplinary code, (4) moderation in eating, (5) residing in a peaceful place, and (6) purifying the mind. 2) The propagation philosophy of Theravada Buddhism in modern timewas studied from the propagation philosophy of Theravada Buddhism in 5 countries; Thailand, Cambodia, Myanmar, Laos, and Sri Lanka. The study found that every country relied on individuals and organizations to propagate Buddhism.From the past to the present,monarchs, royal relatives, nobles, government officials, academics, monks, DhammadutaBhikkhus, Buddhist Universities, government, temples, and religious places had an important role in propagating Buddhism. Nowadays, digital technology is also used in Buddhist propagation. 3) Integrating Theravada Buddhist propagation philosophy in the next decade can be divided into 2 parts; (1) Organization, there should be social, cultural, educational, Dhammaduta monks, online propagation, administrative, and legal policies in line with Ovadapapatimokkha principles, and (2) Individual, the propagation should be based on the 3 principles, the 4 ideologies, and the 6 methods. 4) The new body of knowledge obtained from this research is called the PGV Model.It is a form of the propagation philosophy of Theravada Buddhism in the next decade, derived from the Principal Teaching which consists of 3 principles, 4 ideologies, and 6methods. Even it is the original teaching for Buddhist propagation, but it can be applied and integrated with the changing society because it is universal and life-quality oriented development.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 ทำเนียบพระธรรมทูต รุ่นที่ 24/2561
  • ส่วนที่ 2 สาระธรรม
  • ส่วนที่ 3 ระเบียบสำนักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ (ธรรมยุต) และทำเนียบวัดคณะสงฆ์ะรรมยุตไทยในต่างประเทศ
  • ส่วนที่ 4 ประมวลภาพกิจกรรมพิเศษ
  • ส่วนที่ 5 กิจกรรมการงฝึกอบรมพระธรรมทูต รุ่นที่ 24/2561
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 ทำเนียบพระธรรมทูต รุ่นที่ 25/2562
  • ส่วนที่ 2 สาระธรรม
  • ส่วนที่ 3 ระเบียบสำนักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ (ธรรมยุต)
  • ส่วนที่ 4 กิจกรรมการฝึกอบรมพระธรรมทูต รุ่นที่ 25/2562
  • ส่วนที่ 5 อนุโมทนา
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 ทำเนียบพระธรรมทูตรุ่นที่ 16
  • ส่วนที่ 2 ธรรมะ และนานาสาระ
  • ส่วนที่ 3 กิจกรรม
  • ส่วนที่ 4 ข้อระเบียบต่างๆ เกี่ยวกับพระธรรมทูตและข้อมูลวัดไทยในต่างประเทศ
  • ส่วนที่ 5 อนุโมทนา
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 ทำเนียบพระธรรมทูต รุ่นที่ 26/2563
  • ส่วนที่ 2 สาระธรรม
  • ส่วนที่ 3 ระเบียบสำนักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ (ธรรมยุต)
  • ส่วนที่ 4 กิจกรรมการฝึกอบรมพระธรรมทูต รุ่นที่ 26/2563
  • ส่วนที่ 5 อนุโมทนา
หนังสือ

    ฉบับอัดสําเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2544
ฉบับอัดสําเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2544
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 แผ่นดินและประชากร
  • บทที่ 2 กำเนิดหงสาวดี พ.ศ.1116
  • บทที่ 3 พุทธศาสนาสมัยราชวงศ์ตองอู (พ.ศ. 2029-2295)
  • บทที่ 4 พุทธศาสนาสมัยราชวงศ์คองบอง (อลองพญา) พ.ศ. 2275-2428)
  • บทที่ 5 พุทธศาสนายุคอังกฤษปกครอง พ.ศ. 2429-2491
  • บทที่ 6 พุทธศาสนายุคเอกราช พงศ. 2491-2564
  • บทที่ 7 พุทธศาสนายุคปัจจุบัน
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาบทบาทด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา 2) เพื่อศึกษาชีวประวัติและบทบาทด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสาน สุเจีย (วชิรปญฺโ) และ 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าบทบาทด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสาน สุเจีย (วชิรปญฺโ) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. บทบาทด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประกอบด้วย หลักการในการเผยแผ่ ลีลาการ เผยแผ่ พุทธวิธีในการเผยแผ่ เทคนิควิธีในการถ่ายทอดความรู้ และเทคนิคการเผยแผ่โดยวิธีเทศนา 2. พระสาน สุเจีย (วชิรปญฺโ) เป็นพระเถระของกัมพูชาซึ่งได้ถือกำเนิดใน ตำบลโคกโพธ์ อำเภอบุรีชลศา จังหวัดตาแก้ว ท่านมีรูปแบบ ลักษณะเด่น คุณสมบัติ เทคนิค ลีลาการเผยแผ่ หลักการในการเผยแผ่ กระบวนการในการสร้างนักเผยแผ่พระพุทธศาสนารุ่นใหม่ และช่องทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา สื่อที่ท่านใช้คือสื่อสมัยใหม่ที่แตกต่างจากพระนักเทศน์ทั่วไป ท่านได้สร้างผลงานทั้งด้านการเขียนหนังสือ ด้านการเทศน์ และสร้างนักเทศน์ ได้ทำการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยมีวัตถุประสงค์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาคือ ท่านต้องการให้ธรรมะเข้าถึงคนรุ่นใหม่มากขึ้น สอนให้คนในสังคมรู้จักการตอบแทนบุญคุณของพ่อ แม่ ตลอดจนกระทั่งถึงการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาที่ประเทศกัมพูชาให้เจริญรุ่งเรืองมากขึ้นเนื่องจากการถูกทำลายโดยระบบเขมรแดง 3. ผลการวิเคราะห์คุณค่าบทบาทด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสาน สุเจีย (วชิรปญฺโ) คือ มีคุณค่าด้านความเป็นผู้นำ คุณค่าด้านการสร้างสมานฉันท์ คุณค่าด้านการรักษาพุทธพจน์ คุณค่าด้านธรรมประยุกต์ และคุณค่าด้านการปลูกฝังคุณธรรม ซึ่งเป็นคุณค่าที่สามารถทำให้ประชาชน คนวัยหนุ่มสาวเข้าใจหลักธรรมอันแท้จริงของพระพุทธเจ้า และสามารถนำเอาหลักธรรมนั้นประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาบทบาทด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา 2) เพื่อศึกษาชีวประวัติและบทบาทด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสาน สุเจีย (วชิรปญฺโ) และ 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าบทบาทด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสาน สุเจีย (วชิรปญฺโ) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. บทบาทด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประกอบด้วย หลักการในการเผยแผ่ ลีลาการ เผยแผ่ พุทธวิธีในการเผยแผ่ เทคนิควิธีในการถ่ายทอดความรู้ และเทคนิคการเผยแผ่โดยวิธีเทศนา 2. พระสาน สุเจีย (วชิรปญฺโ) เป็นพระเถระของกัมพูชาซึ่งได้ถือกำเนิดใน ตำบลโคกโพธ์ อำเภอบุรีชลศา จังหวัดตาแก้ว ท่านมีรูปแบบ ลักษณะเด่น คุณสมบัติ เทคนิค ลีลาการเผยแผ่ หลักการในการเผยแผ่ กระบวนการในการสร้างนักเผยแผ่พระพุทธศาสนารุ่นใหม่ และช่องทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา สื่อที่ท่านใช้คือสื่อสมัยใหม่ที่แตกต่างจากพระนักเทศน์ทั่วไป ท่านได้สร้างผลงานทั้งด้านการเขียนหนังสือ ด้านการเทศน์ และสร้างนักเทศน์ ได้ทำการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยมีวัตถุประสงค์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาคือ ท่านต้องการให้ธรรมะเข้าถึงคนรุ่นใหม่มากขึ้น สอนให้คนในสังคมรู้จักการตอบแทนบุญคุณของพ่อ แม่ ตลอดจนกระทั่งถึงการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาที่ประเทศกัมพูชาให้เจริญรุ่งเรืองมากขึ้นเนื่องจากการถูกทำลายโดยระบบเขมรแดง 3. ผลการวิเคราะห์คุณค่าบทบาทด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสาน สุเจีย (วชิรปญฺโ) คือ มีคุณค่าด้านความเป็นผู้นำ คุณค่าด้านการสร้างสมานฉันท์ คุณค่าด้านการรักษาพุทธพจน์ คุณค่าด้านธรรมประยุกต์ และคุณค่าด้านการปลูกฝังคุณธรรม ซึ่งเป็นคุณค่าที่สามารถทำให้ประชาชน คนวัยหนุ่มสาวเข้าใจหลักธรรมอันแท้จริงของพระพุทธเจ้า และสามารถนำเอาหลักธรรมนั้นประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
The objectives of this thesis ware as follows 1) to study the role of the Buddhist Propagation, 2) to study the bio-history and the role of the Buddhist propagation of Phra San Sochea (Vachirapañño), and 3) to analyze the value of the role of the Buddhist Propagation of Phra San Sochea (Vachirapañño). The sample groups were the Tipitaka Commentaries. Texts and relevant researches. The thesis was the documentary qualitative research works. All the data, collected during January-September 2017, were then analyzed by content analysis and analytic induction. The results of research are found as follows: 1. The roles of the Buddhist Propagation are composed of the principles of the propagation, the styles of the propagation, the Buddhist Methods of the propagation, the teaching methods and techniques of the knowledge and the propagation techniques by teaching method. 2. Phra San Sochea (Vachirapañño), the senior Cambodian Buddhist Monk was born in Tambon Cokpho, Burichonsa District, Takaew Province. He has been teaching his Buddhist followers with the outstanding characteristics including a new model of the propagations, a wide varieties of teaching styles and a lot of interesting techniques creating not only the high volume of the new young Cambodian Buddhist followers but also being the new model leaders for training the Cambodian Buddhist young blood monk propagators. He is an expert in using the new information technology medias such as line and facebook for supporting his teaching operation together with writing the articles and books with the objectives to teach the young Cambodian people for understanding the Buddhist doctrines to respect and properly practices return to their parents and also rehabilitation of Buddhism in Cambodia after destruction by Khmer Rouge. 3. The results of the analysis of the values of the role of the propagation of Phra San Sochea (Vachirapañño) consists of the value of the leadership, the value of the unity, the value of the restoration of the Buddhist Speech, the value of the application of Dhamma and the value of the establishment of the virtue (moral principle). These values are used for the understanding of the young Cambodian people in the real Buddha Doctrines leading to the right practices for their better way of life.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods) ทั้งเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความคาดหวังต่อนโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบเกี่ยวกับความคาดหวังต่อนโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ที่มีเพศ อายุ การศึกษา ที่อยู่อาศัย และรายได้ต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนานโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาในเขตอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี จากจำนวนโรงเรียนที่มีนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาทั้ง 11 โรงเรียน ได้จำนวนประชากรทั้งหมด 4,698 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของ “ทาโร ยามาเน่” (Taro Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติการทดสอบ ได้แก่ การทดสอบค่า t – test (Independent Deviation) เพื่อทดสอบความแตกต่างของตัวแปรอิสระที่มีจำนวนสองกลุ่ม โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ส่วนในการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก (In – depth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informant) เลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง (Purposive Selection) จำนวน 6 คน ได้แก่ ตัวแทนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง (Semi – structure Interview) และโทรศัพท์มือถือ (mobile phone) เพื่อใช้บันทึกภาพ และเสียงระหว่างสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคาดหวังต่อนโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทั้งห้าด้าน 2) ผลการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย พบว่า ประชาชนที่มีเพศ ต่างกัน มีความคาดหวังต่อนโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอ ศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐาน ส่วนประชาชนที่มีอายุ การศึกษา ที่อยู่อาศัย และรายได้ ต่างกัน มีความคาดหวังต่อนโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี โดยรวม ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมุติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ และ 3) ข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ (1) ด้านคุณสมบัติของผู้สอน ปัญหา : พระสอนศีลธรรมพูดตรงเกินไปเวลาสอน ไม่ค่อยระมัดระวังคำพูด แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ขาดวุฒิภาวะในการควบคุมอารมณ์ของตนเอง และมักแอบสูบบุหรี่ในสถานศึกษา ข้อเสนอแนะ : ควรประพฤติตัวเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เยาวชน และไม่ยุ่งเกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติดให้โทษทุกชนิด (2) ด้านความสามารถในการเผยแผ่ ปัญหา : พระสอนศีลธรรมไม่สามารถกำหนดโครงสร้างหลักสูตรได้ตามเป้าประสงค์ที่จะให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้
วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods) ทั้งเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความคาดหวังต่อนโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบเกี่ยวกับความคาดหวังต่อนโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ที่มีเพศ อายุ การศึกษา ที่อยู่อาศัย และรายได้ต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนานโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาในเขตอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี จากจำนวนโรงเรียนที่มีนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาทั้ง 11 โรงเรียน ได้จำนวนประชากรทั้งหมด 4,698 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของ “ทาโร ยามาเน่” (Taro Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติการทดสอบ ได้แก่ การทดสอบค่า t – test (Independent Deviation) เพื่อทดสอบความแตกต่างของตัวแปรอิสระที่มีจำนวนสองกลุ่ม โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ส่วนในการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก (In – depth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informant) เลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง (Purposive Selection) จำนวน 6 คน ได้แก่ ตัวแทนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง (Semi – structure Interview) และโทรศัพท์มือถือ (mobile phone) เพื่อใช้บันทึกภาพ และเสียงระหว่างสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคาดหวังต่อนโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทั้งห้าด้าน 2) ผลการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย พบว่า ประชาชนที่มีเพศ ต่างกัน มีความคาดหวังต่อนโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอ ศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐาน ส่วนประชาชนที่มีอายุ การศึกษา ที่อยู่อาศัย และรายได้ ต่างกัน มีความคาดหวังต่อนโยบายของรัฐในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี โดยรวม ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมุติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ และ 3) ข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ (1) ด้านคุณสมบัติของผู้สอน ปัญหา : พระสอนศีลธรรมพูดตรงเกินไปเวลาสอน ไม่ค่อยระมัดระวังคำพูด แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ขาดวุฒิภาวะในการควบคุมอารมณ์ของตนเอง และมักแอบสูบบุหรี่ในสถานศึกษา ข้อเสนอแนะ : ควรประพฤติตัวเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เยาวชน และไม่ยุ่งเกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติดให้โทษทุกชนิด (2) ด้านความสามารถในการเผยแผ่ ปัญหา : พระสอนศีลธรรมไม่สามารถกำหนดโครงสร้างหลักสูตรได้ตามเป้าประสงค์ที่จะให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้
ยังใช้หลักสูตรของเดิมที่ไม่มีการพัฒนาให้เข้ากับสมัยปัจจุบัน ข้อเสนอแนะ : ควรพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนการสอนตามโครงสร้างหลักสูตรที่มีการปรับปรุงให้ทันสมัยเข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน (3) ด้านวัสดุอุปกรณ์ในการเผยแผ่ ปัญหา : พระสอนศีลธรรมยังขาดความรู้ ความสามารถในการใช้สื่อเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการสอน หรือใช้เป็นอุปกรณ์เสริมสำหรับการอธิบายเนื้อหาวิชาที่สอน ข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษา และทำความเข้าใจในการนำเทคโนโลยีมาใช้เป็นอุปกรณ์เสริมสำหรับการอธิบายเนื้อหาวิชาที่สอน (4) ด้านทุนทรัพย์ในการเผยแผ่ ปัญหา : พระสอนศีลธรรมต้องทำรายงานการสอนในแต่ละเดือนจึงจะได้รับการสนับสนุนจากรัฐ ซึ่งบางครั้งต้องรอการอนุมัติเป็นรอบไตรมาส หรือเป็นรอบปีการศึกษา ซึ่งทำให้ไม่มีทุนทรัพย์ที่จะใช้ในการผลิตสื่อการสอนในระหว่างปีการศึกษา ข้อเสนอแนะ : สถาบันการศึกษาควรให้การสนับสนุนทุนทรัพย์บางส่วนเพื่อใช้ในการผลิตสื่ออุปกรณ์การสอนสำหรับเสริมทักษะการเรียนรู้ในแต่ละภาคการศึกษาของผู้เรียน และ (5) ด้านประโยชน์ที่ได้รับในการเผยแผ่ ปัญหา : พระสอนศีลธรรมขาดทักษะในการถ่ายทอดความรู้ และไม่มีเทคนิคการสอนแบบหลากหลาย เนื้อหาในการเรียนมีมากไม่สอดคล้องกับเวลาที่ใช้ทำการเรียนการสอน ข้อเสนอแนะ : ควรเน้นการเรียนรู้ควบคู่กับการนำพาผู้เรียนปฏิบัติจริง เพื่อช่วยทำให้ผู้เรียนเกิดสติ รู้จักควบคุมอารมณ์ และจิตใจของตนเองในการดำเนินชีวิตประจำวัน
The objectives of this mixed method thesis are as follows: 1) to study the expectations of the state policy in Buddhist propagation among secondary school students in Si Maha Phot district of Prachinburi province, 2) to compare the expectations of the state policy of Buddhist propagation of secondary school students in Si Maha Phot district of Prachinburi province with different genders, ages, education level, residences and incomes, and 3) to suggest the development of state policies for Buddhist propagation in Si Maha Phot District of Prachinburi Province. The population and samples used in the research were secondary school students in 11 secondary schools in Si Maha Phot district of Prachinburi province. The total populations were 4,698, and the sample size obtained by using the formula of "Taro Yamane" was 400 people. The research instrument is a five – level estimation scale query. The total reliability value is 0.94. The statistics used in the data analysis are frequency, percentage, mean, and standard deviation, and test statistics, namely independent deviation, to test the differences of two groups of independent variables using a ready – made program. The qualitative data were collected by in – depth interviews with 6 key – Informants, selected by a purposive selection, including representatives of secondary school students in Si Maha Phot district, Prachinburi province. The instruments used in the interview were semi – structured interviews and mobile phones to record images and sounds during interviews. The results showed that: 1) expectations for the state policy of Buddhist propagation in Si Maha phot high schools in Prachinburi province were at a high level overall and in aspects. 2) The results of the hypothetical research test showed that people of different genders had different expectations for the state policy of Buddhist propagation in Si Maha Phot high schools of Prachinburi province with statistically significant figure at the 0.05 level, which was intertwined with the hypothesis. People of different ages, education levels, residences and incomes had expectations for the state policy of Buddhist propagation in Si Maha Phot high schools in Prachinburi province as a whole indifferently, which was irrelevant to the hypothesis. 3) The recommendations for development that obtained from the study include: (1) In qualifications of instructors, the problems are teacher – monks speak too direct when teaching, rarely careful with words, express aggressive behavior, lack of maturity to control their emotions, and often smoke in schools. The suggestion is to behave as a role model for youths and not being involved in any kind of addiction. (2) In missionary Ability, the problems are teacher – monks cannot define the curriculum structure in accordance with the goal of student – center – learning, and they use the curriculum that has not been developed to match the modern day. The suggestion is that the teaching process should be developed according to the curriculum structure that has been modernized to the current situation. (3) In the field of propagation materials, the problems are teacher – monks lack knowledge, and ability to apply technological media used in teaching or as an accessory for describing the contents of the subjects taught. The suggestion is that they should be educated and trained in the use of technology as an accessory for describing the subject contents taught. (4) Missionary Funding, the problems are teacher – monks must report their teaching loads each month to receive state support, which sometimes requires approval around quarters or around the academic year, and it causes the shortage of funding to be used to produce teaching materials during the academic year. (5) Benefits of missionary, the problems are teacher – monks lack knowledge transfer skills and do not have a wide range of teaching techniques. The contents of the study are very inconsistent with the time it takes to do the instruction. The suggestion is to focus on learning along with practicality of the learners to help make sure that the learners are conscious and to control their emotions and mind in their daily lives.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักการเผยแผ่ธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษารูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ และ 3) ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ เอกสารที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปนิรนัย ผลการวิจัยพบว่า : หลักการเผยแผ่ธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท ประกอบด้วยหลักการ 3 คือ ละชั่ว ทำดี ทำให้ใจให้ผ่องใส อุดมการณ์ 4 คือ อดทนอดกลั้น ไม่เบียดเบียน สงบสันติ และนิพพาน วิธีการ 6 คือ ไม่กล่าวร้าย ไม่ทำร้าย สำรวมระวังในศีล รู้ประมาณในการบริโภคอาหาร อยู่ในสถานที่อันสงบ และชำระจิตให้มีคุณภาพ หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 วิธีการ 6 นี้ เป็นสาระสำคัญอันยิ่งยวดของหลักการเผยแผ่พุทธศาสนา เพราะเป็นหลักการที่ปรากฏชัดเจนในพระไตรปิฎกซึ่งถือเป็นท่าทีอันเป็นรูปแบบของการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาท หลักการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ ใช้หลักกถาวัตถุ 10 คือ เป็นผู้มักน้อย มีปกติสันโดษ ชอบสถานที่สงัดวิเวก ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ ปรารภความเพียร สมบูรณ์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ ทั้ง 10 นี้ เป็นหลักคำสอนและหลักปฏิบัติของพระปุณณมันตานีบุตรที่สอนศิษย์ในสำนัก 500 รูป เป็นรูปแบบการสอนที่ให้ศิษย์ในสำนึกถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ด้วยหลักการสอนอย่างไรปฏิบัติอย่างนั้น ปฏิบัติอย่างไรก็สอนอย่างนั้น เป็นความสมบูรณ์พร้อมแห่งความรู้และความประพฤติที่เรียกว่า วิชชาจรณสัมปันโน รูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณะมันตานีบุตรเถระ คือ เป็นผู้มีปัญญาแตกฉานในอรรถภาพ สารัตถภาพ นิรุตติภาพ ปฏิภาณภาพ ด้วยวิธีการอธิบายให้เห็นชัดเจน จูงใจให้เห็นจริง ชวนให้ยอมรับและปฏิบัติ เร้าใจให้แกล้วกล้าอุตสาหะ ชโลมใจให้แช่มชื่นไม่เบื่อและเปี่ยมด้วยความหวัง ด้วยรูปแบบ การแสดงธรรม (ธรรมเทศนา) ด้วยการถามตอบปัญหา (ธัมมฉากัจฉา) ด้วยการอบรมสั่งสอน (โอวาท) ด้วยการกล่าวคาถา (คาถา)
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักการเผยแผ่ธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษารูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ และ 3) ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ เอกสารที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปนิรนัย ผลการวิจัยพบว่า : หลักการเผยแผ่ธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท ประกอบด้วยหลักการ 3 คือ ละชั่ว ทำดี ทำให้ใจให้ผ่องใส อุดมการณ์ 4 คือ อดทนอดกลั้น ไม่เบียดเบียน สงบสันติ และนิพพาน วิธีการ 6 คือ ไม่กล่าวร้าย ไม่ทำร้าย สำรวมระวังในศีล รู้ประมาณในการบริโภคอาหาร อยู่ในสถานที่อันสงบ และชำระจิตให้มีคุณภาพ หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 วิธีการ 6 นี้ เป็นสาระสำคัญอันยิ่งยวดของหลักการเผยแผ่พุทธศาสนา เพราะเป็นหลักการที่ปรากฏชัดเจนในพระไตรปิฎกซึ่งถือเป็นท่าทีอันเป็นรูปแบบของการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาท หลักการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ ใช้หลักกถาวัตถุ 10 คือ เป็นผู้มักน้อย มีปกติสันโดษ ชอบสถานที่สงัดวิเวก ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ ปรารภความเพียร สมบูรณ์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ ทั้ง 10 นี้ เป็นหลักคำสอนและหลักปฏิบัติของพระปุณณมันตานีบุตรที่สอนศิษย์ในสำนัก 500 รูป เป็นรูปแบบการสอนที่ให้ศิษย์ในสำนึกถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ด้วยหลักการสอนอย่างไรปฏิบัติอย่างนั้น ปฏิบัติอย่างไรก็สอนอย่างนั้น เป็นความสมบูรณ์พร้อมแห่งความรู้และความประพฤติที่เรียกว่า วิชชาจรณสัมปันโน รูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณะมันตานีบุตรเถระ คือ เป็นผู้มีปัญญาแตกฉานในอรรถภาพ สารัตถภาพ นิรุตติภาพ ปฏิภาณภาพ ด้วยวิธีการอธิบายให้เห็นชัดเจน จูงใจให้เห็นจริง ชวนให้ยอมรับและปฏิบัติ เร้าใจให้แกล้วกล้าอุตสาหะ ชโลมใจให้แช่มชื่นไม่เบื่อและเปี่ยมด้วยความหวัง ด้วยรูปแบบ การแสดงธรรม (ธรรมเทศนา) ด้วยการถามตอบปัญหา (ธัมมฉากัจฉา) ด้วยการอบรมสั่งสอน (โอวาท) ด้วยการกล่าวคาถา (คาถา)
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the principles of Dharma propagation of Theravada Buddhism 2) to study the propagation of Dharma of Phra Punnamantaniputta Thera and 3) Study and analyze the propagation of the Dharma of Phra Punnamantaniputta Thera. The researcher collected and studied from Tripitaka, commentary, textbooks and related researches, and analyzed the contents by the Deductive form. The results of research were found that: Principles of Dharma propagation of Theravada Buddhism consisting of Principle 3 is Evil, Do Good, Make your heart shine. Ideology 4 is tolerance, tolerance, non-persecution, peace and nirvana Method 6 is not to say badly, not to hurt, to be careful in the precepts. Know about food consumption in a peaceful place and pay attention to quality. Principle 3, ideology 4, method 6, this is a great essence of Buddhism propagation principles because it is the principle that appears clearly in the Tripitaka, which is considered as a form of propagation of Theravada Buddhism. Principles of Dharma propagation of Phra Punnamantaniputta Use the principle of the 10 objects, which are usually small, normal, solitary, like being quiet, not being confused with the group. Foreword, perseverance, complete with canon, meditation, wit, liberation, liberation perception, Tuscany these 10 teachings and practices How to teach How to teach it. All 10 of these are the doctrines and practices of Phra Punnamantaniputta. Who teaches 500 disciple. Is a form of teaching that gives disciples in a strict sense of practice with the principle of teaching how to do that How to teach it Is the perfection of knowledge and behavior called The propagation of Dharma of Phra Punnamantaniputta is a master of wisdom. On the issue, In essence, In language, In wisdom With clear explanations Convince the truth Persuade to accept and practice Inspiring to be brave Feeling cheerful, not bored and full of hope. With a form of Dhamma (sermon) with questions and answers (Dhamma conversation) with training (obedience) with a spells (spells)
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--บัณฑิตวิทยาลัย สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย, 2537
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--บัณฑิตวิทยาลัย สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย, 2537
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาวิเคราะห์พุทธกิจในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถี มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาพุทธกิจ 5 ประการ 2) เพื่อศึกษาพุทธกิจในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถี 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์พุทธกิจในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถี วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร โดยศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา เอกสารที่เป็นตำรา บทความเชิงวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำมาวิเคราะห์แล้วสรุปผลวิจัยนำเสนอตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) พระพุทธเจ้าทรงประสบผลสำเร็จอย่างสูงในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยการวางรากฐานในการเผยแผ่โดยการบำเพ็ญพุทธกิจประจำวัน 5 ประการในทุก ๆ วัน เพราะทรงมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนในการเผยแผ่พระศาสนา มีการวางแผนงานอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ เช่น การบริหารจัดการในด้านเวลา บุคลากร และองค์กรซึ่งทรงบำเพ็ญควบคู่กันไป พระพุทธองค์ทรงบริหารจัดการได้อย่างสอดประสานเป็นหนึ่งเดียวกับพุทธกิจประจำวันทั้ง 5 ประการ จึงกล่าวได้ว่า พระพุทธศาสนาเป็นที่รู้จักและแผ่ขยายออกไปในแคว้นต่าง ๆ ของอินเดียได้นั้น เพราะเป็นผลสำเร็จที่เกิดจากการบำเพ็ญพุทธกิจประจำวันที่มีประสิทธิภาพนี้เอง 2) พระพุทธเจ้าทรงเป็นบรมครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พุทธกิจการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าทั้ง 5 ประการนั้น เป็นแบบอย่างที่ทรงคุณค่า ซึ่งเราสามารถนำเอารูปแบบ วิธีการ หลักธรรม มาใช้เป็นหลักควบคู่กันไปได้อย่างกลมกลืนในการดำเนินชีวิตประจำวัน และในการดำเนินงานในองค์กรต่าง ๆ ซึ่งจะส่งผลให้ประสิทธิภาพของการทำงานและการดำเนินชีวิตมีความราบรื่น มีระเบียบวินัย สามารถพัฒนาจิตใจและแก้ปัญหาได้ด้วยสันติวิธี 3) พุทธกิจในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถีนั้น กล่าวได้ว่า ประสบความสำเร็จอย่างยิ่ง อันเป็นผลมาจากการทรงงานในหลาย ๆ ด้าน เช่น การเผยแผ่ การบริหารและการกำกับดูแลคณะสงฆ์ ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงบริหารจัดการด้านเวลาได้อย่างลงตัว โดยทรงบำเพ็ญพุทธกิจประจำวันเป็นงานหลัก และทรงงานด้านต่าง ๆ ควบคู่กันไป กล่าวคือ ทรงบริหารจัดการงานหลักและงานรองได้อย่างสอดประสานกันลงตัว ทำให้การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีพุทธบริษัท 4 บรรลุธรรมมากมาย จึงได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งพระอรหันต์ และสาวัตถีเป็นเมืองศูนย์กลางของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น
วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาวิเคราะห์พุทธกิจในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถี มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาพุทธกิจ 5 ประการ 2) เพื่อศึกษาพุทธกิจในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถี 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์พุทธกิจในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถี วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร โดยศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา เอกสารที่เป็นตำรา บทความเชิงวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำมาวิเคราะห์แล้วสรุปผลวิจัยนำเสนอตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) พระพุทธเจ้าทรงประสบผลสำเร็จอย่างสูงในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยการวางรากฐานในการเผยแผ่โดยการบำเพ็ญพุทธกิจประจำวัน 5 ประการในทุก ๆ วัน เพราะทรงมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนในการเผยแผ่พระศาสนา มีการวางแผนงานอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ เช่น การบริหารจัดการในด้านเวลา บุคลากร และองค์กรซึ่งทรงบำเพ็ญควบคู่กันไป พระพุทธองค์ทรงบริหารจัดการได้อย่างสอดประสานเป็นหนึ่งเดียวกับพุทธกิจประจำวันทั้ง 5 ประการ จึงกล่าวได้ว่า พระพุทธศาสนาเป็นที่รู้จักและแผ่ขยายออกไปในแคว้นต่าง ๆ ของอินเดียได้นั้น เพราะเป็นผลสำเร็จที่เกิดจากการบำเพ็ญพุทธกิจประจำวันที่มีประสิทธิภาพนี้เอง 2) พระพุทธเจ้าทรงเป็นบรมครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พุทธกิจการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าทั้ง 5 ประการนั้น เป็นแบบอย่างที่ทรงคุณค่า ซึ่งเราสามารถนำเอารูปแบบ วิธีการ หลักธรรม มาใช้เป็นหลักควบคู่กันไปได้อย่างกลมกลืนในการดำเนินชีวิตประจำวัน และในการดำเนินงานในองค์กรต่าง ๆ ซึ่งจะส่งผลให้ประสิทธิภาพของการทำงานและการดำเนินชีวิตมีความราบรื่น มีระเบียบวินัย สามารถพัฒนาจิตใจและแก้ปัญหาได้ด้วยสันติวิธี 3) พุทธกิจในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถีนั้น กล่าวได้ว่า ประสบความสำเร็จอย่างยิ่ง อันเป็นผลมาจากการทรงงานในหลาย ๆ ด้าน เช่น การเผยแผ่ การบริหารและการกำกับดูแลคณะสงฆ์ ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงบริหารจัดการด้านเวลาได้อย่างลงตัว โดยทรงบำเพ็ญพุทธกิจประจำวันเป็นงานหลัก และทรงงานด้านต่าง ๆ ควบคู่กันไป กล่าวคือ ทรงบริหารจัดการงานหลักและงานรองได้อย่างสอดประสานกันลงตัว ทำให้การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีพุทธบริษัท 4 บรรลุธรรมมากมาย จึงได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งพระอรหันต์ และสาวัตถีเป็นเมืองศูนย์กลางของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น
The thesis entitled “An Analytical Study of the Buddha’s Tasks for Propagating Buddhism in Savatthi" served the purposes: 1) to study the Buddha’s tasks of five duties as a daily routine, 2) to study his tasks for propagating Buddhism in the city called Savatthi, and 3) to analyze values of his tasks for propagating Buddhism in the preceding city. It was derived from the documentary research, collecting data from such secondary sources as the Tipitaka, commentaries, canonical texts, academic articles, and relevant researches. Collected data were brought to analyze and results were subsequently summarized to present findings. Results of research have found the following findings: 1) It was obvious that The Buddha highly succeeded in propagating Buddhism by laying firm foundations for propagating his faith through regular five duties as his daily routines, for he was determined with his clear purposes in propagating it. His tasks were well planned systematically and effectively in various domains like managements of time, personnel and organizations. He concurrently performed his tasks and coped with them harmoniously. That was why Buddhism had become well known and spread to various states of India in those days because it was his great successes of effective managements of his tasks of five daily routines. 2) It was said the Buddha was greatly regarded as monarchs’ and human beings’ great teacher. His tasks of five daily routines for propagating Buddhism was labeled as the priceless model, which we could harmoniously apply the model, methods and rule of his dharma as our refuge to leading our everyday life. To follow the Buddha’s footsteps, it brought about one’s effectiveness of the job and ways of their daily life to be smooth, disciplined, which enabled them to develop their mind and address their problems by peaceful means. 3) As far as the Buddha’s tasks for propagating Buddhism in the city called Savatthi were concerned, he was absolutely successful. It was the result of his duty performances in such many fields as propagation, managements and administration of Sangha Order. In one aspect, the Buddha managed his time excellently by undertaking his daily routines as the main task together with other ones. In other words, the Buddha coped with his main tasks and secondary ones appropriately, culminating in his effective and efficient propagation of Buddhism in the city called Savatthi, As a result, there were a number of four Buddhist adherents attaining arahantship in Savatthai to the extent that it was labelled ‘Savatthi, the City of Arahants’. In fact, it had become the centre of propagating Buddhism in those days.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2542
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2542
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1.) เพื่อศึกษาอุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล 2.) เพื่อศึกษาการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาของอุบาสกอุบาสิกา 3.) เพื่อนำเสนอแนวทางการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในปัจจุบันตามแนวทางอุบาสก อุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำรา เอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนรวม 8 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า : อุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล หมายถึงผู้ที่เข้าถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะสูงสุด เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ศีล จาคะ และปัญญา มีจิตใจแน่วแน่มั่นคงในพระพุทธศาสนา ได้ทำหน้าที่ตามคุณสมบัติของอุบาสกอุบาสิกาได้อย่างสมบูรณ์ยิ่ง จนได้รับเอตทัคคะจากพระพุทธเจ้า เช่น อนาถบิณฑิกเศรษฐี ได้รับยกย่องให้เป็นอุบาสกผู้เป็นเลิศในการเป็นผู้ถวายทาน และนางวิสาขามหาอุบาสิกา ได้รับยกย่องให้เป็นทายิกาในฝ่ายอุบาสิกา เป็นต้น ด้านการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาของอุบาสกอุบาสิกา พบว่า ยังมีการทำหน้าที่ของอุบาสกอุบาสิกาได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาด้านวัตถุจะเป็นผลประจักษ์มากกว่าด้านการศึกษาหลักธรรมและน้อมนำมาประพฤติปฏิบัติในการดำรงชีวิตอย่างจริงจัง ส่วนแนวทางการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในปัจจุบันตามแนวทางอุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาลนั้น พบว่ามี 4 ด้าน คือ 1) ด้านการศึกษาหลักธรรมคำสอน 2) ด้านการปฏิบัติตามหลักคำสอน 3) ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และ 4) ด้านการปกป้องพระพุทธศาสนา
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1.) เพื่อศึกษาอุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล 2.) เพื่อศึกษาการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาของอุบาสกอุบาสิกา 3.) เพื่อนำเสนอแนวทางการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในปัจจุบันตามแนวทางอุบาสก อุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำรา เอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนรวม 8 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า : อุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาล หมายถึงผู้ที่เข้าถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะสูงสุด เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ศีล จาคะ และปัญญา มีจิตใจแน่วแน่มั่นคงในพระพุทธศาสนา ได้ทำหน้าที่ตามคุณสมบัติของอุบาสกอุบาสิกาได้อย่างสมบูรณ์ยิ่ง จนได้รับเอตทัคคะจากพระพุทธเจ้า เช่น อนาถบิณฑิกเศรษฐี ได้รับยกย่องให้เป็นอุบาสกผู้เป็นเลิศในการเป็นผู้ถวายทาน และนางวิสาขามหาอุบาสิกา ได้รับยกย่องให้เป็นทายิกาในฝ่ายอุบาสิกา เป็นต้น ด้านการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาของอุบาสกอุบาสิกา พบว่า ยังมีการทำหน้าที่ของอุบาสกอุบาสิกาได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาด้านวัตถุจะเป็นผลประจักษ์มากกว่าด้านการศึกษาหลักธรรมและน้อมนำมาประพฤติปฏิบัติในการดำรงชีวิตอย่างจริงจัง ส่วนแนวทางการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในปัจจุบันตามแนวทางอุบาสกอุบาสิกาต้นแบบในพุทธกาลนั้น พบว่ามี 4 ด้าน คือ 1) ด้านการศึกษาหลักธรรมคำสอน 2) ด้านการปฏิบัติตามหลักคำสอน 3) ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และ 4) ด้านการปกป้องพระพุทธศาสนา
The objectives of this thesis were: 1) to study laity model in the early Buddhism, 2) to study the Buddhist support of Buddhist laity, and 3) to propose a guideline in Buddhist support based on laity model in the early Buddhism. The data of this qualitative study were collected from the Tipitaka, documents, research works and in-depth interviews with 8 experts. The data were analyzed, synthesized, classified, and presented in a descriptive method. The results of the study found that: The laity model in the early Buddhism means those who had taken the Triple Gems as their refuge. They were accomplished with faiths, precepts, giving and wisdom. They had a firm belief in Buddhism and performed their duty completely and some were praised by the Lord Buddha as the distinguished disciples, such as Anatha Pindika and Visakha in giving alms. In Buddhist support, the prominent support of laity model to Buddhism could be seen in giving objects and buildings to monks rather than studying and practicing Dhamma themselves. The support of Buddhism in present based on the guidelines of laity model in the early Buddhism has 4 aspects; 1) To study the Buddha’s teachings, 2) To practice along the Buddha’s teachings, 3) To propagate Buddhism, and 4) To preserve and protect Buddhism.
หนังสือ

หนังสือ