Search results

187 results in 0.14s

หนังสือ

หนังสือ

    รายงานวิจัยโครงการฝึกอบรมพัฒนานักวิจัยรุ่นที่ 2 มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย 2547
Note: รายงานวิจัยโครงการฝึกอบรมพัฒนานักวิจัยรุ่นที่ 2 มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย 2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ), มหาวิทยาลัยมหิดล
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ), มหาวิทยาลัยมหิดล
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการ ความคิดเห็นของกำลังพล กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด โดยจำแนกตามระดับชั้นยศ และประสบการณ์ทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นกำลังพลกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 150 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ระหว่าง 0.67 - 1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test แบบ Independent และค่า f-test ผลการวิจัยพบว่า : 1. การบริหารจัดการ กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านการบริหารงานการข่าวด้านการบริหารงานธุรการและกำลังพล ด้านการบริหารงานยุทธการ ด้านการบริหารการส่งกำลังบำรุงและการสนับสนุน 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารจัดการของกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด โดยจำแนกตาม ระดับชั้นยศ และประสบการทำงาน โดยรวม พบว่า ระดับชั้นยศนายทหารชั้นประทวน และชั้นยศนายทหารชั้นสัญญาบัตร มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด ที่แตกต่างกัน และประสบการณ์ทำงาน ที่ต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด ที่แตกต่างกัน 3. สรุปผลการศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด 3.1) ด้านการริหารงานธุรการและกำลังพล มีข้อเสนอแนะ ต่อการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด ควรจัดเจ้าหน้าที่ควรติดตามและใส่ใจในเรื่องสิทธิต่าง ๆ ของกำลังพล, ควรปริ้นระเบียบคำสั่งเงินเดือน ระเบียบการเลื่อนยศ ปลด ย้าย ให้แก่กำลังพลเพื่อเป็นแนวทางในการรับราชการ, ควรมีมาตรการรองรับที่เข้มงวดสำหรับกำลังพลที่กระทำความผิด และควรการบริการด้านสิทธิต่าง ๆ ของกำลังพลมีความล้าช้า 3.2) ด้านการบริหารงานการข่าว ควรมีบริการอินเทอร์เน็ตฟรีสำหรับบ้านพักหรือห้องแถวข้าราชการเพื่อให้ไวต่อการติดต่อข่าวสาร และควรอยากให้แจ้งข่าวสารที่สำคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยและกำลังพล อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง 3.3) ด้านการบริหารการส่งกำลังบำรุงและการสนับสนุนมีข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด ควรมีการส่งกำลังบำรุงประเภท สป.1 ให้เพียงพอต่อความต้องการของกำลังพล การเบิกจ่ายสิ่งอุปกรณ์ประเภท สป.ต่าง ๆ ควรทำเรื่องเบิก คืน ส่งซ่อม ตามวงรอบเพื่อให้มียุทโธปกรณ์พร้อมใช้อยู่เสมอ และอยากให้สอบถามกำลังพลว่ากำลังพลว่ามีความต้องการขาดเหลืออะไรแบบไหน อย่างไร 3.4) ด้านการบริหารงานยุทธการ ควรสับเปลี่ยน หมุนเวียน กำลังพล สำหรับการปฏิบัติงานและการเข้ารับการ การจัดกำลังในการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ยังคลุมเครือไม่ชัดเจนในหลาย ๆ ด้าน
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการ ความคิดเห็นของกำลังพล กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด โดยจำแนกตามระดับชั้นยศ และประสบการณ์ทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นกำลังพลกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 150 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ระหว่าง 0.67 - 1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test แบบ Independent และค่า f-test ผลการวิจัยพบว่า : 1. การบริหารจัดการ กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านการบริหารงานการข่าวด้านการบริหารงานธุรการและกำลังพล ด้านการบริหารงานยุทธการ ด้านการบริหารการส่งกำลังบำรุงและการสนับสนุน 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารจัดการของกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด โดยจำแนกตาม ระดับชั้นยศ และประสบการทำงาน โดยรวม พบว่า ระดับชั้นยศนายทหารชั้นประทวน และชั้นยศนายทหารชั้นสัญญาบัตร มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด ที่แตกต่างกัน และประสบการณ์ทำงาน ที่ต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด ที่แตกต่างกัน 3. สรุปผลการศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด 3.1) ด้านการริหารงานธุรการและกำลังพล มีข้อเสนอแนะ ต่อการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด ควรจัดเจ้าหน้าที่ควรติดตามและใส่ใจในเรื่องสิทธิต่าง ๆ ของกำลังพล, ควรปริ้นระเบียบคำสั่งเงินเดือน ระเบียบการเลื่อนยศ ปลด ย้าย ให้แก่กำลังพลเพื่อเป็นแนวทางในการรับราชการ, ควรมีมาตรการรองรับที่เข้มงวดสำหรับกำลังพลที่กระทำความผิด และควรการบริการด้านสิทธิต่าง ๆ ของกำลังพลมีความล้าช้า 3.2) ด้านการบริหารงานการข่าว ควรมีบริการอินเทอร์เน็ตฟรีสำหรับบ้านพักหรือห้องแถวข้าราชการเพื่อให้ไวต่อการติดต่อข่าวสาร และควรอยากให้แจ้งข่าวสารที่สำคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยและกำลังพล อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง 3.3) ด้านการบริหารการส่งกำลังบำรุงและการสนับสนุนมีข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 16 จังหวัดร้อยเอ็ด ควรมีการส่งกำลังบำรุงประเภท สป.1 ให้เพียงพอต่อความต้องการของกำลังพล การเบิกจ่ายสิ่งอุปกรณ์ประเภท สป.ต่าง ๆ ควรทำเรื่องเบิก คืน ส่งซ่อม ตามวงรอบเพื่อให้มียุทโธปกรณ์พร้อมใช้อยู่เสมอ และอยากให้สอบถามกำลังพลว่ากำลังพลว่ามีความต้องการขาดเหลืออะไรแบบไหน อย่างไร 3.4) ด้านการบริหารงานยุทธการ ควรสับเปลี่ยน หมุนเวียน กำลังพล สำหรับการปฏิบัติงานและการเข้ารับการ การจัดกำลังในการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ยังคลุมเครือไม่ชัดเจนในหลาย ๆ ด้าน
The objectives of this thesis were 1) to study the management of the 1st Infantry Battalion, the 16th Infantry Regiment, Roi Et Province 2) to compare the management the opinion on the troops of the 1st Infantry Battalion, the 16th Infantry Regiment, Roi Et Province, classified by rank and work experience 3) to study recommendations for the management of the 1st Infantry Battalion, the 16th Infantry Regiment, Roi Et Province. The sample group in this research was 150 infantries of the Army Battalion the 1st Infantry Battalion the 16th Department of Infantry, Roi Et Province. The research instruments was a 5-level estimation scale questionnaire with Content Validity between 0.67 - 1.00 and confidence (Reliability) equal to 0.91. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, standard deviation, independent t-test, and f-test. The results of the research found that : 1. Management of the 1st Infantry Battalion, the 16th Infantry Regiment, Roi Et Province Overall and each aspect was at a high level. When considering each aspect sorted by average from the highest to the lowest: news management, administrative administration and infantry management, tactical management, maintenance and support management. 2. The results of the opinion comparison towards the management of the 1st Infantry Battalion, the 16th Infantry Regiment, Roi Et Province, classified by ranks and work experience Overall it was found that the opinions on the management of the 1st Infantry Battalion, 16th Infantry Regiment, Roi Et Province between warrant officers and commissioned officers were different, and the different work experience had the opinions on the management of the 1st Infantry Battalion, 16th Infantry Regiment, Roi Et Province which were difference. 3. Summary of the results of the study of the 1st Infantry Battalion, 16th Infantry Regiment, Roi Et Province were 3.1) administrative administration and troop management, there were suggestions for the management of the 1st Infantry Battalion, 16th Infantry Regiment, Roi Et Province: should be organized to monitor and pay attention to the rights of the troop, should print the salary order regulations for promotion, dismissal and transfer to personnel as a guideline for government service, Strict support measures should be in place for the offending personnel, and should be delayed in the service of various rights of the personnel 3.2) News management: should be free internet service for government officials' houses or offices to be sensitive to information, should inform important news related to the unit and infantries. At least once a week 3.3) Maintenance and Support Management: There should have suggestions for the management of the 1st Infantry Battalion, 16th Infantry Regiment, Roi Et Province, should be a maintenance of Power transmission equipment 1 enough for the needs of infantries, disbursement of other Power transmission equipment, should be made withdrawing, returning, sending for repairs according to the cycle so that equipment was always ready for use 3.4) Tactical management: should be shuffled, rotated infantries for works and admission, forces organization in various missions is still unclear in many aspects.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, รายงานการวิจัย โครงการฝึกอบรมพัฒนานักวิจัย รุ่นที่ 2 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาญสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปี 2517
ฉบับอัดสำเนา, รายงานการวิจัย โครงการฝึกอบรมพัฒนานักวิจัย รุ่นที่ 2 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาญสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปี 2517
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ปัญหาด้านบุคลากรของบริษัท Accenture
  • การยื่นคำร้องขอคุ้มครองการล้มละลายของบริษัท Eastman Kodak
  • Dan J. Sanders กับการบริหารงานที่ United Supermarkets
  • วิกฤติของโรงพยาบาล St. Luke's
  • รูปปั้นกรีกโบราณที่ J. Paul Getty Museum
  • กลยุทธ์ของ Starbucks Coffee
  • ทักษะการบริหารงานของแม็กกี้
  • วิกฤตการณ์เรียกรถคือของ Toyata
  • Southwest Airline ภายใต้การนำของ Herb Kelleher
  • ปัญหากลยุทธ์ในบริษัท Nielsen
  • การสร้างนวัตกรรมในโรงแรม Ritz-Carlton
  • ความผูกพันในองค์กรของบริษัท สยามประกันสุขภาพ จำกัด
  • การวางแผนกำลังคนของโรงเรียน DIS
  • กลยุทธ์การต่อรองของซีรอสโต้ กรีนที
  • การบริการของสุชาดา
  • การลดขนาดองค์กรของธนาคารสยามมิตร
  • กลยุทธ์การแข่งขันของ Get Fits ฟิตเนส
  • การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
  • ปัญหาพฤติกรรมในโรงแรมแกรนด์ สวีท
  • วิกฤติด้านความเชื่อมั่นในอาคารวิวัฒนาคาร
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา ,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
Note: ฉบับอัดสำเนา ,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556