Search results

220 results in 0.08s

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.บ) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.บ) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยในศตวรรษที่ 21 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยในศตวรรษที่ 21 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยในศตวรรษที่ 21 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท” วิธีดำเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบการวิจัยเอกสาร (Documentary Qualitative Research) โดยผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารปฐมภูมิจากเอกสารขั้นต้น (Primary Sources) และขั้นรอง (Secondary Sources) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) แบบเจาะจงบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต จำนวน 17 รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยในศตวรรษที่ 21 พบว่า คุณภาพชีวิตของคนไทยจะมีความสุขได้นั้นจะต้องได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้มีความมั่นคงทั้งต่อตนเองครอบครัว และชุมชน สังคมด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิต 4 ทาง คือ 1) ทางกาย 2) ทางจิตใจและอารมณ์ 3) ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม และ 4) ทางปัญญา หลักพุทธปรัชญาเถรวาทเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต พบว่าหลักพุทธปรัชญาเถรวาทสำหรับส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสงบสุข โดยใช้หลักธรรม ได้แก่ กุศลกรรมบถ 10 ภาวนา 4 และสังคหวัตถุ 4 นำมาบูรณาการ โดยการพัฒนาคุณภาพชีวิตทางกายนั้นใช้หลักธรรมได้แก่ กายสุจริต 3 วจีสุจริต 4 กายภาวนาและสีลภาวนา การพัฒนาคุณภาพชีวิตทางจิตใจและอารมณ์ใช้หลักธรรมได้แก่ มโนสุจริต 3 และจิตตภาวนา การพัฒนาคุณภาพชีวิตทางสังคม และสิ่งแวดล้อมใช้หลักธรรมสังคหวัตถุ 4 ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา และการพัฒนาคุณภาพชีวิตทางปัญญาใช้หลักธรรม ได้แก่ปัญญาภาวนา การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่ามีองค์ประกอบที่สำคัญอยู่สองส่วนคือกายกับใจ หรือรูปกับนาม โดยมุ่งพิจารณาถึงความเป็นจริงของชีวิตตนเอง มุ่งฝึกฝนพัฒนา เพื่อเข้าถึงความสะอาด สว่าง สงบในชีวิต เข้าใจชีวิตตามความเป็นจริงของโลก แนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทนั้น เป็นแนวความคิดแบบยั่งยืนควบคู่ไปกับการพัฒนาให้เกิดความสงบสุขของตนและผู้อื่น องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย ได้แก่ “HMEW Model” H = Healthiness หมายถึง มีสุขภาพดี มีร่างกายแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและตั้งมั่นอยู่ในศีลธรรม M = Mindfulness หมายถึง มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์ มีอารมณ์ยิ้มแย้มแจ่มใส มีเหตุมีผลสามารถควบคุมอารมณ์ได้ ไม่ใช้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผล E = Environment หมายถึง มีสภาพสังคมสงบร่มเย็น และมีสภาพแวดล้อมเหมาะสมสะอาดถูกสุขลักษณะ เอื้อต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นสังคมแห่งคุณธรรม W = Wisdom หมายถึงมีความรอบรู้ในการดำเนินชีวิตให้อยู่รอดปลอดภัยและมีความสงบสุขได้ สามารถพัฒนาตนเองและสังคมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ในท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมและการเปลี่ยนแปลงของโลก และรู้เท่าทันตามความเป็นจริงของชีวิต คำสำคัญ : การพัฒนาคุณภาพชีวิต คนไทยในศตวรรษที่ 21 พุทธปรัชญาเถรวาท
ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยในศตวรรษที่ 21 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยในศตวรรษที่ 21 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยในศตวรรษที่ 21 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท” วิธีดำเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบการวิจัยเอกสาร (Documentary Qualitative Research) โดยผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารปฐมภูมิจากเอกสารขั้นต้น (Primary Sources) และขั้นรอง (Secondary Sources) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) แบบเจาะจงบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต จำนวน 17 รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยในศตวรรษที่ 21 พบว่า คุณภาพชีวิตของคนไทยจะมีความสุขได้นั้นจะต้องได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้มีความมั่นคงทั้งต่อตนเองครอบครัว และชุมชน สังคมด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิต 4 ทาง คือ 1) ทางกาย 2) ทางจิตใจและอารมณ์ 3) ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม และ 4) ทางปัญญา หลักพุทธปรัชญาเถรวาทเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต พบว่าหลักพุทธปรัชญาเถรวาทสำหรับส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสงบสุข โดยใช้หลักธรรม ได้แก่ กุศลกรรมบถ 10 ภาวนา 4 และสังคหวัตถุ 4 นำมาบูรณาการ โดยการพัฒนาคุณภาพชีวิตทางกายนั้นใช้หลักธรรมได้แก่ กายสุจริต 3 วจีสุจริต 4 กายภาวนาและสีลภาวนา การพัฒนาคุณภาพชีวิตทางจิตใจและอารมณ์ใช้หลักธรรมได้แก่ มโนสุจริต 3 และจิตตภาวนา การพัฒนาคุณภาพชีวิตทางสังคม และสิ่งแวดล้อมใช้หลักธรรมสังคหวัตถุ 4 ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา และการพัฒนาคุณภาพชีวิตทางปัญญาใช้หลักธรรม ได้แก่ปัญญาภาวนา การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่ามีองค์ประกอบที่สำคัญอยู่สองส่วนคือกายกับใจ หรือรูปกับนาม โดยมุ่งพิจารณาถึงความเป็นจริงของชีวิตตนเอง มุ่งฝึกฝนพัฒนา เพื่อเข้าถึงความสะอาด สว่าง สงบในชีวิต เข้าใจชีวิตตามความเป็นจริงของโลก แนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทนั้น เป็นแนวความคิดแบบยั่งยืนควบคู่ไปกับการพัฒนาให้เกิดความสงบสุขของตนและผู้อื่น องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย ได้แก่ “HMEW Model” H = Healthiness หมายถึง มีสุขภาพดี มีร่างกายแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและตั้งมั่นอยู่ในศีลธรรม M = Mindfulness หมายถึง มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์ มีอารมณ์ยิ้มแย้มแจ่มใส มีเหตุมีผลสามารถควบคุมอารมณ์ได้ ไม่ใช้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผล E = Environment หมายถึง มีสภาพสังคมสงบร่มเย็น และมีสภาพแวดล้อมเหมาะสมสะอาดถูกสุขลักษณะ เอื้อต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นสังคมแห่งคุณธรรม W = Wisdom หมายถึงมีความรอบรู้ในการดำเนินชีวิตให้อยู่รอดปลอดภัยและมีความสงบสุขได้ สามารถพัฒนาตนเองและสังคมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ในท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมและการเปลี่ยนแปลงของโลก และรู้เท่าทันตามความเป็นจริงของชีวิต คำสำคัญ : การพัฒนาคุณภาพชีวิต คนไทยในศตวรรษที่ 21 พุทธปรัชญาเถรวาท
The objectives of this research are: 1) to study the life quality development of Thai people in the 21st century, 2) to study the principles of Theravāda Buddhist Philosophy for life quality development, 3) to Integrate the life quality development of Thai people in the 21st century with Theravāda Buddhist Philosophy, and 4) to present the guidelines and knowledge on “Model of Life Quality Development of Thai People in the 21st Century Integrated with Theravāda Buddhist Philosophy”. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, related documents and in-depth interviews with 17 experts. The results of the study were presented in a descriptive method. The results of research were found that: In life quality development of Thai people in the 21st century, the life of Thai people will be happy depending on supporting and developing the sustainable life quality of oneself, family and community in 4 areas; 1) Bodily, 2) Mentally and emotionally, 3) Socially and environmentally, and 4) Intellectually. The principles of Theravāda Buddhist philosophy in supporting life quality development consist of Kusalakammapatha, Bhāvanā and Sangahavatthu. The 3 Kayakamma or bodily actions, 4 Vacikamma or verbal actions, Kāya-bhāvanā or Physical development and Sila-bhāvanā or mental development support bodily life quality development. The 3 Manokamma or mental actions and Citta-bhāvanā or emotional development can support mentally and emotionally life quality development. The 4 principles of Sangahavatthu support socially and environmentally life quality development and Paññā-bhāvanā or intellectual development support intellectually life quality development. The main components in life quality development according to Theravāda Buddhist philosophy are body and mind with a focus on the reality of life and self-training to achieve purity, enlightening and peacefulness. The life quality development according to Theravāda Buddhist philosophy is to achieve sustainable happiness for oneself and others. The knowledge obtained from the study can be concluded into “HMEW Model”. H is for Healthiness, M for Mindfulness, E for Environment, and W for Wisdom. Keywords: Life quality development, Thai people in the 21st century, Theravāda Buddhist Philosophy
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลง และปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของชาวปกาเกอะญอบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนทั้งสิ้น ๓๐ ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพนี้ คือ แบบสอบถามปลายเปิด จำนวน ๔ ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์ ตอนที่ ๒ บริบทชุมชนบ้านแม่เหาะ ตอนที่ ๓ สภาพชีวิตของชุมชนบ้านแม่เหาะ และตอนที่ ๔ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนบ้านแม่เหาะ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ อ้างอิงเปรียบเทียบข้อมูลในเอกสารงานวิจัยอื่น ๆ ผลการวิจัยพบว่า: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีวิดีชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา ไม่ว่าจะเป็นในด้านปัจจัยภายในของสังคม และปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นจากกระแสของการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยใหม่ ซึ่งมีปัจจัยเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ ปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบต่อชุมชนบ้านแม่เหาะควบคู่กันไป เหตุที่เป็นดังนี้ก็เนื่องมากจากการที่ระบบทางสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชี่อมโยงกันอยู่ตลอดเวลาจึงทำให้ต้องการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลง และปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของชาวปกาเกอะญอบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนทั้งสิ้น ๓๐ ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพนี้ คือ แบบสอบถามปลายเปิด จำนวน ๔ ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์ ตอนที่ ๒ บริบทชุมชนบ้านแม่เหาะ ตอนที่ ๓ สภาพชีวิตของชุมชนบ้านแม่เหาะ และตอนที่ ๔ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนบ้านแม่เหาะ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ อ้างอิงเปรียบเทียบข้อมูลในเอกสารงานวิจัยอื่น ๆ ผลการวิจัยพบว่า: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีวิดีชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา ไม่ว่าจะเป็นในด้านปัจจัยภายในของสังคม และปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นจากกระแสของการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยใหม่ ซึ่งมีปัจจัยเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ ปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบต่อชุมชนบ้านแม่เหาะควบคู่กันไป เหตุที่เป็นดังนี้ก็เนื่องมากจากการที่ระบบทางสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชี่อมโยงกันอยู่ตลอดเวลาจึงทำให้ต้องการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
The objective of the Study of changes in the Karen Pagagayaw, Ban Mae Hoh Community, Mae Hoh Sub-District, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province is to study the history, changing and factors that cause changing of the Pagagayaw people in Ban Mae Hoh, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province. The population in this study is 30 cases living in Ban Mae Hoh community, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province. The qualitative research tools were 4 sections of open-ended questionnaires, consisted of part 1) general information about interviewees, part 2) about Ban Mae Hoh community, part 3) about life conditions in Ban Mae Hoh and part 4) the community factors that cause changes within the Ban Mae Hoh community. The data was analyzed from the interview and the study of previous research papers. The research found that: From the study of changes in the Karen Pagagayaw, Ban Mae Hoh Community, Mae Hoh Sub-District, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province, their way of life has different from the traditional practice in terms of internal factors like society and external factors arising from the current trend of changing according to the modern era for Ban. The important factor that results in the changes is both Internal and external factors. These factors will cause both positive and negative impacts to the Mae Hoh community in the same time. The reasons are that the social and cultural systems of human beings are constantly intertwined and therefore want to study the changes of the Karen Pagagayaw community, Ban Mae Hoh Community, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561