Search results

221 results in 0.06s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทฤษฎีญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค 3) เพื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา คัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560 - มิถุนายน 2561 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ล้วนเป็นสัจนิยม ที่เกี่ยวกับเรื่องความจริงเป็นหลัก และพบว่า บ่อเกิดของความรู้ มี 3 อย่าง คือ สุตะ-การศึกษา เล่าเรียน, จินตะ-การใคร่ครวญพิจารณา, และภาวนา-การทำให้เกิดขึ้น ทำให้มีขึ้นเจริญขึ้น เมื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค พบว่า มีอยู่ 4 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีเหตุผลนิยม จะใช้เพียงสุตะ การเรียนรู้ด้วย หรือจินตะ ใคร่ครวญ คงไม่อาจทำให้เข้าใจถึงธรรมชาติของจิตได้ 2) ทฤษฎีประจักษนิยม การนำเอาส่วนเดียวในสิกขา 3 ใช้มาเพื่อปฏิบัติถือเป็นทางที่ผิด 3) ทฤษฎีอนุมานนิยม บ่อเกิดของความรู้ 3 อย่าง คือ สุตะ จินตะและภาวนา 3 ส่วนนี้ทำให้ผลสมควรแก่เหตุ การกระทำตามขั้นตอนที่ถูก ผลที่หวังจึงจะสัมฤทธิ์ผล 4) ทฤษฎีอัชฌัตติกญาณนิยม ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ปัจจเวกขณญาณ เป็นญาณลำดับสุดท้ายของแต่ละอริยมรรค หรือญาณ 16 เป็นตัวตรวจสอบความว่าสังโยชน์ข้อใดขาดไปจากจิตสันดาน ยังเหลือกิจที่ยังต้องทำหรือไม่มีกิจอื่นที่ต้องทำ นี้จึงเป็นอัชฌัตติกญาณนิยม คือ ความรู้แจ้งภายใน
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทฤษฎีญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค 3) เพื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา คัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560 - มิถุนายน 2561 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ล้วนเป็นสัจนิยม ที่เกี่ยวกับเรื่องความจริงเป็นหลัก และพบว่า บ่อเกิดของความรู้ มี 3 อย่าง คือ สุตะ-การศึกษา เล่าเรียน, จินตะ-การใคร่ครวญพิจารณา, และภาวนา-การทำให้เกิดขึ้น ทำให้มีขึ้นเจริญขึ้น เมื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค พบว่า มีอยู่ 4 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีเหตุผลนิยม จะใช้เพียงสุตะ การเรียนรู้ด้วย หรือจินตะ ใคร่ครวญ คงไม่อาจทำให้เข้าใจถึงธรรมชาติของจิตได้ 2) ทฤษฎีประจักษนิยม การนำเอาส่วนเดียวในสิกขา 3 ใช้มาเพื่อปฏิบัติถือเป็นทางที่ผิด 3) ทฤษฎีอนุมานนิยม บ่อเกิดของความรู้ 3 อย่าง คือ สุตะ จินตะและภาวนา 3 ส่วนนี้ทำให้ผลสมควรแก่เหตุ การกระทำตามขั้นตอนที่ถูก ผลที่หวังจึงจะสัมฤทธิ์ผล 4) ทฤษฎีอัชฌัตติกญาณนิยม ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ปัจจเวกขณญาณ เป็นญาณลำดับสุดท้ายของแต่ละอริยมรรค หรือญาณ 16 เป็นตัวตรวจสอบความว่าสังโยชน์ข้อใดขาดไปจากจิตสันดาน ยังเหลือกิจที่ยังต้องทำหรือไม่มีกิจอื่นที่ต้องทำ นี้จึงเป็นอัชฌัตติกญาณนิยม คือ ความรู้แจ้งภายใน
The thesis served its specific purposes: 1) to study a theory on epistemology in Theravada Buddhist philosophy, 3) to pursue epistemology in Visuddhi Magga scripture, and 3) to analyze its essences in the scripture. The sampling groups comprised: The Tipitaka, commentaries, the target scripture, treatises and relevant research undertakings. It was derived from the qualitative methodology, the documentary research. Data were collected between October, B.E. 2560 and June, B.E. 2561. With these data, their essences were analyzed and inductive summaries constructed. Results of the research have found the following findings.: Epistemology in Theravada Buddhist philosophy is entire realism. It has found sources of knowledge with three types: 1) Suta, learning/hearing, 2) Cinta, active thoughts, 3) Bhavana, development, to make something happen/prosper. Upon analyzing types in the target scripture, they have found four theories: 1) Rationalism, it uses only learning or hearing (suta) or active thought (cinta); it may not have ones understand the nature of mind. 2) Empiricism, the introduction of one part of threefold trainings into practical uses is regarded as the wrong way. 3) Inductivism, its three sources of knowledge are: i) learning or hearing, ii) active thoughts, and iii) development. These elements make results fit causes. They are right acts. Expected outcomes can be achieved. 4) Internalism, knowledge emerges in mind. Knowledge of reviewing (paccavekkhana-nana) is the last insight of Noble Paths. It is the inspector to find whether or not any fetter is disappeared from the mind. Is there any task done or not done. The knowledge is internalism, internal clear knowledge.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตตามหลักสัมมาอาชีวะในทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบทั้งทางกายและทางวาจา ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม 2) การครอบครองรักษาที่ดี ตามหลักการออมทรัพย์ทางพระพุทธศาสนาหรือหลักโภควิภาค 4 ได้แก่ ทรัพย์หนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ใช้สอยเลี้ยงชีพ ทรัพย์สองส่วน (50 %) ออมไว้ประกอบอาชีพและทรัพย์อีกหนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ในยามจำเป็นและใช้ทำบุญ 3) การบริโภคใช้จ่ายอย่างถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียง โดยให้ความสำคัญด้านคุณค่ามากกว่ามูลค่า และเน้นคุณประโยชน์มากกว่าความคุ้มทุน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองแก่ผู้อื่นและแก่สังคม สัมมาอาชีวะเป็นหลักการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคคลทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ อีกทั้งเกิดคุณค่าต่อการพัฒนาปัญญาให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต และยังมีคุณค่าต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบุญกิริยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการเกื้อหนุนและส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อื่น และมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมส่วนรวมทั้งด้านการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบจริยธรรมทางสังคมด้านอื่น ๆ ให้เข้มแข็งและมั่นคง ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดความสุขมวลรวมของคนในสังคมมากยิ่งขึ้น
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตตามหลักสัมมาอาชีวะในทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบทั้งทางกายและทางวาจา ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม 2) การครอบครองรักษาที่ดี ตามหลักการออมทรัพย์ทางพระพุทธศาสนาหรือหลักโภควิภาค 4 ได้แก่ ทรัพย์หนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ใช้สอยเลี้ยงชีพ ทรัพย์สองส่วน (50 %) ออมไว้ประกอบอาชีพและทรัพย์อีกหนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ในยามจำเป็นและใช้ทำบุญ 3) การบริโภคใช้จ่ายอย่างถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียง โดยให้ความสำคัญด้านคุณค่ามากกว่ามูลค่า และเน้นคุณประโยชน์มากกว่าความคุ้มทุน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองแก่ผู้อื่นและแก่สังคม สัมมาอาชีวะเป็นหลักการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคคลทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ อีกทั้งเกิดคุณค่าต่อการพัฒนาปัญญาให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต และยังมีคุณค่าต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบุญกิริยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการเกื้อหนุนและส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อื่น และมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมส่วนรวมทั้งด้านการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบจริยธรรมทางสังคมด้านอื่น ๆ ให้เข้มแข็งและมั่นคง ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดความสุขมวลรวมของคนในสังคมมากยิ่งขึ้น
The thesis served its specific purposes: 1) to study the way of leading one’s life in Theravada philosophy, 2) to examine Right Livelihood in Noble Eightfold Paths following Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze the way of leading one’s life with Right Livelihood as such. As the documentary research, it was derived from the qualitative methodology. Data were studied out of The Tipitaka, commentaries, books and relevant research undertakings, collected between October B.E. 2560 and June B.E. 2561. Findings are the followings: Ways of leading one’s life following the principle of right livelihood in Buddhism is composed of two aspects. The first aspect is seeking for leading one’s life with physical, verbal, legal and moral decency. Another aspect is good possession and economy spending of incomes following criteria of four good divisions in Buddhism. One portion of incomes is provided for feeding family, accounting for 25 %. Two portions making up 50 % are allocated for doing careers. One portion is kept for saving in the rainy days and making merits. The further aspect is proper and sufficient consumption, placing more importance in true values than face values, putting more emphasis on benefits than cost effectiveness, with the aims for benefits of their own, others’ and society. Analyses of right livelihood have found that it has been treated as the foundation stone of leading one’s life with moral values for developing individual life in physical, verbal and mental channels. It creates values towards developing wisdom to logically think of leading one’s life and making great contribution to accumulating much more merits. In addition, leading one’s life following right livelihood still have moral values for assistance and support of others’ life. All in all, it also has values for developing society in common in governmental, political, economic area, including the support of developing the moral system of society to be strong and stable, which will lead to the target giving rise to the mass happiness of members in the society
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดพุทธปรัชญาการปกครองให้ทัศนะอันเป็นหลักการที่ประกอบด้วย คุณธรรม โดยกำหนดจุดมุ่งหมายไว้เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของมหาชนตลอดทั้งเทวดา เพื่ออนุเคราะห์ สงเคราะห์โลก และสิ่งแวดล้อม พุทธปรัชญาเถรวาทให้ความสำคัญกับผู้ปกครองที่มีศีลธรรม ผู้ปกครองที่ดีจะต้องประพฤติปฏิบัติและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสาธารณะชน 2. การปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ให้ทัศนะว่าการปกครองที่ดีที่สุด คือการบริหารจัดการหรือการปกครองอันเป็นกิจการสาธารณะ (The Republic) เพื่อประโยชน์สุข สันติ สงบ ของผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองมีใจเป็นธรรม มีความยุติธรรม จากการปกครองโดยราชาผู้เป็นปราชญ์ 3. แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต พบว่า มีลักษณะที่เหมือนกันในหลายแง่มุม คือ 1) มีลักษณะสังคมอุดมคติ 2) มีเป้าหมายทางการเมือง 3) ยึดหลักของประโยชน์สุขให้กับสังคมและคนหมู่มาก 4) สังคมที่ดีงามต้องใช้คุณธรรมและศีลธรรมเป็นรากฐานในการกำหนดคุณค่าสังคม 5) อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดพุทธปรัชญาการปกครองให้ทัศนะอันเป็นหลักการที่ประกอบด้วย คุณธรรม โดยกำหนดจุดมุ่งหมายไว้เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของมหาชนตลอดทั้งเทวดา เพื่ออนุเคราะห์ สงเคราะห์โลก และสิ่งแวดล้อม พุทธปรัชญาเถรวาทให้ความสำคัญกับผู้ปกครองที่มีศีลธรรม ผู้ปกครองที่ดีจะต้องประพฤติปฏิบัติและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสาธารณะชน 2. การปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ให้ทัศนะว่าการปกครองที่ดีที่สุด คือการบริหารจัดการหรือการปกครองอันเป็นกิจการสาธารณะ (The Republic) เพื่อประโยชน์สุข สันติ สงบ ของผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองมีใจเป็นธรรม มีความยุติธรรม จากการปกครองโดยราชาผู้เป็นปราชญ์ 3. แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต พบว่า มีลักษณะที่เหมือนกันในหลายแง่มุม คือ 1) มีลักษณะสังคมอุดมคติ 2) มีเป้าหมายทางการเมือง 3) ยึดหลักของประโยชน์สุขให้กับสังคมและคนหมู่มาก 4) สังคมที่ดีงามต้องใช้คุณธรรมและศีลธรรมเป็นรากฐานในการกำหนดคุณค่าสังคม 5) อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
The objectives of this thesis were as follows: 1) to study the concept of ruling in Theravada Buddhist philosophy. 2) to study the philosophy of the state of Plato. 3) to analyze the concepts of ruler ship in Theravada Buddhist philosophy and the state-based philosophy of Plato. The Result of this research were found as follows: 1. The concept of Buddhist philosophy of government has shown the views and practices that are the principles that comprise the rule of law. The purpose is for the happiness of the public. Theravada Buddhist Philosophy Focuses on Moral Guardians Good parents must behave. And control of their own behavior to the acceptance of the public. 2. The Rule of the State of Plato is the management or administration of the state (The Republic) to benefit the peace of the people. to be just to be fair and to be happiness from the philosopher king by the wise. 3. The concept of ruling in Theravada Buddhist philosophy and the philosophy of the state administration of Plato. 1) There is a social ideal. 2) It has a political purpose. 3) It is based on the principle of happiness for society and people. 4) A good society requires. Morality and morality are the foundation of a balanced. 5) Under natural rules.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูนมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน จำนวนทั้งสิ้น 25 ราย คัดเลือกผู้ที่อาศัยในพื้นที่เป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 30 ปี ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า : การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน เกิดจากสภาพวิถีชีวิตของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน ประกอบด้วยด้านครอบครัว ด้านอาชีพ ด้านการศึกษา ด้านการปกครอง ด้านศาสนาและวัฒนธรรม และด้านเทคโนโลยี และมีสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในชุมชน ประกอบด้วยสาเหตุภายใน ได้แก่ สาเหตุจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ความต้องการทางด้านวัตถุ การยอมรับประเพณีและวัฒนธรรมใหม่ๆ เข้ามาในชุมชน สาเหตุจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เมื่อรับวัฒนธรรมภายนอกเข้ามา ทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงแปลงไปด้วย และสาเหตุจากความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ส่วนสาเหตุภายนอก ได้แก่ เกิดจากสาเหตุด้านการพัฒนาของภาครัฐ และสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูนมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน จำนวนทั้งสิ้น 25 ราย คัดเลือกผู้ที่อาศัยในพื้นที่เป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 30 ปี ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า : การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน เกิดจากสภาพวิถีชีวิตของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน ประกอบด้วยด้านครอบครัว ด้านอาชีพ ด้านการศึกษา ด้านการปกครอง ด้านศาสนาและวัฒนธรรม และด้านเทคโนโลยี และมีสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในชุมชน ประกอบด้วยสาเหตุภายใน ได้แก่ สาเหตุจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ความต้องการทางด้านวัตถุ การยอมรับประเพณีและวัฒนธรรมใหม่ๆ เข้ามาในชุมชน สาเหตุจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เมื่อรับวัฒนธรรมภายนอกเข้ามา ทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงแปลงไปด้วย และสาเหตุจากความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ส่วนสาเหตุภายนอก ได้แก่ เกิดจากสาเหตุด้านการพัฒนาของภาครัฐ และสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
This is the study of the lifestyle and change of the Karen community in Phra Bath Huai Tom village, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. This study aimed to study the lifestyle and changes of the Karen community in Phra Bath Huai Tom village, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. The sample in this study was the 25 people who lived in Ban Phra Bath Huai Tom Karen community, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. All of the participant must have lived in the area for at least 30 years. The research designed qualitatively in order to investigate the phenomena of the lifestyle changes of the Karen community in Ban Phra Bath Huai Tom, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. Interviewing was the tool for data collection. The research finds that : Lifestyle changes of the Karen community Ban Phra Bath Huai Tom, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province are, most of data analysis presented comparing, a result of the past and present community lifestyle which was consisting of family, career, education, administration, religion and culture, and technology. Those are reasons why the cause changes in lifestyle in the community. The changes were consisting of internal causes because of the increasing of their population, the materialism trend, and the accepting of new traditions and cultures. That is the main reason why their lifestyle was changing. When Karen people received external culture, this makes the way of life changing as well as beliefs, traditions and culture. The external cause is affected by the development of local and centered government which changed their lifestyle of Karen community in Ban Phra Bath Huai Tom community, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province.