Search results

14 results in 0.06s

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทนำ : ความสำคัญของเครื่องมือการบริหารต่อธรรมาภิบาล
  • วรจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA Cycle) วางแผน ลงมือทำ ตรวจสอบ และปรับปรุง
  • ไคเซ็น (Kaizen) การพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง
  • การบริหารแบบลีน (Lean Management) เพื่อลดความสูญเสียอย่างมีประสิทธิภาพ
  • วิธีการวัดผลแบบสมดุล (Balanced Scorecard) สำหรับ 4 มุมการบริหาร
  • การจัดการความรู้ (Knowledge Management) จากคุณค่าของประสบการณ์
  • ระบบการทำงานเพื่อให้ได้ผลการปฏิบัติงานสูง (High Performance Work System)
  • บทส่งท้าย : ธรรมาภิบาลสร้างได้ แต่ต้องแน่ใจว่าคงทน
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • หลักธรรมาภิบาล
  • ผลประโยชน์ทับซ้อน ภาคีภิบาล และธรรมาภิบาล
  • แนวคิดธรรมาภิบาล
  • ความสำนึกรับผิดชอบ
  • ความโปร่งใสและการเปิดเผยข้อมูล
  • การมีส่วนร่วมสาธารณะ
  • หลักนิติรัฐ/นิติธรรม
  • การถ่วงดุลอำนาจ ธรรมาภิบาล และการพัฒนา
  • ความรับผิดชอบทางสังคมขององค์การ
  • ความหมาย ความสำคัญ และพัฒนาการของ CSR
  • ทฤษฎีว่าด้วย CSR
  • การจำแนกประเภทของ CSR
  • การนำ CSR ไปปฏิบัติในองค์การ
  • การทำประโยชน์แก่สังคมของภาคเอกชน (นอกเหนือจาก CSR)
  • ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง CSR และการพัฒนาที่ยั่งยืน
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของครูจากการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และ F – test (One – way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Fisher’s Least – Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวางแผนอัตรากำลังและการกำหนดตำแหน่ง รองลงมา คือ ด้านการออกจากราชการ ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ และด้านวินัยและการรักษาวินัย ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 2.1 ครูที่เพศต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวม ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านไม่แตกต่างกัน 2.2 ครูที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของครูจากการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และ F – test (One – way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Fisher’s Least – Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวางแผนอัตรากำลังและการกำหนดตำแหน่ง รองลงมา คือ ด้านการออกจากราชการ ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ และด้านวินัยและการรักษาวินัย ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตามเพศ และขนาดโรงเรียน 2.1 ครูที่เพศต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวม ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านไม่แตกต่างกัน 2.2 ครูที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 มีค่าความถี่สูงสุดในแต่ละด้าน มีดังนี้ ด้านการวางแผนอัตรากำลังและการกำหนด ผู้บริหารควรให้ความสำคัญในการวางแผนงานบุคคล และให้ความสำคัญในการปฏิบัติตามแผนการบริหารงานบุคคล ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ควรเลือกสรรบุคคล สอบคัดเลือก และคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วยหลักคุณธรรมเป็นไปตามระเบียบของทางราชการ ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ควรมีการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ด้านวินัยและการรักษาวินัย ควรมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมวินัยเชิงบวก การสร้างขวัญกำลังใจ การจูงใจเพื่อป้องกันการกระทำผิดวินัย รวมถึงการส่งเสริมให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรม ด้านการออกจากราชการ เมื่อมีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากระทำผิดวินัย ควรมีการพิจารณาโทษโดยปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการด้วยความเป็นธรรม
The objectives of the research were: 1) to study the teachers’ opinions about the personnel administration based on the principles of good governance in the schools under the Office of Primary Education Service, Kalasin Area 2’ 2) to compare the teachers’ opinions relevant to the personnel administration based on the principles of good governance in the said schools, classified by gender and school size, and 3) to survey the suggestions proposed by the teachers in the schools as mentioned. The samples were 308 in number, consisting of teachers and education-related personnel of the schools in the said area. The device used for data collection was the five-rating scale questionnaire .The reliability was 0.95, and the statistical tools employed for data analysis were frequency, percentage, mean, S.D., t-test (Independent Samples) and F-test (One-way ANOVA). In case the significantly statistical difference was found, the LSD (Fisher’s Least – Significant Difference) method was used to test the difference. The research results were as follows: 1) The teachers’ opinions about the personnel administration based on the principles of good governance in the schools under the Office of Primary Education Service, Kalasin Area 2 were found, on both overall and individual aspects, to stand at the ‘MUCH’ level. The aspect that showed the highest mean was manpower planning and position specification, followed by layoffs and early retirement, and the aspect that stood on the bottom was discipline and disciplinary observance. 2) The comparison of the teachers’ related opinions, classified by gender, was found to show no statistically significant difference in both overall and individual aspects, whereas the comparison classified by school size was found, in both overall and individual dimensions, to show the statistically significant difference at the same rate of .05. 3) The suggestions proposed by the respondents were the following: As top priority of the administration, the manpower planning and position specification required the administrators’ focal emphasis and strict practice of the plan set. The recruitment and appointment was suggested to be strict to the rules. The promotion of operational effectiveness needed the human resource development by means of promoting the higher-level study. The discipline and disciplinary observance required the training workshop to promote disciplinary observance, boost morale and motivate the prevention of disciplinary violation. Besides, the support of the staff members to be fulfilled with morality and ethics should be conducted. For the layoffs and early retirement, should there be the case of disciplinary violation, the fair treatment was required in order to provide justice and prevent injustice.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาล, 2) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา และ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการบริหารที่ว่าด้วยการสร้างระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชนได้ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในการบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมให้มีประสิทธิภาพตามหลักกฎหมาย โดยอาศัยหลัก 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานของรัฐหรือในองค์การ ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่รัฐและองค์การ ซึ่งจะส่งผลให้สังคมดำรงอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 2) การบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือ การดำเนินการของผู้บริหารในการนำเอาหลักธรรมที่ปรากฏในทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ พรหมวิหาร 4 อิทธิบาท 4 สัปปุริสธรรม 7 สังคหวัตถุ 4 ไปใช้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือมีคุณค่า ด้านความยุติธรรมในองค์การ ด้านการลดความเหลื่อมล้ำในองค์การ และด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาล, 2) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา และ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการบริหารที่ว่าด้วยการสร้างระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชนได้ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในการบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมให้มีประสิทธิภาพตามหลักกฎหมาย โดยอาศัยหลัก 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานของรัฐหรือในองค์การ ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่รัฐและองค์การ ซึ่งจะส่งผลให้สังคมดำรงอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 2) การบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือ การดำเนินการของผู้บริหารในการนำเอาหลักธรรมที่ปรากฏในทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ พรหมวิหาร 4 อิทธิบาท 4 สัปปุริสธรรม 7 สังคหวัตถุ 4 ไปใช้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือมีคุณค่า ด้านความยุติธรรมในองค์การ ด้านการลดความเหลื่อมล้ำในองค์การ และด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล
The objectives of this thesis ware as follows 1) to study the Organization Administration by the Principle of Good Governance, 2) to study the Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach and 3) to analyze the value of the Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach. The sample groups were the Tipitaka Commentaries. Texts and relevant researches. The thesis was the documentary qualitative research works. All the data, collected during January-September 2017, were then analyzed by content analysis and analytic induction. The results of research are found as follows: 1) The Principle of Good Governance for the Organization Administration is the good method for the management of the whole country including public sector, business sector, private sector and people sector to achieve the everyone happiness and well-being by the six principles as follows : (1) the principle of law (2) the principle of virtue (3) the principle of openness and transparency (4) the principle of participation (5) the principle of accountability and (6) the principle of effectiveness. 2) The Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach is the management of the organization following the Buddhist Doctrines to achieve effectively the given objectives including Brahmavihara 4, Iddhipada 4, Sappurisa-dhamma 7, Noble Eightfold Path and Raja-dhamma. 3) The results of the analysis of the values of the Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach are the value of the justice, the value of the reduction of the inequality and the value of the efficiency and effectiveness in the organization.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 ธรรมาภิบาล : ความหมาย ประโยชน์และทิศทาง
  • บทที่ 2 หลักสำนึกรับผิดชอบ
  • บทที่ 3 หลักนิติธรรม
  • บทที่ 4 หลักการมีส่วนร่วม
  • บทที่ 5 หลักความโปร่งใส
  • บทที่ 6 หลักความคุ้มค่า
  • บทที่ 7 หลักคุณธรรม ศาสตราจารย์
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561