Search results

33,640 results in 0.12s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ3) เพื่อศึกษา พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลนักเรียนช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ สถานศึกษาหรือหัวหน้าฝ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูแนะแนว และครูประจำชั้นหรือครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร และการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า: 1. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมาก 6 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ดังนี้ อันดับแรก คือ ด้านการเป็นผู้นำ รองลงมา คือ ด้านการจูงใจ ด้านการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม ด้านการตัดสินใจ ด้านการกำหนดเป้าหมาย ด้านการติดต่อสื่อสาร และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน และด้านการปฏิสัมพันธ์และการมีอิทธิผลต่อกัน 2. การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อยได้ ดังนี้ ด้านการรู้จักนักเรียนรายบุคคล รองลงมา คือ ด้านการป้องกันช่วยเหลือและแก้ปัญหา ด้านการคัดกรองนักเรียน ด้านการส่งเสริม และด้านการส่งต่อ 3. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ การตัดสินใจ เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสามารถทำนายความแปรปรวนของการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้ร้อยละ 29
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ3) เพื่อศึกษา พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลนักเรียนช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ สถานศึกษาหรือหัวหน้าฝ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูแนะแนว และครูประจำชั้นหรือครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร และการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า: 1. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมาก 6 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ดังนี้ อันดับแรก คือ ด้านการเป็นผู้นำ รองลงมา คือ ด้านการจูงใจ ด้านการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม ด้านการตัดสินใจ ด้านการกำหนดเป้าหมาย ด้านการติดต่อสื่อสาร และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน และด้านการปฏิสัมพันธ์และการมีอิทธิผลต่อกัน 2. การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อยได้ ดังนี้ ด้านการรู้จักนักเรียนรายบุคคล รองลงมา คือ ด้านการป้องกันช่วยเหลือและแก้ปัญหา ด้านการคัดกรองนักเรียน ด้านการส่งเสริม และด้านการส่งต่อ 3. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ การตัดสินใจ เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสามารถทำนายความแปรปรวนของการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้ร้อยละ 29
The purpose of this research was 1) to study the management behavior of the executives. 2) To study the management of school attendance system in schools. Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1 and 3) to study the administrative behavior of the administrators affecting the administration of the student support system in the educational institution. The sample is the director of the school. Deputy Director 9Educational institutions or heads of departments involved in the implementation of student support systems, tutors, and classroom teachers, or school counselors. The questionnaire was administered to 345 administrators. And management of student support systems. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation. And the multiple regression equation you step. Data were analyzed by using software program. The research found that: 1. Management Behavior of Management Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1, When considering each side, it was found that. Management Behavior of Management Under the jurisdiction of the office of the Office of the Secondary Education Region 1, the level of education was at the high level of 6 levels and was at the medium level, 2 aspects were ranked from the average to the lowest. Performance Standards and Training Decision making Targeting Communication Operational control And the interaction and interaction. 2. Management of school attendance support system Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1, When considering each side, it was found that. Management Behavior of Management Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1, the level of education was at the high level of 5 levels, ranging from the average to the lowest. Student Screening Promotion And the transmission. 3. Management Behavior of Management The most influential factors influencing decision-making in school administration are the factors influencing the management of the school support system. The results of this study showed that the students' Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Region 1, 29%
หนังสือ

    การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จำนวน 97 แห่ง จำแนกเป็นสถานศึกษาระดับประถมศึกษาแต่ละอำเภอโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Style Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 380 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 และการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านความรู้ ความคิด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านเทคนิค ด้านมนุษย์ และด้านมโนภาพ ตามลำดับ 2.การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 47 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ด้านการส่ง เสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ และด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถาน ศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านมโนภาพ ด้านการศึกษาและการสอน และด้านความรู้ ความคิด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ ร้อยละ 77.10 (R2 = 0.771) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂ = 0.735 + 0.157 (BT) + 0.250 (ET) + 0.263 (CT)+ 0.098 (AT) (R2 = 0.771) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 3.634 (ZBT) + 2.703 (ZET) +3.948 (ZCT) +2.770 (ZAT) (R2 = 0.771) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาด้านมนุษย์ (DT) ไม่ส่งผลต่อการบริหาร งานวิชาการของสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จำนวน 97 แห่ง จำแนกเป็นสถานศึกษาระดับประถมศึกษาแต่ละอำเภอโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Style Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 380 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 และการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านความรู้ ความคิด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านเทคนิค ด้านมนุษย์ และด้านมโนภาพ ตามลำดับ 2.การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 47 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ด้านการส่ง เสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ และด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถาน ศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านมโนภาพ ด้านการศึกษาและการสอน และด้านความรู้ ความคิด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ ร้อยละ 77.10 (R2 = 0.771) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂ = 0.735 + 0.157 (BT) + 0.250 (ET) + 0.263 (CT)+ 0.098 (AT) (R2 = 0.771) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 3.634 (ZBT) + 2.703 (ZET) +3.948 (ZCT) +2.770 (ZAT) (R2 = 0.771) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาด้านมนุษย์ (DT) ไม่ส่งผลต่อการบริหาร งานวิชาการของสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
The purposes of this research were; 1) to study administrative skills of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2, 2) to study the academic administration of of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2, and 3) to study administrative skills of school administrators affecting the academic administration in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2. The data were collected by questionnaires from 97 primary schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2. 380 samples consisted of school directors, academic heads and teachers obtained by stratified style sampling. The reliability of questionnaire on administrative skills of school administrators was at 0.96 and the reliability of academic administration was at 0.98. The data were analyzed by Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, and Step multiple regression analysis through the package software. The results of the study were found that: 1) Overall, the administrative skills of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 were at a high level in 5 aspects. When considering the average in each aspect, the highest level was on Knowledge, followed by Idea, Education and Teaching, Techniques, Humanity and Imagination respectively. 2) The academic administration of schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 in 47 aspects was at a high level overall and in aspects. When considering the average in each aspect in orderly, the highest level was on Measurement, followed by Assessment and Credit Transfer, Learning Development, Research for Educational Development, Educational Supervision, Development of Internal Quality Assurance Systems, in Educational promoting of the community for academic strength, and Curriculum Development respectively. 3)The administrative skills of school administrators affecting the academic administration in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 consist of Techniques, Imagination, Education and Teaching, Knowledge and Idea. The level of statistical significance was at .01 with a prediction coefficient or a predictive power at 77.10 percent (R2 = 0.771) The relationships can be written in the form of predictions as follows: Raw score equation = 0.735 + 0.157(BT) + 0.250(ET) + 0.263(CT) + 0.098(AT) (R2 = 0.771) Standard score equation = 3.634(ZBT) + 2.703(ZET) + 3.948(ZCT) =2.770(ZAT) (R2 = 0.771) The administrative skills of school administrators in human resource (DT) do not affect the academic administration in schools. Therefore, it has not been selected into the equation because the statistical significance is not found.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554