Search results

33,640 results in 0.11s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร (2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ ประเภทวิชา ระดับชั้นปี ที่แตกต่างกัน (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 274 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One–Way ANOVA/F–test) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยะสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ LSD.(Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการใช้สัมภาษณ์จากผู้บริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษา จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า (1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1) ด้านการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง มีค่าเฉลี่ย 3.34 2) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมืองมีค่าเฉลี่ย 3.18 3) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง มีค่าเฉลี่ย 2.79 และ 4 ) ด้านการชุมนุมทางการเมือง มีค่าเฉลี่ย 2.54 ตามลำดับ (2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาครที่มีประเภทวิชา และระดับชั้นปีต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศและอายุต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมืองโดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า 1) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ควรติดตามข่าวสารทางการเมืองในส่วนของข้อมูลที่มีความสำคัญ และมาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ เช่น ข่าวสารจากทางราชการ 2) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง ควรเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมรณรงค์ทางการเมืองเพราะการรณรงค์ทางการเมืองเป็นกิจกรรมขับเคลื่อนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 3) ด้านการร่วมชุมนุมทางการเมือง ควรเข้าร่วมการชุมนุมทางการเมืองอย่างถูกต้องและสร้างสรรค์โดยจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและไม่สร้างความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น 4) ด้านการลงคะแนนเลือกตั้ง ควรใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งทุกครั้งที่สามารถกระทำได้ และควรให้ความสำคัญกับการเลือกตั้งในทุกระดับ เพื่อแสดงให้เห็นว่านักศึกษาเป็นผู้รู้หน้าที่ และรักษาสิทธิที่ตนเองมีตามวิถีทางแห่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร (2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ ประเภทวิชา ระดับชั้นปี ที่แตกต่างกัน (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 274 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One–Way ANOVA/F–test) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยะสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ LSD.(Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการใช้สัมภาษณ์จากผู้บริหารที่มีความเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษา จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า (1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1) ด้านการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง มีค่าเฉลี่ย 3.34 2) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมืองมีค่าเฉลี่ย 3.18 3) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง มีค่าเฉลี่ย 2.79 และ 4 ) ด้านการชุมนุมทางการเมือง มีค่าเฉลี่ย 2.54 ตามลำดับ (2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาครที่มีประเภทวิชา และระดับชั้นปีต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมือง โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศและอายุต่างกัน มีส่วนร่วมทางการเมืองโดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า 1) ด้านการติดตามข่าวสารทางการเมือง ควรติดตามข่าวสารทางการเมืองในส่วนของข้อมูลที่มีความสำคัญ และมาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ เช่น ข่าวสารจากทางราชการ 2) ด้านการรณรงค์ทางการเมือง ควรเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมรณรงค์ทางการเมืองเพราะการรณรงค์ทางการเมืองเป็นกิจกรรมขับเคลื่อนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 3) ด้านการร่วมชุมนุมทางการเมือง ควรเข้าร่วมการชุมนุมทางการเมืองอย่างถูกต้องและสร้างสรรค์โดยจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดและไม่สร้างความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น 4) ด้านการลงคะแนนเลือกตั้ง ควรใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งทุกครั้งที่สามารถกระทำได้ และควรให้ความสำคัญกับการเลือกตั้งในทุกระดับ เพื่อแสดงให้เห็นว่านักศึกษาเป็นผู้รู้หน้าที่ และรักษาสิทธิที่ตนเองมีตามวิถีทางแห่งการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
This thesis has the following objectives: (1) to study the level of political participation of students in vocational schools in Samutsakhon province, (2) to compare the level of political participation of students in vocational schools in Samutsakhon province based on their gender, age, subject major, and year in study, and (3) to propose development guidelines for political participation of students in vocational schools in Samutsakhon province. The data were collected by questionnaires from 274 samples and analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test (Independent Sample) and F-test (OneWay ANOVA). In case, there were significant different levels, LSD (Least Significant Difference) was used. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 5 school administrators obtained by purposive selection. The findings indicated that: 1. The political participation of students in vocational schools in Samutsakhon Province was at a moderate level overall. The level could be ranged from the highest to the lowest level as follows: Political Voting 3.34, Political News Tracking 3.18, Political Campaign 2.79, and Political Congregation 2.54 respectively. 2. The students in vocational schools in Samutsakhon province with different subject majors and years in study had political participation differently with a significantly different statistic figure at the 0.05 level. While the students having different genders and ages, did not have different level of political participation. 3. Guidelines for promoting political participation of students in vocational schools in Samutsakhon province were found that; 1) The students should follow important political news through reliable sources such as government news, 2) Political Campaign is the political activity in which everyone should take part, 3) Political Congregation must comply with the constitutional requirements and must not cause trouble to others, and 4) In election voting, the students should vote on every election and realize the importance of election in order to indicate that they understand their political role and rights.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ