Search results

33,640 results in 0.13s

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ระดับองค์การแห่งการเรียนรู้ และ 3) การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 จำนวน 56 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ บุคลากรทางการศึกษาจำนวน 336 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่า เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1.ระดับการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2.ระดับองค์การแห่งการเรียนรู้ ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3.การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 คือ การบังคับบัญชา การวางแผนการ ควบคุมงาน การจัดองค์กร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถทำนายการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ได้ร้อยละ77.6 และเขียนในรูปของสมการทำนายคะแนนมาตรฐานได้ ดังนี้ Z┴^y = .306 (Zx3) + .231 (Zx1) + .264 (Zx5) + .216 (Zx2)
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ระดับองค์การแห่งการเรียนรู้ และ 3) การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 จำนวน 56 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ บุคลากรทางการศึกษาจำนวน 336 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่า เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1.ระดับการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2.ระดับองค์การแห่งการเรียนรู้ ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3.การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 คือ การบังคับบัญชา การวางแผนการ ควบคุมงาน การจัดองค์กร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถทำนายการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ได้ร้อยละ77.6 และเขียนในรูปของสมการทำนายคะแนนมาตรฐานได้ ดังนี้ Z┴^y = .306 (Zx3) + .231 (Zx1) + .264 (Zx5) + .216 (Zx2)
The objectives of this research were ; 1) to study administration levels of school administrators, 2) to study levels of the learning organization, and 3) to study admi-nistration of school administrators affecting to the learning organization under Office of Secondary Educational Service Area 9. The data were collected by questionnaires from 336 samples in 56 schools under Office of Secondary Educational Service Area 9, and then analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and the multiple regression equation. The results of the research were as follows: 1. The administration level of administrators in the schools under Office of Secondary Educational Service Area 9 was at a high level overall. 2. The level of learning organization of the schools under Office of Secon-dary Educational Service Area 9 was at a high level overall. 3. The administrator’s administration affecting the learning organization of the schools under Office of Secondary Educational Service Area 9 was on commanding, work control planning, and organization management with a statistical significance level at 0.01, and it could predict the learning organization at 77.6 per cent. It could be written in equations for multiple regression analysis in the form of a standard score as follows: Z┴^y = .306 (Zx3) + .231 (Zx1) + .264 (Zx5) + .216 (Zx2)
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมือง ร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหาร สถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู รวมทั้งสิ้น 304 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test และ F-test (One-Way ANOVA) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลวิจัยพบว่า ระดับการปฏิบัติของผู้บริหารสถานศึกษา เกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของ ผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน โดยเรียงลำดับจากข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุดไปหาการปฏิบัติต่ำสุด พบว่าด้านมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ด้านศีล (สีลสิกขา) มีระดับการปฏิบัติสูงสุดรองลงมา ได้แก่ ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) และด้านมีระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อมีผลการวิจัยปรากฏดังต่อไปนี้ 1) ด้านศีล (สีลสิกขา) พบว่า ข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุด จำนวน 3 ข้อ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การส่งเสริมสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา 2) ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และข้อระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 3) ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การนิเทศการศึกษา และข้อมี ระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรควรแก้ไขพัฒนาทางปฏิสัมพันธ์ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กรและสถาบันอื่นๆ ด้วยการยึดหลักมอบความรู้ข่าวสารอย่างเท่าเทียมกัน อีกทั้งควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้อันยึดหลักบรรยากาศร่มรื่นสงบ และควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอันยึดหลักตรึกตรองการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็กนักเรียน โดยทั้ง 3
วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมือง ร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหาร สถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู รวมทั้งสิ้น 304 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test และ F-test (One-Way ANOVA) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลวิจัยพบว่า ระดับการปฏิบัติของผู้บริหารสถานศึกษา เกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของ ผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน โดยเรียงลำดับจากข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุดไปหาการปฏิบัติต่ำสุด พบว่าด้านมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ด้านศีล (สีลสิกขา) มีระดับการปฏิบัติสูงสุดรองลงมา ได้แก่ ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) และด้านมีระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อมีผลการวิจัยปรากฏดังต่อไปนี้ 1) ด้านศีล (สีลสิกขา) พบว่า ข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุด จำนวน 3 ข้อ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การส่งเสริมสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา 2) ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และข้อระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 3) ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การนิเทศการศึกษา และข้อมี ระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรควรแก้ไขพัฒนาทางปฏิสัมพันธ์ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กรและสถาบันอื่นๆ ด้วยการยึดหลักมอบความรู้ข่าวสารอย่างเท่าเทียมกัน อีกทั้งควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้อันยึดหลักบรรยากาศร่มรื่นสงบ และควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอันยึดหลักตรึกตรองการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็กนักเรียน โดยทั้ง 3
หลักดังกล่าวควรมีความสอดคล้องกับหลักวิชาการของหลักสูตรขั้นพื้นฐานที่ตั้งมั่นอยู่ในหลักศีลธรรมจริยธรรมอันดีงามของทางพุทธศาสนาและสอดคล้องกับนโยบายแห่งรัฐ
This research served the purposes: 1) to study levels of school administrators’ and teachers’ opinions on academic affairs administrations by virtue of three principles of Sikkha (Threefold Trainings), 2) to compare levels of their opinions on such academic administrations to their different genders, ages and educational levels, 3) To advise on academic administration in accordance with such principles. The target schools in Roi Et province’s Mueang district had been administered by schools administrators under the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 1. The sampling groups were school administrators and teachers in the target schools, tallying 304 subjects. The research device was the five-rating scale, each of which possessed IOC between 0.67 and 1.00, and the reliability of the entire version at .96. Statistics used for processing data embodied frequency, means, standard deviations, t-test, F-tests (One-way ANOVA), Analyze data using computer. Results of the research: School administrators’ practical level of their academic administrations at the aforesaid schools has been found at the high scale in the overall aspect and each one, as has each aspect taken into consideration. To rank means of the practical levels of three aspects in descending order, they comprise practices of morality, wisdom and concentration respectively. Suggestions for school administrators’ academic affairs administrations with threefold trainings at aforesaid schools have been offered that that they should: first, deal with problems of developments for interrelationship on promotion and support of academic affairs for individuals, families, agencies and other institutions to render equal services of information; next, cope with developments of learning resource managements based on principles of peaceful ambience; then, solve problems of management developments of innovations and educational technologies with principles of prior thoughts of learning processes appropriate for pupils. With the said three suggestions, they should have to be in line with academic principles of basic curricula on the firm foundation of decent ethics and morality and policies of State’s policies.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารโรงเรียนและเปรียบเทียบการบริหาร โรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 324 คน โดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน ใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับจำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ.922 สถิติที่ใช้หาคุณภาพของเครื่องมือได้แก่ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความเชื่อมั่น สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างการบริหารงานโรงเรียนใช้สถิติที (t-test) และขนาดของโรงเรียน ใช้สถิติเอฟ (F–test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการวางแผนกลยุทธ์ขององค์การ รองลงมาคือ ด้านการกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงาน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดด้านการให้รางวัลตอบแทน 2. ผลการเปรียบเทียบทัศนะของครูต่อการบริหารโรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผล สัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและจำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารโรงเรียนและเปรียบเทียบการบริหาร โรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 324 คน โดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน ใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับจำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ.922 สถิติที่ใช้หาคุณภาพของเครื่องมือได้แก่ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความเชื่อมั่น สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างการบริหารงานโรงเรียนใช้สถิติที (t-test) และขนาดของโรงเรียน ใช้สถิติเอฟ (F–test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการวางแผนกลยุทธ์ขององค์การ รองลงมาคือ ด้านการกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงาน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดด้านการให้รางวัลตอบแทน 2. ผลการเปรียบเทียบทัศนะของครูต่อการบริหารโรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผล สัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและจำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
The purpose of this study was to study the level of school administration using the principle of performance management of school administrators and comparison of school administration using the principals of achievement management of school administrators as perceived by teachers under secondary educational service area office 19 classified by sex, work experience and school size. The sample size was 324 persons sample sizes were calculated using Krejcie & Morgan tables. The instrument used in this study was a questionnaire designed. A total of 30 questionnaires were used the reliability was .922. Statistics used to determine the quality of tools, such as content validity, confidence. The basic statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation. Statistics used for comparative analysis differences in school administration by gender, work experience and school size using t-test and school size using F-test. The results of the study were as follows :- 1. The administration of the institution. The overall level was at a high level the highest mean was organizational strategic planning, followed by the definition of performance indicators. The lowest mean of reward. 2. The results of the comparison of teachers' viewpoints on school administration using the principle of achievement management of school administrators. Classified by sex, work experience and school size. All aspects were statistically significant difference at .01 levels.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 2) ศึกษาคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือสังกัด สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และ 3) ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 73 แห่ง จำแนกเป็นสถานศึกษาระดับประถมศึกษาแต่ละเขตโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified style Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา/รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 361 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.96 และคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาได้ค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.97 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่า ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารจัดการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับงานวิชาการ 2. คุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือสังกัดสำนักการ ศึกษา กรุงเทพมหานคร มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน คือ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพที่ดีและมีสุนทรียภาพ และมาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ตามลำดับ 3. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร คือ ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา และด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับงานวิชาการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 29.50 (R2 = 0.295) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂ = 2.010+ 0.252(AT) + 0.236(FT) (R2 = 0.295) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 0.354 (ZFT) + 0.360 (ZAT) (R2 = 0.295)
การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 2) ศึกษาคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือสังกัด สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และ 3) ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 73 แห่ง จำแนกเป็นสถานศึกษาระดับประถมศึกษาแต่ละเขตโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified style Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา/รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 361 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.96 และคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาได้ค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.97 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่า ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารจัดการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับงานวิชาการ 2. คุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือสังกัดสำนักการ ศึกษา กรุงเทพมหานคร มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน คือ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพที่ดีและมีสุนทรียภาพ และมาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ตามลำดับ 3. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร คือ ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา และด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับงานวิชาการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 29.50 (R2 = 0.295) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂ = 2.010+ 0.252(AT) + 0.236(FT) (R2 = 0.295) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 0.354 (ZFT) + 0.360 (ZAT) (R2 = 0.295)
The objectives of the study were; 1) to study academic administration of primary school administrators in North Krungthon Group, Department of Education Bangkok Metropolitan Administration, 2) to study the quality of primary school students in North Krungthon Group, Department of Education Bangkok Metropolitan Administration, and 3) to study academic administration of school administrators affecting the quality of students in the primary schools, North Krungthon Group, Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration. The samples were 73 schools under North Krungthon Group, Department of Education Bangkok Metropolitan Administration. The data were collected by questionnaires regarding the academic administration of school administrator and quality of students from361 respondents consisting of school directors/deputy directors, heads of divisions and teacher. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The results of research were found that 1. The academic administration of primary school administrator in North Krungthon Group, Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration, was at a high level totally. The average score ranked from the highest to the lowest started with Learning management, followed by Research for improving the quality of education, and Educational quality assurance and academic work respectively. 2. The quality of primary school students in North Krungthon Group, Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration, was at a high level in total and in aspects. The highest level was on Standard 2: learners have morals, ethics and desirable values, followed by Standard 1: learners have good health and aesthetics, and Standard 4: learners have ability to think systematically, think creatively, and solve problems reasonably. 3. The academic administration of school administrator affected the quality of primary school students in North Krungthon Group, Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration with statistically significant figure at 0.01 in curriculum management and educational quality assurance with prediction coefficient value at 29.50 (R2 = 0.295). It could be written in regression equation analysis as follows: Raw Score Equation Y ̂ = 2.010+ 0.252(AT) + 0.236(FT) (R2 = 0.295) Standard Equation Z ̂y = = 0.354 (ZFT) + 0.360 (ZAT) (R2 = 0.295)
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ