Search results

6 results in 0.05s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นรูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จำแนกตาม เพศ ระดับชั้น และเกรดเฉลี่ยสะสม (GPA) 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นสังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 353 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ โดยแบ่งออกเป็น 6 รูปแบบการเรียนรู้ภาอังกฤษ มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ(Reliability) 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมุติฐานโดยใช้ค่า t – test (Independent Samples) และ F–test (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การเรียนรู้แบบร่วมมือรองลงมา คือการเรียนรู้แบบหลีกเลี่ยงส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ การเรียนรู้แบบอิสระ 2) ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 พบว่า นักเรียนที่มี เพศ ระดับชั้น และเกรดเฉลี่ยสะสม (GPA) ต่างกัน มีรูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สรุปได้ดังนี้ ด้านการเรียนรู้แบบแข่งขัน ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนเพื่อให้นักเรียนได้แข่งขันตอบปัญหาในชั่วโมงเรียน ด้านการเรียนรู้แบบร่วมมือ ครูควรจัดการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนได้รวมกลุ่มกันทำกิจกรรมในชั่วโมงเรียน ด้านการเรียนรู้แบบหลีกเลี่ยง ครูควรนำวีดีทัศน์ในเรื่องที่เรียนมาฉายให้นักเรียนดูทุกชั่วโมง ด้านการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ครูควรจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้มีส่วนในการแสดงความคิดเห็นในชั่วโมงเรียน ด้านการเรียนรู้แบบพึ่งพา ครูควรแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยโดยให้นักเรียนมีอิสระในการเลือกสมาชิกในกลุ่ม ด้านการเรียนรู้แบบอิสระครูควรจัดกิจกรรมการเรียนที่มีการมอบหมายเนื้อหาให้นักเรียนศึกษาตามเอกสารหรือหนังสือแบบเรียน
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นรูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จำแนกตาม เพศ ระดับชั้น และเกรดเฉลี่ยสะสม (GPA) 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นสังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 353 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ โดยแบ่งออกเป็น 6 รูปแบบการเรียนรู้ภาอังกฤษ มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ(Reliability) 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมุติฐานโดยใช้ค่า t – test (Independent Samples) และ F–test (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การเรียนรู้แบบร่วมมือรองลงมา คือการเรียนรู้แบบหลีกเลี่ยงส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ การเรียนรู้แบบอิสระ 2) ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 พบว่า นักเรียนที่มี เพศ ระดับชั้น และเกรดเฉลี่ยสะสม (GPA) ต่างกัน มีรูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสหวิทยาเขตสาเกตนคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สรุปได้ดังนี้ ด้านการเรียนรู้แบบแข่งขัน ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนเพื่อให้นักเรียนได้แข่งขันตอบปัญหาในชั่วโมงเรียน ด้านการเรียนรู้แบบร่วมมือ ครูควรจัดการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนได้รวมกลุ่มกันทำกิจกรรมในชั่วโมงเรียน ด้านการเรียนรู้แบบหลีกเลี่ยง ครูควรนำวีดีทัศน์ในเรื่องที่เรียนมาฉายให้นักเรียนดูทุกชั่วโมง ด้านการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ครูควรจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้มีส่วนในการแสดงความคิดเห็นในชั่วโมงเรียน ด้านการเรียนรู้แบบพึ่งพา ครูควรแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยโดยให้นักเรียนมีอิสระในการเลือกสมาชิกในกลุ่ม ด้านการเรียนรู้แบบอิสระครูควรจัดกิจกรรมการเรียนที่มีการมอบหมายเนื้อหาให้นักเรียนศึกษาตามเอกสารหรือหนังสือแบบเรียน
The objectives of this research were 1) to study an English learning model for junior high school students in the Saket City high school union under the office of The Secondary Educational Service Area Office 27, 2) to compare an English learning model for junior high school students in the Saket City high school union under the office of The Secondary Educational Service Area Office 27, classified by the different sex, class and grade point average (GPA),and 3) to find out the suggestions and recommendations related to an English learning model for junior high school students in the Saket City high school union under the office of The Secondary Educational Service Area Office 27 in semester 2017. The samples were 353, acquired by the purposive sampling method. The five rating scales questionnaire was used to collect the data, bearing 30 questions which were divided into 6 English Learning models, with its reliability of 0.92.The computer program was employed for data analysis, and the statistic tools comprised frequency, percentage, mean and standard deviation, t-test, and F-test (One-way ANOVA). The results of the study were as follows: 1. An English learning model or junior high school students in Sake City under union the office of The Secondary Educational Service Area Office 27 was found to be at the ‘MUCH’ level in both overall and individual aspects. The aspect that maintained the highest average was the participant style, followed by the avoidant style. And the item that was found to be at the lowest of the scale was the independent style . 2. To compare an English learning model for junior high school students in the Saket City high school, classified by the different sex, class and grade point average (GPA) was found that overall an English learning model not different. 3. The suggestions and recommendations proposed by an English learning model for junior high school students in the Saket City high school union under the office of The Secondary Educational Service Area Office 27 could be compiled as follows: For the competitive style should be do the activities for competition in the class, the collaborative style should be organized the class for group activities, the avoidant style should be brought the video about something to study in class for them, the participant style should be do the activities for cooperated with others, the dependent style should be divided students for groups work and they can choose the member in group and the independent style could be do the activities from student’s book.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)บริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)บริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557