Search results

1 results in 0.04s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปฏิบัติทางการปกครองตามหลัก สังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และ 3) เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บข้อมูลจากประชาชนผู้ใช้บริการผู้ใช้บริการที่สถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล จำนวน 4,498 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 368 คน ตามสูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) และมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาในแต่ละด้านโดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านงานอำนวยการ รองลงมาคือ ด้านงานสืบสวนสอบสวน และด้านงานจราจร และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านงานป้องกันปราบปราม ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่างกัน มีความคิดเห็น ต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมโดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ส่วนประชาชนที่มีเพศ และอายุ ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปฏิบัติทางการปกครองไม่แตกต่างกัน 3.
วิทยานิพนธ์มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปฏิบัติทางการปกครองตามหลัก สังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และ 3) เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บข้อมูลจากประชาชนผู้ใช้บริการผู้ใช้บริการที่สถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล จำนวน 4,498 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 368 คน ตามสูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) และมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาในแต่ละด้านโดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านงานอำนวยการ รองลงมาคือ ด้านงานสืบสวนสอบสวน และด้านงานจราจร และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านงานป้องกันปราบปราม ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่างกัน มีความคิดเห็น ต่อการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังควัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมโดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ส่วนประชาชนที่มีเพศ และอายุ ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปฏิบัติทางการปกครองไม่แตกต่างกัน 3.
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการปกครองตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมในแต่ละด้าน ดังนี้ ด้านงานอำนวยการ ควรมีปริมาณเจ้าหน้าที่ตำรวจมาอำนวยการให้บริการประชาชน ในการให้คำแนะนำต่างๆ อย่างทั่วถึง ในการรับผิดชอบเกี่ยวกับการดูแลเรื่องวินัยกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับโดยการทำงานนั้นเจ้าหน้าที่ตำรวจต้องรู้จักการให้ เช่น การให้ความช่วยเหลือ ให้คำแนะนำ ให้กำลังใจกับประชาชนที่มีความเดือดร้อนประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์ และประชาสัมพันธ์เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ประชาชนเพื่อความสงบสุขของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ด้านงานป้องกันปราบปรามตำรวจ ต้องใส่ใจและทำหน้าที่ในการป้องกันทั้งยาเสพติด และการเกิดอาชญากรรม เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนโดยการตั้งหน่วยบริการประชาชนหรือตั้งด่านตรวจชะลอการเกิดอุบัติเหตุกิจกรรมชุมชนมวลชนสัมพันธ์ ด้วยวาจา ที่เป็นประโยชน์ ยึดความปลอดภัยของประชาชนเป็นที่ตั้ง ด้านงานสืบสวนสอบสวนตำรวจ ไม่ควรปล่อยให้มีคดีตกค้างนานและสอบสวนอย่างโปร่งใสผู้บังคับบัญชาต้องคอยกวดขันและติดตามคดีต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความกระตือรือร้น ไปถึงที่เกิดเหตุโดยรวดเร็วมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับประชาชน ให้ระลึกอยู่เสมอว่า ประชาชนทุกคนก็เหมือนญาติพี่น้อง สิ่งไหนช่วยเขาได้ ก็ต้องช่วยด้วยความเต็มใจให้คำแนะนำที่ดีแก่ประชาชน ด้านงานจราจรควรปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาจราจรในชั่วโมงเร่งด่วนและภาวะปกติ หรือในกรณี มีอุบัติเกิดขึ้น พร้อมทั้งตรวจสภาพการจราจร ในถนนสายต่างๆ และบังคับใช้กฎหมายจราจร กับผู้ขับขี่ยานพาหนะอบรมบรรยาย ให้ความรู้ตามสถานศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ ให้ความรู้เกี่ยวกับกฎจราจร ระเบียบ ข้อบังคับ สัญญาณจราจร และเครื่องหมายจราจรต่างๆ แก่นักเรียน
The objectives of this research were: 1. to study administrative procedure according to Sangahavatthu of Phutthamonthon Police Station in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province, 2. to compare the opinions of service recipients on administrative procedure according to Sangahavatthu of Phutthamonthon Police Station in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province, and 3. to give recommendations on administrative procedure according to Sangahavatthu of Phutthamonthon Police Station in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province. The mixed research methods were used in the study. The quantitative data were collected by questionnaire from 368 samples of 4,498 service recipients at Phutthamonthon Police Station. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 5 key-informants. The statistics used in the research were frequency, percentage, mean, standard deviation and content analysis. The results of the study found that: 1.The people’s opinions on administrative procedure according to Sangahavatthu of Phutthamonthon Police Station in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province were at a high level overall. In descending order, the highest level was on Administrative work, followed by Investigation work, Traffic work, and Prevention and Suppression work respectively. 2.In comparative results, the people with different education level, occupation and income had different opinions on administrative procedure according to Sangahavatthu of Phutthamonthon Police Station with statistical significance at 0.05, but the difference was not on those with different gender and age. The suggestions were as follows: In Administrative work; there should be the police officers to give advice and supervise the discipline, laws, rules, and regulations. The police officers should provide advices and assistances to encourage people to overcome their troubles and to keep peacefulness in the area. In Prevention and Suppression; the police should pay attention and take an action to prevent both drugs and crimes for the safety of people's lives and properties. Checkpoints to slow down accidents, community activities, and public relations should be arranged for the safety of people. In Investigative work; the police shouldn't let the cases remain for a long time. Investigation should be performed transparently and enthusiastically under the supervision of supervisors. The police officers should reach the scene as soon as possible and have good human relations with people. In Traffic work; the traffic law should be strictly enforced all the time. The traffic laws and traffic regulations should be provided to people by propagation and training courses.