Search results

29 results in 0.05s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปรัชญาปฏิรูปนิยม 2. เพื่อศึกษาปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) 3. เพื่อเปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร โดยศึกษาจากเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิ ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า 1. ปรัชญาปฏิรูปนิยม สรุปว่า ปรัชญาปฏิรูปนิยมมีพื้นฐานมาจากปรัชญาปฏิบัตินิยม ผสมผสานกับปรัชญาพิพัฒนาการแนวคิดที่ ผสมผสานทำให้ปรัชญาปฏิรูปนิยมเน้นการศึกษาเพื่อสังคมเป็นสำคัญ โดยมีปรัชญาว่า ปฏิรูปสังคม เพื่อชีวิตที่ชาญฉลาด สามารถทำให้สิ่งแวดล้อมของตนเองดีขึ้น 2. ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปว่า ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นกระบวนการให้และการรับความรู้ ประสบการณ์ การปรับเปลี่ยนทัศนคติการสร้างจิตสำนึก สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยมีปรัชญาว่า ชีวิตที่สุขเกษมดีงาม ท่ามกลางธรรมชาติที่สมดุล ในสังคมที่สันติสุข 3. เปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปได้ดังนี้ 1) เปรียบเทียบหลักสูตรโดยทั้งสองปรัชญามุ่งเน้นความเป็นเลิศเฉพาะทางในด้านสังคม 2) เปรียบเทียบการบริหารการศึกษามุ่งเน้นพัฒนาครูเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกันของชุมชน 3) เปรียบเทียบบุคลากรทางการศึกษา มุ่งเน้นพัฒนาผู้บริหารเป็นสำคัญ 4) เปรียบเทียบการจัดการสถาบันการศึกษา มุ่งเน้นให้สถาบันเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน 5) เปรียบเทียบกระบวนการเรียนการสอนและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มุ่งเน้นการเรียนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและเน้นการสอนที่สอดคล้องกับสังคม 6) เปรียบเทียบทรัพยากรทางการศึกษา ปรัชญาทั้งสองลัทธิมุ่งเน้นทรัพยากรในการบริหารและทรัพยากรการศึกษาเป็นหลักสำคัญ
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปรัชญาปฏิรูปนิยม 2. เพื่อศึกษาปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) 3. เพื่อเปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร โดยศึกษาจากเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิ ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า 1. ปรัชญาปฏิรูปนิยม สรุปว่า ปรัชญาปฏิรูปนิยมมีพื้นฐานมาจากปรัชญาปฏิบัตินิยม ผสมผสานกับปรัชญาพิพัฒนาการแนวคิดที่ ผสมผสานทำให้ปรัชญาปฏิรูปนิยมเน้นการศึกษาเพื่อสังคมเป็นสำคัญ โดยมีปรัชญาว่า ปฏิรูปสังคม เพื่อชีวิตที่ชาญฉลาด สามารถทำให้สิ่งแวดล้อมของตนเองดีขึ้น 2. ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปว่า ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นกระบวนการให้และการรับความรู้ ประสบการณ์ การปรับเปลี่ยนทัศนคติการสร้างจิตสำนึก สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยมีปรัชญาว่า ชีวิตที่สุขเกษมดีงาม ท่ามกลางธรรมชาติที่สมดุล ในสังคมที่สันติสุข 3. เปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปได้ดังนี้ 1) เปรียบเทียบหลักสูตรโดยทั้งสองปรัชญามุ่งเน้นความเป็นเลิศเฉพาะทางในด้านสังคม 2) เปรียบเทียบการบริหารการศึกษามุ่งเน้นพัฒนาครูเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกันของชุมชน 3) เปรียบเทียบบุคลากรทางการศึกษา มุ่งเน้นพัฒนาผู้บริหารเป็นสำคัญ 4) เปรียบเทียบการจัดการสถาบันการศึกษา มุ่งเน้นให้สถาบันเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน 5) เปรียบเทียบกระบวนการเรียนการสอนและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มุ่งเน้นการเรียนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและเน้นการสอนที่สอดคล้องกับสังคม 6) เปรียบเทียบทรัพยากรทางการศึกษา ปรัชญาทั้งสองลัทธิมุ่งเน้นทรัพยากรในการบริหารและทรัพยากรการศึกษาเป็นหลักสำคัญ
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study Reconstructionism, 2) to study education philosophy of Somdet PhraPhutthaghosajahn (P.A. Payutto), and 3) to compare Reconstructionism and education philosophy of Somdet PhraPhutthaghosajahn (P.A. Payutto). The data of this documentary qualitative study were collected from the primary and secondary sources concerned. The results of the study found that: 1) The Reconstructionism is originated from the combination of pragmatism and progressivism by placing a focus on education for society. Its slogan is social reform for intellectual life and better environment. 2) The education philosophy of Somdet PhraPhutthaghosajahn (P.A. Payutto) is the process of giving and receiving experiences, attitude adjustment and building awareness in order to live a life in society appropriately. Its slogan is a good and happy life in balanced nature in a peaceful society. 3) It can be concluded from the comparison as follows: (1) In curriculum, both concepts place a focus on a specific excellence in society, (2) In educational administration, both concepts aim to develop teachers for problem solving in communities, (3) In educational personnel, education administrators are specially emphasized, (4) In educational institution management, both concepts accept educational institutes are the learning sources of communities, (5) In teaching and learning process and technology, student-centered learning and learning relevant to social contexts are focused, and (6) In educational resources, both philosophies emphasize administrative resources as well as educational resources.
หนังสือ

    เอกสาทางวิชาการ/ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ; หมายเลข 509
Note: เอกสาทางวิชาการ/ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ; หมายเลข 509
TOC:
  • 12 หมวดตัวชี้วัด สุขภาพวัยรุ่นและเยาวชนไทย
  • 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ
  • 4 ผลงานดีๆ เพื่อสุขภาพคนไทย
  • เรื่องพิเศษประจำวัน
  • ภาคผนวก
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ