Search results

373 results in 0.11s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรเทศบาลที่ปฏิบัติงานในเทศบาลตำบลต่างๆ ในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 319 โดยวิธีการใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ คือ ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1. บุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี มีการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับทุกครั้ง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการนำหลักมุทิตา อยู่ในระดับทุกครั้ง รองลงมา คือ ด้านการนำหลักเมตตา และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการนำหลักอุเบกขา อยู่ในระดับทุกครั้ง ตามลำดับ 2. ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ที่มีอายุ และประสบการณ์ทำงานต่างกัน มีการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ข้อเสนอแนะ 1) ด้านการนำหลักเมตตาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านมีความรักใคร่ปรารถนาดีกับเพื่อนน้อยมาก และไม่เสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานจึงควรตระหนักในหลักเมตตาธรรมและปรารถนาดีกับเพื่อนร่วมงานช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานเมื่อเพื่อนประสบความเดือดร้อน, 2) ด้านการนำหลักกรุณาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บางครั้งยังขาดความเห็นใจเพื่อนร่วมงานและไม่สนใจเมื่อเพื่อนเดือดร้อนควรช่วยแก้ไขปัญหาให้เมื่อเพื่อนร่วมงานเมื่อได้รับความเดือดร้อนให้ดีขึ้น, 3) ด้านการนำหลักมุทิตาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านไม่ได้สนใจเมื่อเพื่อนร่วมงานที่ได้รับรางวัลจากการทำความดีควรยินดีกับ เพื่อนร่วมงานที่ได้รับคำชมเชยและสนับสนุนนักเรียนให้กระทำแต่ความดีนั้น และ 4) ด้านการนำหลักอุเบกขาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านลำเอียงเมื่อเพื่อนร่วมงานมีการกระทำผิดกฎระเบียบควรมีใจเป็นกลางเมื่อเพื่อนร่วมงานได้รับโทษตามสภาพจริง
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรเทศบาลอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรเทศบาลที่ปฏิบัติงานในเทศบาลตำบลต่างๆ ในเขตอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 319 โดยวิธีการใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ คือ ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1. บุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี มีการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับทุกครั้ง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการนำหลักมุทิตา อยู่ในระดับทุกครั้ง รองลงมา คือ ด้านการนำหลักเมตตา และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการนำหลักอุเบกขา อยู่ในระดับทุกครั้ง ตามลำดับ 2. ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรเทศบาลในเขตอำเภอธัญบุรี อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ที่มีอายุ และประสบการณ์ทำงานต่างกัน มีการนำหลักพรหมวิหารธรรมไปใช้ในปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ข้อเสนอแนะ 1) ด้านการนำหลักเมตตาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านมีความรักใคร่ปรารถนาดีกับเพื่อนน้อยมาก และไม่เสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานจึงควรตระหนักในหลักเมตตาธรรมและปรารถนาดีกับเพื่อนร่วมงานช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานเมื่อเพื่อนประสบความเดือดร้อน, 2) ด้านการนำหลักกรุณาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บางครั้งยังขาดความเห็นใจเพื่อนร่วมงานและไม่สนใจเมื่อเพื่อนเดือดร้อนควรช่วยแก้ไขปัญหาให้เมื่อเพื่อนร่วมงานเมื่อได้รับความเดือดร้อนให้ดีขึ้น, 3) ด้านการนำหลักมุทิตาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านไม่ได้สนใจเมื่อเพื่อนร่วมงานที่ได้รับรางวัลจากการทำความดีควรยินดีกับ เพื่อนร่วมงานที่ได้รับคำชมเชยและสนับสนุนนักเรียนให้กระทำแต่ความดีนั้น และ 4) ด้านการนำหลักอุเบกขาไปใช้ในการปฏิบัติงาน คือ บุคลากรบางท่านลำเอียงเมื่อเพื่อนร่วมงานมีการกระทำผิดกฎระเบียบควรมีใจเป็นกลางเมื่อเพื่อนร่วมงานได้รับโทษตามสภาพจริง
This thematic paper had the objectives as follows: 1) to study An Application of the Principles of Brahmaviharadhamma to Duty Performance of Personnel of Municipalities in Thanya Buri District, Pathum Thani Province; 2) to An Application of the Principles of Brahmaviharadhamma to Duty Performance of Personnel of Municipalities in Thanya Buri District, Pathum Thani Province, classified by different personal factors of ages, genders, levels of education, and job experience; and 3) to study suggestions and solutions concerning An Application of the Principles of Brahmaviharadhamma to Duty Performance of Personnel of Municipalities in Thanya Buri District, Pathum Thani Province. The used research tools were questionnaires. The sample group were 319 residents in Thanyaburi District, Pathum Thani Province, sized by formula of Taro Yamane and Simple Random Sampling in collection of data. The used statistics were descriptive statistics, frequency, percentage, mean, standard deviation and inferential statistics including F-test and One-way ANOVA test. If differentiation was found, it was tested in a pare by mean of Scheffe and analyzed by computing. The results of research were found as follows: 1. Personnel of Thanyaburi Municipalities in Thanyaburi Province had applied the principle of Brahmaviharadhamma to duty performance, in the whole view of all 4 aspects at all times level. Having been considered in each aspects, they were found that the Aspect of An Application of the Principle of Mulita was at all times level, and the Aspect of An Application of the Principle of Metta, were at all times level respectively, while the Aspect of An Application of the Principle of Upekkha was in the lowest level. 2. The results of hypothesis-test were found that the personnel of Thanyaburi Municipalities in Thanya buri Province with different ages and job experiences, had applied differently the principle of Brahmaviharadhamma to duty performance, in the whole view of 4 aspects, in a statistical significant level of 0.05. 3. The people had suggested some problems and solutions concerning an application of the principle of Brahmaviharadhamma to duty performance of the personnel of municipalities in Thanyaburi District, Pathum Thani Province, as follows; 1) In the Aspect of An Application of the Principle of Metta, as some personnel had a little loving-kindness, friendliness and goodwill to their co-workers and they did not give up their own happiness for their co-workers, so they should realize the importance of the principle of Metta and should express loving-kindliness, friendliness and goodwill and help their co-workers whenever they suffered; 2) In the Aspect of An Application of the Principle of Karuna, as some times some personnel did not show compression to their co-workers, so they should pay more attention to their co-workers whenever they help to solve the problems or whenever they suffered; 3) In the Aspect of An Application of the Principle of Mudita, as some personnel did not express sympathetic joy or altruistic joy to their co-workers when they received rewards from their successful works, so they should express sympathetic joy and should encourage them to do more successful works; 4) In the Aspect of An Application of the Principle of Upekkha, as some personnel had some bias towards their co-workers when they were punished, so they should show equanimity, neutrality or poise towards their co-workers whenever they were punished in due process of law and regulations.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
The objective of this thesis were as follows; 1) to study the application of Sanghavatthu in work performance of the Local Administrative Organization Personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas: infrastructure, quality of life promotion, and management and conservation of natural resources and environment 2) to compare the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel Phuttamonthon district Nakhon Pathom province based on their sex age educational level and work experience, and 3) to propose a guidance on the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The quantitative data were collected from 196 samples by questionnaires and analyzed by frequency, mean, percentage, standard deviation, T-test, F-test, One-way ANOVA and LSD method. The qualitative data were collected by in-depth interview with 5 administrators of Local Administrative Organization in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The results of the study found that: 1) The application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas was at a high level overall. In details, the highest level was on management and conservation of natural resources and environment, followed by quality of life promotion, and infrastructure respectively. 2) From the hypothesis testing, the personnel with different sexes, ages, educational levels, and work experiences had no different levels in the application of Sangkhahawatthu in their performance. 3) The guidelines on the application of Sanghahavatthu in work performance of the local Administrative organization personnel in Phuttamonthon district of Nakhon Pathom province are that the personnel should be encouraged and supported in opinion exchange in work, in hospitality to each other, and in work motivation and responsibility.
หนังสือ