Search results

16 results in 0.08s

หนังสือ

    การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดจำแนกตามตำแหน่ง อายุ และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 127 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ค่า F-test และวิเคราะห์เพื่อหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Bonferroni ผลการวิจัย พบว่า 1. ค่าเฉลี่ยการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่พบว่า ค่าเฉลี่ยของระดับการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านเมตตา รองลงมา คือ ด้านอุเบกขา และด้านกรุณา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านมุทิตา 2. ค่าเฉลี่ยของการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีอายุ และประสบการณ์การทำงานต่างกัน ด้านเมตตา ด้านกรุณา ด้านมุทิตา ด้านอุเบกขา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน และค่าเฉลี่ยของการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีตำแหน่งต่างกัน ด้านเมตตา ด้านกรุณา ด้านอุเบกขา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านมุทิตา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าพนักงานตามภารกิจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึกษาข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่พบว่า 1) ด้านเมตตา ครูผู้ดูแลเด็กควรมีความโอบอ้อมอารีต่อเด็กนักเรียนทุกระดับชั้น ทุกคนตลอดจนผู้ปกครองของนักเรียนทุกคน 2) ด้านกรุณา ครูผู้ดูแลเด็กควรให้ความช่วยเหลือนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะเด็กนักเรียนที่ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ 3) ด้านมุทิตา ครูผู้ดูแลเด็กควรย่องชมเชย แสดงความยินดี หรือมอบรางวัลให้กับนักเรียนที่ได้กระทำความดีตามโอกาสอันควร 4) ด้านอุเบกขา ครูผู้ดูแลเด็กควรปกครองเด็กนักเรียนในชั้นเรียนด้วยความเป็นธรรม มีความยุติธรรม และให้ความเสมอภาคแก่นักเรียนทุกคนโดยเท่าเทียมกัน
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดจำแนกตามตำแหน่ง อายุ และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 127 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ค่า F-test และวิเคราะห์เพื่อหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Bonferroni ผลการวิจัย พบว่า 1. ค่าเฉลี่ยการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่พบว่า ค่าเฉลี่ยของระดับการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านเมตตา รองลงมา คือ ด้านอุเบกขา และด้านกรุณา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านมุทิตา 2. ค่าเฉลี่ยของการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีอายุ และประสบการณ์การทำงานต่างกัน ด้านเมตตา ด้านกรุณา ด้านมุทิตา ด้านอุเบกขา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน และค่าเฉลี่ยของการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีตำแหน่งต่างกัน ด้านเมตตา ด้านกรุณา ด้านอุเบกขา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านมุทิตา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าพนักงานตามภารกิจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึกษาข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่พบว่า 1) ด้านเมตตา ครูผู้ดูแลเด็กควรมีความโอบอ้อมอารีต่อเด็กนักเรียนทุกระดับชั้น ทุกคนตลอดจนผู้ปกครองของนักเรียนทุกคน 2) ด้านกรุณา ครูผู้ดูแลเด็กควรให้ความช่วยเหลือนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะเด็กนักเรียนที่ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ 3) ด้านมุทิตา ครูผู้ดูแลเด็กควรย่องชมเชย แสดงความยินดี หรือมอบรางวัลให้กับนักเรียนที่ได้กระทำความดีตามโอกาสอันควร 4) ด้านอุเบกขา ครูผู้ดูแลเด็กควรปกครองเด็กนักเรียนในชั้นเรียนด้วยความเป็นธรรม มีความยุติธรรม และให้ความเสมอภาคแก่นักเรียนทุกคนโดยเท่าเทียมกัน
The research served the purposes: 1) to study child minders-cum-teachers’ applications of Buddhism’s four sublime states of mind (Brahmavihara) to their work performances at preschoolers’ healthcare centres of Buddhism’s meritorious schools though Kaset Wisai district of Roi Et province, 2) to draw comparisons between their applications with different variables of their positions, ages, and work experiences, 3) to examine suggestions for enhancing their applications of its four sublime states of mind to their work performances at preschoolers’ healthcare centres of such schools. The sampling groups comprised 127 child minders-cum-teachers working at preschoolers’ healthcare centres mentioned. The research instrument was the questionnaire with content validity of each question ranging from 0.67 to 1.00, and reliability at 0.95. Data were processed with the computer software package to seek for frequencies, percentages, arithmetic means, standard deviations, F-test for testing differences of arithmetic means, and pair differences through Bonferroni’s method. Results of findings: 1. Arithmetic means of child minders-cum-teachers’ applications of Buddhism’s four sublime states of mind to their work performances at preschoolers’ healthcare centres of Buddhism’s meritorious schools throughout Kaset Wisai district of Roi Et province have been found using at the high scale in the overall aspect. With one single aspect taking into consideration, the aspect with the high arithmetic mean is loving kindness (Metta). The next two aspects with lower arithmetic means are equanimity (Upekkha) and compassion (Karuna). The remaining aspect with the lowest arithmetic mean is sympathetic joy (Mudita). 2. Arithmetic means of child minders-cum-teachers’ applications of Buddhism’s four sublime states of mind to their work performances at preschoolers’ healthcare centres of meritorious schools belonging to Buddhist temples throughout Kaset Wisai district of Roi Et province have confirmed that their different ages and work experiences have the same arithmetic means of their applications in each of four aspects and the overall one. Likewise, their different positions have manifested the same arithmetic means in the overall aspect in loving kindness (Metta), compassion (Karuna) and equanimity (Upekkha). Unlike their different positions, arithmetic means of using sympathetic joy (Mudita) have become different with the statistical significance level at 05. Precisely, the sampling groups with state officials have had higher arithmetic means of their applications than those with interim authorities, with the statistical significance level at .05. 3. Results of studying suggestions for enhancing child minders-cum-teachers’ applications of Buddhism’s four sublime states of mind to their work performances at preschoolers’ healthcare centres of meritorious schools belonging to Buddhist temples throughout Kaset Wisai district of Roi Et province have been recommended as follows: 1) As to loving kindness (Metta), child minders-cum-teachers ought to be generous to every preschooler at all levels, including every preschooler’s guardians. 2) Relating to compassion (Karuna), they should render assistance to every preschooler, especially those who are unable to help themselves. 3) Regarding sympathetic joy (Mudita), they should be honoured, praised, congratulated and prizes given in a suitable occasion to those who have performed good deeds. 4) Concerning equanimity, they should have to take good care of every preschooler in the class with fairness and justice, giving equality to each of them all.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ ทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถาน ศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 190 คน ได้จากการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จากตารางเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบมาตรา ส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ (t–test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ กลุ่มอำนวยการ กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และกลุ่มการจัดการศึกษานอกระบบและจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน พบว่า ครูผู้สอนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการศึกษาเพิ่มเติม การสัมมนาวิชาการ การศึกษาดูงาน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ผลักดันให้มีการบรรจุบุคลากรให้เป็นข้าราชการ เพื่อทำให้เกิดมั่นคงก้าวหน้า ควรมีการจัดสวัสดิการให้บุคลากรอย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้นต่อไป มุ่งเน้นให้ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนิน งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน ส่งเสริมให้มีกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ ทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถาน ศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 190 คน ได้จากการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จากตารางเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบมาตรา ส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ (t–test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ กลุ่มอำนวยการ กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และกลุ่มการจัดการศึกษานอกระบบและจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน พบว่า ครูผู้สอนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการศึกษาเพิ่มเติม การสัมมนาวิชาการ การศึกษาดูงาน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ผลักดันให้มีการบรรจุบุคลากรให้เป็นข้าราชการ เพื่อทำให้เกิดมั่นคงก้าวหน้า ควรมีการจัดสวัสดิการให้บุคลากรอย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้นต่อไป มุ่งเน้นให้ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนิน งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน ส่งเสริมให้มีกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง
The objectives of this thesis were 1) to study the teachers’ opinions toward the administration based on the Four Sublime States of Mind of the administrators in the schools under the Roi Et Informal and Non-Formal Education Office, 2) to compare the teachers’ opinions in mention classified by gender, age, education and working experiences and 3) to compile the related recommendations as suggested by the teachers in the said schools. The samples consisted of 190 teachers, the size of which was designed under the Krejcie and Morgan. The tool used in data collec-tion was the five-rating scale questionnaire, with its reliability value at 0.95. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation t-test and one-way ANOVA The research results were found as follows: 1) The administration based on the Four Sublime States of Mind of the school administrators under the Roi Et Informal and Non-Formal Education Office according to the teachers’ opinions was, in an overall aspect, found to stand at the highest level, with the aspect that showed the highest average was the director group, followed by the network and special activity group, and the informal and non-formal education group, respectively. 2) The comparison of the teachers’ opinions relevant to the so-said adminis-tration of the school administrators as mentioned, classified by sex, age, education, and working experience, was found to show no statistically significant difference. 3) The recommendations as suggested by the respondents comprised the following: 1. Continuous development of personnel. 2. Promotion of further education among the staff members. 3. Regular organization of seminars, observation trips and exchange of working experience. 4. Taking it as top priority to recruit provisional employments. 5. Arrangement of welfare programs. 6. Enhancement of the commu-nities and network partners to play a role in promoting and supporting the operation of informal and non-formal education. 7. Cooperation with network partners to drive community learning activities in order to strengthen relationships and increase efficiency in working together in various forms.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559