Search results

8 results in 0.08s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่าหลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ 2. เปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ วุฒิการศึกษา หลักความโปร่งใสแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์ ควรมีความโปร่งใสในเรื่องการบริหารงานด้านงบประมาณ การเงิน พัสดุ และสามารถตรวจสอบได้ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผน และกำหนดนโยบายต่าง ๆ ของโรงเรียน การบริหารงานธุรการ การเงิน งบประมาณ พัสดุ โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน และการใช้งบประมาณต่าง ๆ ของโรงเรียน
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่าหลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ 2. เปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ วุฒิการศึกษา หลักความโปร่งใสแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์ ควรมีความโปร่งใสในเรื่องการบริหารงานด้านงบประมาณ การเงิน พัสดุ และสามารถตรวจสอบได้ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผน และกำหนดนโยบายต่าง ๆ ของโรงเรียน การบริหารงานธุรการ การเงิน งบประมาณ พัสดุ โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน และการใช้งบประมาณต่าง ๆ ของโรงเรียน
The objectives of the research were 1) to study the situation of An Approach of Good Governance- Based Administration for Phrapariyattidhamma Schools, General Education Division in Kalasin Province, 2) to compare the so-said administration, classified by gender, age and education, and 3) to compile the related recommendations as suggested by the respondents. The population consisted of the staff members of those schools, totally 109 in number. The device used to collect the information was the five-rating scale questionnaire with the rate of 0.67-1.00 in terms of content validity and the rate of .93 in terms of reliability. The findings can be summarized as follows: 1) The situation of the good governance-based administration employed by the ecclesiastical high schools under the Education Office of Kalasin Province was, in an overall aspect, found to stand at the ‘MUCH’ level. In an individual aspect, the item that was ranked on top of the scale in terms of mean was the rule of law, followed by morality, transparency, cost-coverage, participation and accountability, respectively. 2) The comparison of the so-said administration classified by gender was, in both overall and individual aspects, found to show no difference, but the comparison by age and education in almost all aspects displayed no difference, except in the aspect of transparence where it showed the statistically significant difference at .05. 3) The related recommendations suggested by the respondents can be described as follows: 1) The administration of budget, finance and premises needs transparence and check & balance strategy. 2) Planning and policy designing are suggested to welcome the staff members’ participation. 3) The administration of all affairs needs participation of all parties concerned.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับและความเหมาะสมของตัวแปรโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 2) เพื่อศึกษาความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) เพื่อศึกษาขนาดอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา และ 4) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาที่ได้พัฒนาขึ้น โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จำนวน 340 โรง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน และครู จำนวน 680 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 0.8 – 1.0 มีค่าอำนาจจำแนก เท่ากับ 0.36 – 0.86 และมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) และการวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (PATH) หรือ SEM (A STRUCTURAL EQUATION MODEL) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์สถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาระดับและความเหมาะสมของตัวแปรโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ได้ตัวแปรจำนวน 71 ตัวแปร และผ่านเกณฑ์ค่าเฉลี่ยที่กำหนดอยู่ในระดับมาก จึงมีความเหมาะสมในการคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้าง 2. ผลการศึกษาความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าไค-สแควร์ (χ 2) = 11.63, df = 22, P-value = 0.97, χ 2/df = 0.53, GFI = 1.00, AGFI = 1.00, CFI = 1.00, RMR = 0.00 และค่า RMSEA = 0.00 แสดงได้ว่าไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ จึงกล่าวได้ว่าโมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับและความเหมาะสมของตัวแปรโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 2) เพื่อศึกษาความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) เพื่อศึกษาขนาดอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา และ 4) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาที่ได้พัฒนาขึ้น โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จำนวน 340 โรง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน และครู จำนวน 680 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 0.8 – 1.0 มีค่าอำนาจจำแนก เท่ากับ 0.36 – 0.86 และมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) และการวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (PATH) หรือ SEM (A STRUCTURAL EQUATION MODEL) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์สถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาระดับและความเหมาะสมของตัวแปรโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ได้ตัวแปรจำนวน 71 ตัวแปร และผ่านเกณฑ์ค่าเฉลี่ยที่กำหนดอยู่ในระดับมาก จึงมีความเหมาะสมในการคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้าง 2. ผลการศึกษาความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าไค-สแควร์ (χ 2) = 11.63, df = 22, P-value = 0.97, χ 2/df = 0.53, GFI = 1.00, AGFI = 1.00, CFI = 1.00, RMR = 0.00 และค่า RMSEA = 0.00 แสดงได้ว่าไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ จึงกล่าวได้ว่าโมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3.
ผลการศึกษาอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลทางตรงเรียงลำดับจากค่ามากไปหาค่าน้อย ดังนี้คือ ปัจจัยแรงจูงใจ มีค่าอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.42 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ปัจจัยความคิดสร้างสรรค์ (มีค่าอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.41 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และปัจจัยอัตมโนทัศน์ มีค่าอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.12 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลทางอ้อมเรียงลำดับจากค่ามากไปหาค่าน้อย คือ ปัจจัยแรงจูงใจ มีอิทธิพลทางอ้อมต่อภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีโดยมีตัวแปรส่งผ่านคือปัจจัยความคิดสร้างสรรค์ มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.09 อย่างไม่มีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 และมิอิทธิพลทางอ้อมต่อภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีโดยมีตัวแปรส่งผ่านคือปัจจัยอัตมโนทัศน์ มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.06 อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่า สัมประสิทธิ์อิทธิพลรวม พบว่า ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลรวมของตัวแปรสาเหตุที่มี อิทธิพลรวมต่อภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมี โดยเรียงลำดับตามค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลจากมากไปหา น้อยดังนี้ ปัจจัยแรงจูงใจมีค่าอิทธิพลโดยรวมเท่ากับ 0.84 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ปัจจัยความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) มีค่าอิทธิพลโดยรวมเท่ากับ 0.41 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และปัจจัยอัตตมโนทัศน์ (Self-concept) มีค่าอิทธิพลโดยรวมเท่ากับ 0.18 อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีสัดส่วนความเชื่อถือได้ในตัวแปรภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีที่ อธิบายได้ด้วยปัจจัยเชิงสาเหตุได้ร้อยละ 77 4. ผลศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงศรัทธาบารมีของผู้บริหารโรงเรียนปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาที่ได้พัฒนาขึ้น จากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 รูป/คน พบว่า โมเดลสามารถนำไปสู่การปฏิบัติและปรับปรุงคุณภาพการบริหารงานโรงเรียนให้ได้มาตรฐานต่อไป
The objectives of this research were: 1) To study the level and suitability of the variables structural equation model of charismatic leadership for the Phrapariyattidhamma schools administrators, general education department, 2) To study harmony structural equation model of charismatic leadership for the Phrapariyattidhamma schools administrators, general education department by the researcher consistent with empirical data with criterion, 3) To study the magnitude, direct and indirect influences and the total influence of causal factors on charismatic leadership for the Phrapariyattidhamma schools administrators, general education department and, 4) to study suggestions for development guidance of charismatic leadership for the Phrapariyattidhamma schools administrators, general education department developed. The study was a mixed research methodology. The simple was collected from 340 samples consisting of Phrapariyattidhamma schools, vice-directors, and teachers in 680 private Special Education Schools, The research instruments were semi-structured interviews, questionnaires, and confirmation or certification forms through 5-rating scale questionnaires by IOC; 0.8-1.0 discriminatory power equal to 0.36-0.86 with reliability at 0.97. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, skewness, kurtosis and confirmation composition analysis (CFA) and influence path analysis A Structural Equation Model (SEM) using. The results of the study were as follows: 1. The study level and suitability of the variables structural equation model of charismatic leadership for the Phrapariyattidhamma schools administrators, general education department was found 71 variables of faith leadership, charisma and pass the mean of skew values, the kudges are at a high level. Therefore, appropriate selection is defined in the structural relationship model. 2. The reason of study harmony structural equation model of charismatic leadership for the Phrapariyattidhamma schools administrators, general education department by the researcher consistent with empirical data with criterion as follows : Chi-square (χ2) = 11.63, degrees of freedom (df) = 22, statistical significance (P-value) = 0.97, proportion value (χ2/df) = 0.53, goodness of fit index (GFI) = 1.00, adjusted goodness of fit index (AGFI) = 1.00, comparative fit index (CFI) = 1.00, root mean square residual (RMR) = 0.00, and root mean square error of approximation (RMSEA) = 0.00, there was no statistical significance and the model is consistent with the empirical data based on the assumptions made. 3. To study the magnitude, direct and indirect influences and the total influence of causal factors on charismatic leadership for the Phrapariyattidhamma schools administrators, general education department developed as follows : The motivation for direct magnitude of 0.42 was statistically significant at 0.01 level, the creative for direct magnitude of 0.41 was statistically significant at 0.01 level and the self-concept for direct magnitude of 0.12 was statistically significant at 0.01 level. The indirect influences by the average from high to low that the motivation was influence of causal factors on charismatic leadership to variable passed creative factor has a coefficient of influence equal to 0.09 was statistically significant at 0.05 level, and the indirect influences of causal factors on charismatic leadership to variable passed by self-concept has a coefficient of influence equal to 0.06. was statistically significant at 0.05 level. The proportion in reliability coefficient of causal factor could explain the charismatic leadership for approximate 77% 4. To study the suggestions for development guidance of charismatic leadership for the Phrapariyattidhamma schools administrators, general education department developed. The verify results from 17 experts as follows : models can lead to practice and continue to improve the quality of school administration.
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 2) สร้างรูปแบบการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จำนวน 199 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน และครูผู้สอน รวม 696 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.6-1.0 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.34-0.85 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 19 องค์ประกอบ 105 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า ได้ 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การจัดทำแผนงานวิชาการ 2) การจัดการเรียนรู้ 3) การปฏิบัติงาน 4) การมีส่วนร่วมทางการศึกษา และ 5) การติดตามผลการศึกษา จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า รูปแบบการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยองค์ประกอบหลักที่มีค่ามากที่สุด คือ การจัดการเรียนรู้ รองลงมา คือ การติดตามผลการศึกษา การปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมทางการศึกษา และการจัดทำแผนงานวิชาการ ตามลำดับ และมีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 11.311, dF = 9, P-value = .255, GFI = .998, AGFI = .964 และ RMSER = .019 แสดงได้ว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.53 (X ̅ = 4.53) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองที่ผู้วิจัยกำหนด คือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 2) สร้างรูปแบบการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จำนวน 199 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน และครูผู้สอน รวม 696 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.6-1.0 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.34-0.85 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 19 องค์ประกอบ 105 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า ได้ 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การจัดทำแผนงานวิชาการ 2) การจัดการเรียนรู้ 3) การปฏิบัติงาน 4) การมีส่วนร่วมทางการศึกษา และ 5) การติดตามผลการศึกษา จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า รูปแบบการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยองค์ประกอบหลักที่มีค่ามากที่สุด คือ การจัดการเรียนรู้ รองลงมา คือ การติดตามผลการศึกษา การปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมทางการศึกษา และการจัดทำแผนงานวิชาการ ตามลำดับ และมีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 11.311, dF = 9, P-value = .255, GFI = .998, AGFI = .964 และ RMSER = .019 แสดงได้ว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.53 (X ̅ = 4.53) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองที่ผู้วิจัยกำหนด คือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this research were as follows : 1) to study the components of the academic administration model for phrapariyattidhamma school administrators, general education department, 2) to create an of the academic administration model for phrapariyattidhamma school administrators, and 3) to evaluate and affirm the of the academic administration model for phrapariyattidhamma school administratored. The mixed research methodology was used in the study. The research instruments were semi-structured interviews, questionnaires and confirmation or certification forms through 5-rating scale questionnaires by IOC; 0.6-1.0 discriminatory power equal to 0.34-0.85 with reliability at 0.97, The data were consisting of school directors, vice-directors, and teachers in 199 phrapariyattidhamma schools. The analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis, and confirmatory factor analysis. The results of this research found that : 1. The components of an academic administration model for phrapariyattidhamma schools administration, general education department consist of 19 components and 105 variables. 2. The an academic administration model for phrapariyattidhamma schools administration, general education department from exploratory factor analysis (EFA) has 5 main components; 1) Academic planning 2) Learning management 3) Operations 4) Educational participation and 5) Academic monitoring. The results of confirmatory factor analysis (CFA) indicated that the highest value was on Learning management, followed by Academic monitoring, Operation, Educational participation and Academic planning respectively. The model of academic administration model for phrapariyattidhamma schools administration, general education department has a chi-square value = 11.311, DF = 9, P-value = .255, GFI = .998, AGFI = .964, and RMSER = .019. This result indicates that the model is consistent with the empirical data. 3. The evaluation and confirmation of the model from experts in its propriety, accuracy, feasibility, and utility is at 4.53 (X ̅ = 4.53), higher than the set criteria at  = 3.51. That means the model is approved.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • 6 ทศวรรษบนเส้นทางจากราชการสู่การบริหารคุณภาพ มจธ. บทความ/บทสัมภาษณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ
  • สังคมปริวรรต พิพัฒน์อนาคต 60 ปี แห่งการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 6 ทศวรรษบนเส้นทางราชการสู่การบริหารคุณภาพ มจธ.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ ทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถาน ศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 190 คน ได้จากการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จากตารางเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบมาตรา ส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ (t–test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ กลุ่มอำนวยการ กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และกลุ่มการจัดการศึกษานอกระบบและจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน พบว่า ครูผู้สอนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการศึกษาเพิ่มเติม การสัมมนาวิชาการ การศึกษาดูงาน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ผลักดันให้มีการบรรจุบุคลากรให้เป็นข้าราชการ เพื่อทำให้เกิดมั่นคงก้าวหน้า ควรมีการจัดสวัสดิการให้บุคลากรอย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้นต่อไป มุ่งเน้นให้ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนิน งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน ส่งเสริมให้มีกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ ทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถาน ศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 190 คน ได้จากการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จากตารางเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบมาตรา ส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ (t–test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ กลุ่มอำนวยการ กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และกลุ่มการจัดการศึกษานอกระบบและจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน พบว่า ครูผู้สอนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการศึกษาเพิ่มเติม การสัมมนาวิชาการ การศึกษาดูงาน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ผลักดันให้มีการบรรจุบุคลากรให้เป็นข้าราชการ เพื่อทำให้เกิดมั่นคงก้าวหน้า ควรมีการจัดสวัสดิการให้บุคลากรอย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้นต่อไป มุ่งเน้นให้ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนิน งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน ส่งเสริมให้มีกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง
The objectives of this thesis were 1) to study the teachers’ opinions toward the administration based on the Four Sublime States of Mind of the administrators in the schools under the Roi Et Informal and Non-Formal Education Office, 2) to compare the teachers’ opinions in mention classified by gender, age, education and working experiences and 3) to compile the related recommendations as suggested by the teachers in the said schools. The samples consisted of 190 teachers, the size of which was designed under the Krejcie and Morgan. The tool used in data collec-tion was the five-rating scale questionnaire, with its reliability value at 0.95. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation t-test and one-way ANOVA The research results were found as follows: 1) The administration based on the Four Sublime States of Mind of the school administrators under the Roi Et Informal and Non-Formal Education Office according to the teachers’ opinions was, in an overall aspect, found to stand at the highest level, with the aspect that showed the highest average was the director group, followed by the network and special activity group, and the informal and non-formal education group, respectively. 2) The comparison of the teachers’ opinions relevant to the so-said adminis-tration of the school administrators as mentioned, classified by sex, age, education, and working experience, was found to show no statistically significant difference. 3) The recommendations as suggested by the respondents comprised the following: 1. Continuous development of personnel. 2. Promotion of further education among the staff members. 3. Regular organization of seminars, observation trips and exchange of working experience. 4. Taking it as top priority to recruit provisional employments. 5. Arrangement of welfare programs. 6. Enhancement of the commu-nities and network partners to play a role in promoting and supporting the operation of informal and non-formal education. 7. Cooperation with network partners to drive community learning activities in order to strengthen relationships and increase efficiency in working together in various forms.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ การบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 3) เพื่อศึกษาเสนอแนะการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 และกลุ่มบุคลากรในสถานประกอบการ จำนวน 254 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .92 ผลการวิจัยพบว่า: 1.สภาพปัจจุบันการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้าน ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวัดและการประเมินผล รองลงมา คือ ด้านการจัดหลักสูตร ด้านการจัดการฝึกอาชีพ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน และสภาพที่พึงประสงค์การบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวัดและการประเมิน ผล รองลงมา คือ ด้านการจัดหลักสูตร ด้านการจัดการฝึกอาชีพ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน 2. ความต้องการจำเป็นการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 พบว่า ความต้องการจำเป็นโดยรวมมีค่าเฉลี่ย = 0.22 เมื่อพิจารณาด้านที่มีความต้องจำเป็นสูงที่สุดคือ ด้านการจัดการเรียนการสอน มีค่า PNImodified = 0.23 รองลงมาคือ ด้านการจัดการฝึกอาชีพ ค่า PNImodified = 0.21 ด้านการจัดหลักสูตร ค่า PNImodified = 0.21 ส่วนด้านที่มีความต้องจำเป็นต่ำสุดคือ ด้านการวัดและการประเมินผล ค่า PNImodified = 0.19 3.ข้อเสนอแนะการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบัน การอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 สถานศึกษาและสถานประกอบควรร่วมมือกันจัดการสอนทฤษฎีและขั้นตอนการฝึกปฏิบัติงานให้ครอบคลุมหลักสูตร ควรจัดให้มีการวิเคราะห์เนื้อหาการสอนทฤษฎีให้สอดคล้องกับการสอนปฏิบัติในสถานประกอบการ จัดกิจกรรม การปฏิบัติที่เป็นประสบการณ์ตรงต่อการประกอบอาชีพและทักษะอาชีพ ดำเนินงานที่เป็นระบบและมีผลลัพธ์ด้านความสำเร็จ ควรมีรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับขนาดของกลุ่มผู้เรียน สถานประกอบ การควรจัดให้มีการวัดผลและประเมินผลในการฝึกงานเป็นระยะตลอดภาคเรียน
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ การบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 3) เพื่อศึกษาเสนอแนะการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 และกลุ่มบุคลากรในสถานประกอบการ จำนวน 254 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .92 ผลการวิจัยพบว่า: 1.สภาพปัจจุบันการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้าน ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวัดและการประเมินผล รองลงมา คือ ด้านการจัดหลักสูตร ด้านการจัดการฝึกอาชีพ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน และสภาพที่พึงประสงค์การบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวัดและการประเมิน ผล รองลงมา คือ ด้านการจัดหลักสูตร ด้านการจัดการฝึกอาชีพ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน 2. ความต้องการจำเป็นการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 พบว่า ความต้องการจำเป็นโดยรวมมีค่าเฉลี่ย = 0.22 เมื่อพิจารณาด้านที่มีความต้องจำเป็นสูงที่สุดคือ ด้านการจัดการเรียนการสอน มีค่า PNImodified = 0.23 รองลงมาคือ ด้านการจัดการฝึกอาชีพ ค่า PNImodified = 0.21 ด้านการจัดหลักสูตร ค่า PNImodified = 0.21 ส่วนด้านที่มีความต้องจำเป็นต่ำสุดคือ ด้านการวัดและการประเมินผล ค่า PNImodified = 0.19 3.ข้อเสนอแนะการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบัน การอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 สถานศึกษาและสถานประกอบควรร่วมมือกันจัดการสอนทฤษฎีและขั้นตอนการฝึกปฏิบัติงานให้ครอบคลุมหลักสูตร ควรจัดให้มีการวิเคราะห์เนื้อหาการสอนทฤษฎีให้สอดคล้องกับการสอนปฏิบัติในสถานประกอบการ จัดกิจกรรม การปฏิบัติที่เป็นประสบการณ์ตรงต่อการประกอบอาชีพและทักษะอาชีพ ดำเนินงานที่เป็นระบบและมีผลลัพธ์ด้านความสำเร็จ ควรมีรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับขนาดของกลุ่มผู้เรียน สถานประกอบ การควรจัดให้มีการวัดผลและประเมินผลในการฝึกงานเป็นระยะตลอดภาคเรียน
The purposes of this study were to 1) study the current condition, Desirable condition of Bilateral system administration vocational education based on the four paths to accomplishment in Technical colleges under vocational institute of Northeast region 3 2) study the needs of Bilateral system administration vocational education based on the four paths to accomplishment in Technical colleges under vocational institute of Northeast region 3 3) study the suggestions of Bilateral system admini-stration vocational education based on the four paths to accomplishment in Technical colleges under vocational institute of Northeast region 3.The sample group used in this research was 254 personnel of Technical under vocational institute of Northeast region 3 and the group of personnel in establishment. The instrument used for data collection was a 5 rating scale questionnaire with content validity equal to 0.67-1.00 and the confidence was 0.92. The results of this study found that: 1.The current condition of Bilateral system administration vocational education based on the four paths to accomplishment in Technical colleges under vocational institute of Northeast region 3. Overall is at a medium level. When considering each aspect, it was found that measurement and evaluation was the highest average value, followed by curriculum management, vocational management, and the lowest was instructional management. 2.The needs of Bilateral system administration vocational education based on the four paths to accomplishment in Technical colleges under vocational institute of Northeast region 3found that the overall needs were average = 0.22. When considering the most needed was instructional management PNImodified = 0.23, followed by vocational management PNImodified = 0.21, the curriculum management PNImodified = 0.21, whereas the lowest need was measurement and evaluation PNImodified = 0.19. 3.Recommendations for Bilateral system administration vocational education based on the four paths to accomplishment in Technical colleges under vocational institute of Northeast region 3were schools and establishment should collaborate to provide the theory and training to cover the curriculum. The content of theoretical teaching should be provided in accordance with establishment, organize practical activities that were direct experience towards careers and profession skills, perform systematic tasks and had successful results. There should be activity forms suitable for learner group, and the establishment should provide assessments and evaluations of internships throughout the semester.
หนังสือ

    การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จำนวน 97 แห่ง จำแนกเป็นสถานศึกษาระดับประถมศึกษาแต่ละอำเภอโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Style Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 380 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 และการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านความรู้ ความคิด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านเทคนิค ด้านมนุษย์ และด้านมโนภาพ ตามลำดับ 2.การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 47 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ด้านการส่ง เสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ และด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถาน ศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านมโนภาพ ด้านการศึกษาและการสอน และด้านความรู้ ความคิด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ ร้อยละ 77.10 (R2 = 0.771) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂ = 0.735 + 0.157 (BT) + 0.250 (ET) + 0.263 (CT)+ 0.098 (AT) (R2 = 0.771) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 3.634 (ZBT) + 2.703 (ZET) +3.948 (ZCT) +2.770 (ZAT) (R2 = 0.771) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาด้านมนุษย์ (DT) ไม่ส่งผลต่อการบริหาร งานวิชาการของสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จำนวน 97 แห่ง จำแนกเป็นสถานศึกษาระดับประถมศึกษาแต่ละอำเภอโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Style Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 380 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 และการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านความรู้ ความคิด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านเทคนิค ด้านมนุษย์ และด้านมโนภาพ ตามลำดับ 2.การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 47 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ด้านการส่ง เสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ และด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถาน ศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านมโนภาพ ด้านการศึกษาและการสอน และด้านความรู้ ความคิด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ ร้อยละ 77.10 (R2 = 0.771) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂ = 0.735 + 0.157 (BT) + 0.250 (ET) + 0.263 (CT)+ 0.098 (AT) (R2 = 0.771) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 3.634 (ZBT) + 2.703 (ZET) +3.948 (ZCT) +2.770 (ZAT) (R2 = 0.771) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาด้านมนุษย์ (DT) ไม่ส่งผลต่อการบริหาร งานวิชาการของสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
The purposes of this research were; 1) to study administrative skills of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2, 2) to study the academic administration of of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2, and 3) to study administrative skills of school administrators affecting the academic administration in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2. The data were collected by questionnaires from 97 primary schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2. 380 samples consisted of school directors, academic heads and teachers obtained by stratified style sampling. The reliability of questionnaire on administrative skills of school administrators was at 0.96 and the reliability of academic administration was at 0.98. The data were analyzed by Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, and Step multiple regression analysis through the package software. The results of the study were found that: 1) Overall, the administrative skills of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 were at a high level in 5 aspects. When considering the average in each aspect, the highest level was on Knowledge, followed by Idea, Education and Teaching, Techniques, Humanity and Imagination respectively. 2) The academic administration of schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 in 47 aspects was at a high level overall and in aspects. When considering the average in each aspect in orderly, the highest level was on Measurement, followed by Assessment and Credit Transfer, Learning Development, Research for Educational Development, Educational Supervision, Development of Internal Quality Assurance Systems, in Educational promoting of the community for academic strength, and Curriculum Development respectively. 3)The administrative skills of school administrators affecting the academic administration in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 consist of Techniques, Imagination, Education and Teaching, Knowledge and Idea. The level of statistical significance was at .01 with a prediction coefficient or a predictive power at 77.10 percent (R2 = 0.771) The relationships can be written in the form of predictions as follows: Raw score equation = 0.735 + 0.157(BT) + 0.250(ET) + 0.263(CT) + 0.098(AT) (R2 = 0.771) Standard score equation = 3.634(ZBT) + 2.703(ZET) + 3.948(ZCT) =2.770(ZAT) (R2 = 0.771) The administrative skills of school administrators in human resource (DT) do not affect the academic administration in schools. Therefore, it has not been selected into the equation because the statistical significance is not found.
หนังสือ

    บทความนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการ ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ คณะกรรม การสถานศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 123 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 ผลการวิจัยพบว่า: 1. สภาพการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถาน ศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการให้คำปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ด้านการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากร ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน และด้านการวางแผนการดำเนินงาน 2.เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ โดยรวม และด้านการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากร ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และจำแนกตามอาชีพ โดยรวมและด้านการให้คำปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะในการมีส่วนร่วมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด ควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามาส่วนคิดตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมทำงาน ร่วมในการ ค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาภายในสถานศึกษา ควรสร้างความรู้สึกผูกพันเพื่อร่วมกันในการบริหารสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายให้เกิดประโยชน์สูงสุด สำรวจความต้องการในการมีส่วนร่วมสร้างประโยชน์โดยการสนับสนุนทรัพย์ วัสดุ อุปกรณ์และแรงงานหรือเข้าร่วมบริหารงานประสานงานและดำเนินการขอความช่วยเหลือจากภายนอก ควรมีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและแจ้งผลการประเมินให้ทราบทุกโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวอย่างแก่สังคม
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการ ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ คณะกรรม การสถานศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 123 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 ผลการวิจัยพบว่า: 1. สภาพการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถาน ศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการให้คำปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ด้านการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากร ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน และด้านการวางแผนการดำเนินงาน 2.เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ โดยรวม และด้านการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากร ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และจำแนกตามอาชีพ โดยรวมและด้านการให้คำปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะในการมีส่วนร่วมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด ควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามาส่วนคิดตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมทำงาน ร่วมในการ ค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาภายในสถานศึกษา ควรสร้างความรู้สึกผูกพันเพื่อร่วมกันในการบริหารสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายให้เกิดประโยชน์สูงสุด สำรวจความต้องการในการมีส่วนร่วมสร้างประโยชน์โดยการสนับสนุนทรัพย์ วัสดุ อุปกรณ์และแรงงานหรือเข้าร่วมบริหารงานประสานงานและดำเนินการขอความช่วยเหลือจากภายนอก ควรมีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและแจ้งผลการประเมินให้ทราบทุกโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวอย่างแก่สังคม
The purposes of this study were to 1) study on Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office 2) compare the Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office classified by gender, age, and occupation 3) study on suggestions for Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office. The sample group used in this research was 123 of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office. The instrument used for data collection was a 5 rating scale questionnaire with content validity equal to 0.67-1.00 and the confidence was .95 The results of this study found that 1. The condition of Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office overall was at a high level, considering each side, in order from the highest to the lowest, namely in providing advice and consideration on operating recommendations, social fundraising and resources, monitoring and evaluation of performance, and operational planning. 2. To compare the Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office classified by total gender and social fundraising and resources, monitoring and evaluation of performance was different with statistical significance at the level of .05. In the overall and other aspects were not different, classified by age overall and each side not different, and classified by occupation overall and in the field of providing advice and consideration on operating recommendations, and monitoring and evaluation of performance were significantly different at the level of .05, and there was no differences in other side. 3. Suggestions for Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office were the school committee should be given an opportunity in decision, plan, and solving the problems in the schools. There should be create a connection for school administration to achieve its goal for the most benefit, examine the need of participation in creating benefits by support assets, materials, equipment and labor or attending management, coordination and undertake external assistance, should be supervise, monitor and evaluate the systematic performance and inform the evaluation results every time by adhering to the participation in performing as an example for society.