Search results

17 results in 0.1s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 3) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียน โดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายงานบริหาร ครูผู้สอน รวมทั้งหมด 280 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา และ การบริหารจัดการ ของสถานศึกษา สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า : 1. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 10 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักภาระรับผิดชอบ ด้านหลักความเสมอภาค ด้านหลักประสิทธิผล ด้านหลักการกระจายอำนาจ ด้านมุ่งเน้นฉันทามติ ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักประสิทธิภาพ และด้านหลักการตอบสนอง ตามลำดับ 2. การบริหารจัดการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานวิชาการ ด้านบริหารงานงบประมาณ และด้านบริหารงานบุคคล ตามลำดับ 3. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านนิติธรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 64.00 (R2 = 0.640) สามารถเขียนเป็นรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 1.262+ 0.217 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.258 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.254 (ด้านหลักนิติธรรม) สมการคะแนนมาตรฐาน = 0.257 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.307 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.293 (ด้านหลักนิติธรรม
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 3) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียน โดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายงานบริหาร ครูผู้สอน รวมทั้งหมด 280 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา และ การบริหารจัดการ ของสถานศึกษา สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า : 1. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 10 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักภาระรับผิดชอบ ด้านหลักความเสมอภาค ด้านหลักประสิทธิผล ด้านหลักการกระจายอำนาจ ด้านมุ่งเน้นฉันทามติ ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักประสิทธิภาพ และด้านหลักการตอบสนอง ตามลำดับ 2. การบริหารจัดการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานวิชาการ ด้านบริหารงานงบประมาณ และด้านบริหารงานบุคคล ตามลำดับ 3. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านนิติธรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 64.00 (R2 = 0.640) สามารถเขียนเป็นรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 1.262+ 0.217 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.258 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.254 (ด้านหลักนิติธรรม) สมการคะแนนมาตรฐาน = 0.257 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.307 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.293 (ด้านหลักนิติธรรม
The objectives of this research were: 1) to study good governance of administrators under Office of Secondary Educational Service Area 1, 2) to study school administration under Office of Secondary Educational Service Area 1, and 3) to study the good governance of administrators affecting school administration under Office of Secondary Educational Service Area 1. The data were collected by questionnaires from 280 samples in 56 schools consisting of school directors, heads of departments, and teachers. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regressions in steps. The results of the study were found that: 1. The level of good governance of school administrators under Office of Secondary Educational Service Area 1 was high overall. In each aspect, the highest level started at rule of law, followed by cooperation, responsibility, equality, efficiency, decentralization, agreement, transparency, effectiveness, and responsiveness respectively. 2. The administration of schools under Office of Secondary Educational Service Area 1 was at a high level totally. In details, the highest mean was on general administration, followed by academic administration, budget administration, and personnel administration respectively. 3. The good governance of school administrators affected the administration of schools under Office of Secondary Educational Service Area 1 with a significantly statistical level at 0.01 starting from transparency, responsibility , and rule of law with coefficient or prediction power at 64.00% (R2 = 0.640) and it could be written in predictive patterns as follows; Raw score equation = 1.262+ 0.217(transparency) + 0.258 (responsibility) + 0.254 (rule of law) Standard score equation = 0.257 (transparency) + 0.307 (responsibility) + 0.293 (rule of law
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • จุดมุ่งหมายของการอุดมศึกษา
  • หลักสูตรระดับอุดมศึกษา
  • การดำเนินการสอนในระดับอุดมศึกษา
  • งานวิจัย : หลักคิดและวิธีคิดในการดำเนินงาน
  • งานบริการชุมชน
  • นิสิตนักศึกษากับการเรียนการสอน
  • อาจารย์มหาวิทยาลัยกับผลงานทางวิชาการ : สภาพปัจจุบัน ปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไข
  • ผู้บริหารกับการพัฒนางานทางวิชาการและเอกสาร
  • การบริหารสถาบันอุดมศึกษา
  • ความเป็นผู้นำในสถาบันอุดมศึกษา
  • การบริหารมหาวิทยาลัยไทยในอนาคต
  • ภาวะผู้นำใหม่กับโลกาภิวัตน์ในระบบอุดมศึกษาไทย : เส้นทางสู่ความเป็นตัวเอง
  • สู่การอุดมศึกษาหลังโลกาภิวัตน์
  • อุดมศึกษา : สาขาวิชาเพื่อการพัฒนาและความก้าวหน้าของประเทศ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • สูตรการบริหารจัดการที่ดี บางพระชล หมวด 1 ผู้นำดี
  • หมวด 2 แผนดี
  • หมวด 3 บริการลูกค้าดี
  • หมวด 4 จัดการวัดวิเคราะห์ความรู้ดี
  • หมวด 5 จัดการทรัพยากรบุคคลดี
  • หมวด 6 จัดการกระบวนการดี
  • หมวด 7 ผลลัพธ์ดี
  • ข้อมูลแห่งอนาคต
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ปฐมบทวาทกรรม
  • วาทกรรมการศึกษาภาพรวม
  • วาทกรรมด้านบริหารและการจัดการ
  • วาทกรรมการพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อการศึกษาที่ยืนยง
หนังสือ

    The purposes of this research were as follows; 1) to study the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province, 2) to compare the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province having different gender, monthly income, working experience, and positions in the village funds, and 3) to have interviews for the guideline in the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected from documents in the primary source and secondary source, in-depth interviews, and by using questionnaires. The research results found that 1. The administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province in 3 aspects was at a high level overall. In details, the highest level was on planning, followed by operation, and evaluation respectively. 2. The results of comparison, the administration of the village fund committee having different genders, monthly income, work experience, and position in the village funds in 3 aspects was not different. 3. The results of interviews regarding the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province indicated that: In Loving-kindness, the administrators should assign work and duty relevant to the ability and knowledge of the subordinates, should support them in developing knowledge and ability. The administrators should work fulltime as the sample of the subordinates, and should be kind, friendly, and justice to the subordinates. In Compassion, the administrators should collaborate with the subordinates to work, share work experiences and knowledge to them, and provide assistance to them when in need. In Sympathetic joy, the administrators should praise and reward the subordinates on their achievement in work and duty performance, support and publicize their work outcome sincerely. In Equanimity, the administrators should assign job and work to the subordinates according to their knowledge and ability without bias, support them to work together in team, and treat everyone equally with neutral mind
The purposes of this research were as follows; 1) to study the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province, 2) to compare the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province having different gender, monthly income, working experience, and positions in the village funds, and 3) to have interviews for the guideline in the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected from documents in the primary source and secondary source, in-depth interviews, and by using questionnaires. The research results found that 1. The administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province in 3 aspects was at a high level overall. In details, the highest level was on planning, followed by operation, and evaluation respectively. 2. The results of comparison, the administration of the village fund committee having different genders, monthly income, work experience, and position in the village funds in 3 aspects was not different. 3. The results of interviews regarding the administration of the village fund committee according to the principle of Brahmaviharadhamma in Kaeng Khoi district of Saraburi province indicated that: In Loving-kindness, the administrators should assign work and duty relevant to the ability and knowledge of the subordinates, should support them in developing knowledge and ability. The administrators should work fulltime as the sample of the subordinates, and should be kind, friendly, and justice to the subordinates. In Compassion, the administrators should collaborate with the subordinates to work, share work experiences and knowledge to them, and provide assistance to them when in need. In Sympathetic joy, the administrators should praise and reward the subordinates on their achievement in work and duty performance, support and publicize their work outcome sincerely. In Equanimity, the administrators should assign job and work to the subordinates according to their knowledge and ability without bias, support them to work together in team, and treat everyone equally with neutral mind
TOC:
  • วิทยานิพนธ์เรื่อง การบริหารกองทุนหมู่บ้านของคณะกรรมการตามหลักพรหมวิหารธรรมอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม มี เพศ รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์ในการทำงาน ตำแหน่งในกองทุนหมู่บ้าน ที่ต่างกัน และ 3) เพื่อสัมภาษณ์แนวทางการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านตามหลักพรหมวิหารธรรม เป็นการศึกษาวิจัยแบบเชิงผสมผสาน (Mixed Method Research) ที่ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งเน้นวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยการแจกแบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ (Qualitative Research by interviews) เป็นการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากเอกสารปฐมภูมิและเอกสารทุติยภูมิรวมทั้งสร้างแบบสอบถาม (Questionnaires) ผลการวิจัยพบว่า 1.บริหารของคณะกรรมการกองทุนของหมู่บ้านตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียง ด้านการวางแผนตามหลักพรหมวิหารธรรม ด้านการดำเนินงานตามหลักพรหมวิหารธรรม และด้านการประเมินผลตามหลักพรหมวิหารธรรม 2.ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยเปรียบเทียบการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ที่มีเพศ รายได้ต่อเดือน ประสบการณ์ ตำแหน่งในกองทุนหมู่บ้าน ไม่แตกต่างกัน มีการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3.ผลการวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ตามหลักพรหมวิหารธรรม อำเภอแก่งคอย พบว่า เมตตา คือ ควรมอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถของผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน ควรสนับสนุนบุคลากรให้ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ปฏิบัติงานให้เต็มเวลา เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ภายใต้ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทำประโยชน์แก่มนุษย์สัตว์ทั่วหน้า กรุณา คือ ร่วมแก้ไขปัญหาและข้อบกพร่องในการทำงานร่วมกัน ประสานงานกับผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างสม่ำเสมอ ถ่ายทอดถอดความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้วยความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปลื้องบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อน มุทิตา คือ ยกย่องชมเชยแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความจริงใจด้วยการประกาศความดีความชอบ สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้บริหาร สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานที่ดีของผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง กอปรด้วยอาการแช่มชื่นเบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ดำรงในปกติสุข พลอยยินดีด้วยเมื่อเขาได้ดีมีสุข เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป อุเบกขา คือ แบ่งงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างชดเจน เหมาะสมตามความรู้ ความสามารถ จัดจัดสรรผลประโยชน์แก่ผู้ร่วมงานอย่างเสมอภาค และส่งเสริม สนับสนุนให้ฝ่ายต่าง ๆ ทำงานร่วมกัน เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ ความวางใจเป็นกลางในส่วนของการจ่ายเงินของกองทุนเป็นการจ่ายตามลำดับอันจะให้ดำรงอยู่ในธรรมตามที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญา คือ มีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตราชั่ง ไม่เอนเอียงด้วยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สัตว์ทั้งหลายกระทำแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือชั่ว สมควรแก่เหตุอันตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบัติไปตามธรรม รวมทั้งรู้จักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทำ เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควรรับผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รับผลอันสมกับความรับผิดชอบของตน
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มีอายุพรรษาวุฒิการศึกษาทางโลก วุฒิการศึกษาทางธรรม ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากร ได้แก่ พระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งหมด จำนวน 543 รูป กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 226 รูป เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า F-test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1)สภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาส ในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านสาธารณูปการ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการเผยแผ่ศาสนธรรม และด้านการศาสนศึกษา มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตามอายุ พรรษา วุฒิการศึกษาทางโลก วุฒิการศึกษาทางธรรม ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2)ผลการเปรียบเทียบสภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มีอายุวุฒิการศึกษาทางโลก ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนที่มีพรรษา วุฒิการศึกษาทางธรรม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3)ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ข้อเสนอแนะมากที่สุดเกี่ยวกับปัญหา ได้แก่ ด้านปัญหาการบริหารงานด้านการสาธารณูปการ คือ เจ้าอาวาสขาดการวางแผนในการก่อสร้างอาคารเสนาสนะภายในวัดให้เป็นระเบียบมีสัดส่วน แนวทางแก้ไขปัญหามากที่สุด ได้แก่ ด้านปัญหาการบริหารงานด้านการสาธารณูปการ คือ เจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราชแต่ละวัดต้องวางแผนให้ความสำคัญกับการวางแผนการก่อสร้างและปรับภูมิทัศน์ให้สวยงาม
สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มีอายุพรรษาวุฒิการศึกษาทางโลก วุฒิการศึกษาทางธรรม ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากร ได้แก่ พระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งหมด จำนวน 543 รูป กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 226 รูป เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า F-test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1)สภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาส ในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านสาธารณูปการ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการเผยแผ่ศาสนธรรม และด้านการศาสนศึกษา มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตามอายุ พรรษา วุฒิการศึกษาทางโลก วุฒิการศึกษาทางธรรม ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2)ผลการเปรียบเทียบสภาพปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มีอายุวุฒิการศึกษาทางโลก ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนที่มีพรรษา วุฒิการศึกษาทางธรรม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3)ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานของเจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ข้อเสนอแนะมากที่สุดเกี่ยวกับปัญหา ได้แก่ ด้านปัญหาการบริหารงานด้านการสาธารณูปการ คือ เจ้าอาวาสขาดการวางแผนในการก่อสร้างอาคารเสนาสนะภายในวัดให้เป็นระเบียบมีสัดส่วน แนวทางแก้ไขปัญหามากที่สุด ได้แก่ ด้านปัญหาการบริหารงานด้านการสาธารณูปการ คือ เจ้าอาวาสในจังหวัดนครศรีธรรมราชแต่ละวัดต้องวางแผนให้ความสำคัญกับการวางแผนการก่อสร้างและปรับภูมิทัศน์ให้สวยงาม
The objectives of this thematic paper were as follows : 1) To study the state and problem in the temple abbots’ administration in Nakhon Si Thammarat province. 2) To compare the state and problem in the temple abbots’ administration in Nakhon Si Thammarat province in terms of ages, periods of monkhood, degrees of secular education, Dhamma studies and periods of abbots position standing as differently. 3) To study the suggestion on state and problem in the temple abbots’ administration in Nakhon Si Thammarat province. The population were composed of Sangha’s ecclesiastics in Nakhon Si Thammarat province for 543persons, sample size according to the table of R.V. Krejcie and D.W. Morgan, got the sample at the number of 226 persons, The instrument for data collection was questionnaire. Data analysis by package computer program. The statistics were analyzed as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test F-test and LSD method. The results reveal that 1)The state and problem in the temple abbots’ administration in Nakhon Si Thammarat province by overviews in six aspects are at moderate level, while consider in each aspects from more to less find that the aspect of public welfare is the highest mean and follow up the aspect of Dhamma dissemination and the aspect of religious study is lowest mean respectively. when classify in terms of ages, periods of monkhood, degrees of secular education, Dhamma studies and periods of abbot’s position standing find that there are at moderate level. 2)The comparative result of state and problem in the temple abbots administration in Nakhon Si Thammarat province in terms of ages, degrees of secular education, and periods of abbot’s position standing find that there are different as statistically significance at .01 and in terms of periods of monkhood and Dhamma studies find that there are not different as statistically significance at .05 3)The suggestion on state and problem in the temple abbots administration in Nakhon Si Thammarat province. The problem find that; the public welfare aspect, the highest find that the abbot works without planning in construction and dwelling in temple as clustering. The resolution find that the highest is the aspect of public welfare i.e. the abbot should plan to construct any building or making background as nice as possible.
หนังสือ