Search results

44 results in 0.09s

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง กับปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อเสนอแนวทางการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ มีสิทธิเลือกตั้งที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง จำนวน 393 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย โดยการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติไคสแคว์ (Chi – Square) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการตัดสินใจของประชาชนกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านนโยบายพรรค รองลงมาคือ ด้านคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้ง และน้อยที่สุด คือ ด้านพรรคการเมือง ตามลำดับ 2) เพศ และอายุของประชาชนไม่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ส่วนระดับการศึกษาของประชาชนมีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) เสนอแนวทางการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชน ดังนี้ 1) ด้านคุณสมบัติผู้สมัครรับเลือกตั้ง คือ ผู้สมัครรับเลือกตั้งควรคิดดีทำดีมีคุณธรรมและจริยธรรมชอบช่วยเหลือสังคม ไม่เคยมีประวัติเสีย และไม่เอาเปรียบผู้อื่น 2) ด้านพรรคการเมือง คือ พรรคการเมืองต้องมีความน่าเชื่อถือทำงานอย่างตรงไปตรงมา ยึดมั่นในศีลธรรม และไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก 3) ด้านนโยบายพรรค คือ นโยบายพรรคควรดำเนินการส่งเสริมให้ประชาชนผู้สูงอายุและคนว่างงานให้มีรายได้ ลดราคาสินค้าและค่าครองชีพ ควรมีการปรับปรุงแก้ไขสภาพแวดล้อมและมลพิษ ช่วยให้ประชาชนมีที่อยู่อาศัย ไม่ควรจัดเก็บรายได้จากการเพิ่มภาษีจากประชาชน มีสวัสดิการช่วยเหลือผู้พิการ และส่งเสริมสินค้าไทย
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง กับปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อเสนอแนวทางการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ มีสิทธิเลือกตั้งที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง จำนวน 393 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย โดยการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติไคสแคว์ (Chi – Square) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการตัดสินใจของประชาชนกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านนโยบายพรรค รองลงมาคือ ด้านคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้ง และน้อยที่สุด คือ ด้านพรรคการเมือง ตามลำดับ 2) เพศ และอายุของประชาชนไม่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ส่วนระดับการศึกษาของประชาชนมีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) เสนอแนวทางการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชน ดังนี้ 1) ด้านคุณสมบัติผู้สมัครรับเลือกตั้ง คือ ผู้สมัครรับเลือกตั้งควรคิดดีทำดีมีคุณธรรมและจริยธรรมชอบช่วยเหลือสังคม ไม่เคยมีประวัติเสีย และไม่เอาเปรียบผู้อื่น 2) ด้านพรรคการเมือง คือ พรรคการเมืองต้องมีความน่าเชื่อถือทำงานอย่างตรงไปตรงมา ยึดมั่นในศีลธรรม และไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก 3) ด้านนโยบายพรรค คือ นโยบายพรรคควรดำเนินการส่งเสริมให้ประชาชนผู้สูงอายุและคนว่างงานให้มีรายได้ ลดราคาสินค้าและค่าครองชีพ ควรมีการปรับปรุงแก้ไขสภาพแวดล้อมและมลพิษ ช่วยให้ประชาชนมีที่อยู่อาศัย ไม่ควรจัดเก็บรายได้จากการเพิ่มภาษีจากประชาชน มีสวัสดิการช่วยเหลือผู้พิการ และส่งเสริมสินค้าไทย
This thematic paper had the following objectives: 1) to study the factors affecting voting decision for parliamentary members of people in Raikhing Municipality, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province 2) to study the relationship between factors that affected the voting decision for parliamentary members of people in Raikhing Municipality and personal factors 3) to suggest guidelines for voting decision for parliamentary members of people in Raikhing Municipality. This research was a quantitative research. Sample groups included 393 residents in Raikhing Municipality, who had the right to vote at the age of 18 years. A simple random method was used by drawing lots. The used tools in the research were questionnaires with the reliability of 0.88 The statistics used for data analysis were frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and testing of Chi-Square. The results of the research were found as follows : 1) The level of public decision making and the factors that affected the voting decision for the parliamentary members of the people in Raikhing Municipality including 3 aspects, were at a high level. When considering each aspect, it was at a high level in all aspects, with the average value in descending order as follows : the highest average value was the party policy, followed by the candidate's qualifications, and the least was the political party, respectively 2) Gender and age of the people did not correlate with the factors that affected the voting decision for parliamentary members. The educational level of the people was related to factors that affected the voting decision for parliamentary members, with statistical significance at the level of 0.05 3) Suggestions for guidelines for voting decision for parliamentary members were as follows : 1) The aspect of qualifications of candidates : Candidates should think well, do good, have morals and ethics, like to help society, never had a bad record, and not taking advantage of others. 2) The aspect of political party, a political party should be credible, work honestly, adhere to morality, and not be biased. 3) The aspect of the party policy, the political policy should be implemented to encourage people, the elderly and the unemployed to have income, to reduce product prices and cost of living, to improve the environment and pollution, to help people to have housing, not to collect income from tax increases from the people, to have welfare for the disabled and to promote Thai products.
หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการค้นคว้าทางการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน การสั่งการ และการบริหาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก หนังสือ ตำรา งานวิจัย และเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง มีด้วยกัน 5 ด้าน 1) งานด้านวิศวกรรม 2) งานด้านสาธารณูปโภค 3) งานด้านสวนสาธารณะ 4) งานด้านจัดสถานที่ 5) งานด้านการไฟฟ้าสาธารณะ สภาพการปฏิบัติงานนั้นต้องประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผนที่ดีเพื่อให้มีความสัมพันธ์กับการจัดวางโครงการซึ่งเป็นนโยบายที่กำหนดกรอบไว้ตามวัตถุประสงค์ และแผนการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า กำหนดอำนาจหน้าที่ชัดเจน โครงการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ความรับผิดชอบทางสายงานตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของแต่ละบุคคล การสั่งการในการดำเนินโครงการในแต่ละครั้งต้องมีแบบแผนปฏิบัติและต้องปฏิบัติตามแผน การแบ่งงานกันทำจึงจำเป็นอย่างยิ่ง กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรม การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารจัดการแก่ประชาชนมีคุณภาพที่ดีขึ้น 2. การปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุเป็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว 4 ประการ คือ 1) ทาน การให้ 2) ปิยวาจา วาจาเป็นที่รัก 3) อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์ 4) สมานัตตตา การวางตนสม่ำเสมอ การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่กองช่าง ทาน ทำได้ด้วยการ มีใจเผื่อแผ่ ให้ทาน เอื้อเฟื้อต่อหน้าที่ ให้ความรู้กับประชาชน ปิยวาจา ทำได้ด้วยการพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวานวาจาเป็นที่รัก หรือวาจาซาบซึ้งใจพูดคำจริง มีเหตุผลได้สาระประโยชน์ และถูกกาลเทศะ ถนอมน้ำใจไม่ดุด่าหรือกล่าวคำหยาบคาย การแสดงออกทางกายที่สำรวม มีมารยาท สุภาพอ่อนน้อม อัตถจริยา ทำได้ด้วยการบำเพ็ญประโยชน์ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการของส่วนรวม ไม่มุ่งหวังว่าจะได้รับประโยชน์ตอบแทน สิ่งของหรือ คำชมเชย มีจิตสำนึกในการให้บริการแก่เพื่อนร่วมงาน ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ รวดเร็วและถูกต้อง ทำงานในหน้าที่โดยมีจิตสำนึกและหลักการ รักษาผลประโยชน์ของทางราชการและเอื้อประโยชน์ต่อประชาชน สมานัตตตา ทำได้ด้วยการวางตนให้เหมาะสมกับฐานะในสังคม ปฏิบัติตนอย่างสม่ำเสมอต่อบุคคลอื่นหรือประชาชน ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานด้วยความเป็นกันเอง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักวางตนให้เหมาะสม ซื่อตรง อุทิศเวลาต่อหน้าที่ มีสัมพันธ์อันดีกับชุมชนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย 3.
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของเจ้าหน้าที่กองช่าง เทศบาลเมืองลำสามแก้ว อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการค้นคว้าทางการสัมภาษณ์เจาะลึก ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน การสั่งการ และการบริหาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก หนังสือ ตำรา งานวิจัย และเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่กองช่าง มีด้วยกัน 5 ด้าน 1) งานด้านวิศวกรรม 2) งานด้านสาธารณูปโภค 3) งานด้านสวนสาธารณะ 4) งานด้านจัดสถานที่ 5) งานด้านการไฟฟ้าสาธารณะ สภาพการปฏิบัติงานนั้นต้องประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผนที่ดีเพื่อให้มีความสัมพันธ์กับการจัดวางโครงการซึ่งเป็นนโยบายที่กำหนดกรอบไว้ตามวัตถุประสงค์ และแผนการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า กำหนดอำนาจหน้าที่ชัดเจน โครงการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ความรับผิดชอบทางสายงานตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของแต่ละบุคคล การสั่งการในการดำเนินโครงการในแต่ละครั้งต้องมีแบบแผนปฏิบัติและต้องปฏิบัติตามแผน การแบ่งงานกันทำจึงจำเป็นอย่างยิ่ง กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรม การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารจัดการแก่ประชาชนมีคุณภาพที่ดีขึ้น 2. การปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุเป็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว 4 ประการ คือ 1) ทาน การให้ 2) ปิยวาจา วาจาเป็นที่รัก 3) อัตถจริยา การประพฤติประโยชน์ 4) สมานัตตตา การวางตนสม่ำเสมอ การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่กองช่าง ทาน ทำได้ด้วยการ มีใจเผื่อแผ่ ให้ทาน เอื้อเฟื้อต่อหน้าที่ ให้ความรู้กับประชาชน ปิยวาจา ทำได้ด้วยการพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวานวาจาเป็นที่รัก หรือวาจาซาบซึ้งใจพูดคำจริง มีเหตุผลได้สาระประโยชน์ และถูกกาลเทศะ ถนอมน้ำใจไม่ดุด่าหรือกล่าวคำหยาบคาย การแสดงออกทางกายที่สำรวม มีมารยาท สุภาพอ่อนน้อม อัตถจริยา ทำได้ด้วยการบำเพ็ญประโยชน์ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการของส่วนรวม ไม่มุ่งหวังว่าจะได้รับประโยชน์ตอบแทน สิ่งของหรือ คำชมเชย มีจิตสำนึกในการให้บริการแก่เพื่อนร่วมงาน ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ รวดเร็วและถูกต้อง ทำงานในหน้าที่โดยมีจิตสำนึกและหลักการ รักษาผลประโยชน์ของทางราชการและเอื้อประโยชน์ต่อประชาชน สมานัตตตา ทำได้ด้วยการวางตนให้เหมาะสมกับฐานะในสังคม ปฏิบัติตนอย่างสม่ำเสมอต่อบุคคลอื่นหรือประชาชน ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานด้วยความเป็นกันเอง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี รู้จักวางตนให้เหมาะสม ซื่อตรง อุทิศเวลาต่อหน้าที่ มีสัมพันธ์อันดีกับชุมชนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย 3.
ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 อยู่ร่วมกันในสังคมมีความอนุเคราะห์ สงเคราะห์ แบ่งปันช่วยเหลือกันและกัน ทำให้อยู่ร่วมกันทำงานร่วมกัน เต็มใจช่วยเหลือเกื้อกูล ร่วมแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์ทำให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ การมีหลักธรรมสังคหวัตถุ 4 เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจะทำให้รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นหมู่ช่วยเหลือกันมีความสามัคคีกันแบ่งปันกันไม่ว่าจะเกิดเหตุการณ์ที่เลวร้ายก็สามารถแก้ปัญหาและช่วยเหลือกัน ด้านรวมไปถึงด้านให้กำลังใจที่ส่งถึงกันเพื่อให้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม สามารถมีทัศนคติใช้ปฏิบัติในทางที่ในการสนับสนุนและช่วยเหลือกัน เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจะทำให้รวมกันเป็นหมู่ คนในประเทศชาติประพฤติดีมีศีลธรรมรู้จักเกื้อกูลกันไม่ขัดแย้งแตกแยกกัน ให้กำลังใจซึ่งกันและกันเหนี่ยวน้ำใจของกัน จะประสานกลมเกลียวสอดคล้องกัน เพื่องานที่ทำบรรลุผลมีประโยชน์ หากร่วมมือกันในทุกฝ่ายแล้วย่อมสร้างความเจริญรุ่งเรืองและมั่นคงของประเทศชาติ
The objective of this thesis is 1) to study the working conditions. Of the Technician Division Lam Sam Kaew Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province 2) to study the work according to Sangahavatthu 4 principles of the Technician Division Lam Sam Kaew City Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province 3) To suggest the operational guidelines according to Sangahavatthu 4 principles of the Technician Division Lam Sam Kaeo Municipality, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province This research is a qualitative research by researching in-depth interviews. Those responsible for operations, commanding, and administration by studying from the Tripitaka, books, research textbooks and related academic documents The research found that 1. Operating conditions There are 5 aspects of the technician staff: 1) Engineering 2) Utilities 3) Public parks 4) Site management 5) Public electricity The operating conditions must consist of good planning procedures in order to relate to the project layout, which is a policy that is defined in accordance with the objectives. And work plans in advance Set clear authority. The project has a common goal. Responsibility in line with each individual's expertise and expertise. Each project operation order must have a pattern of action and must follow the plan. The division of work is therefore very necessary. Determine the relationship between workers and activities The use of organization resources for maximum efficiency. Management for the public has improved quality. 2. Performance according to the principles of Sanghavatthu 4, Sanghavatthaya is fair, the following are 4 things: 1) giving alms 2) giving the words to the words that are loved 3) the self-behavior, the behavior 4) the constant self-determination The duties of the staff of the Food Mechanics Division are made by generosity and generosity. To educate the people, to make words through speech with sweet, sweet words and beloved words. Or verbally spoken words Have reason and benefit And timely Be considerate and not curse or vulgar Comprehensive physical expression, courteous, polite, docile, attentive, can be achieved through service. Striving to help public affairs Not aiming to receive benefits in return Things or compliments Have a sense of service to colleagues People at full capacity Fast and accurate Work on duty with awareness and principles Maintain the government benefits and benefit the people. Samantha Tata can do by placing oneself appropriate to the status in society. Treat oneself consistently with other people or the public. Equality Treat colleagues with friendliness. Behave as a role model Knowing how to position oneself appropriately, honestly, devoting time to duty Have consistently good relations with the community 3. Suggestions on how to perform the work according to Sangahavatthu 4, coexist in society, provide assistance, share and help each other Make it together, work together Willing to help Solving problems for the benefit of bringing together peace Having the Sanghavatthu 4 principle as an anchor will make it a group. Be a group to help each other, to have unity and to share, no matter how bad events can solve problems and help each other Side, including the encouraging side sent to each other for the sake of the common good Can have an attitude and practice in a way that supports and helps one another As an anchor to make one together People in the nation are well behaved, morally, supportive, not conflict, divided. Encouraging each other to encourage each other Will harmonize harmoniously For work to be successful If collaborating in all parties, it will create prosperity and stability for the nation.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของ บุคลากร ที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อเปรียบเทียบการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และรายได้ต่อเดือน ที่ต่างกัน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช การวิจัยครั้งนี้กำหนดรูปแบบการ วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ประชากร ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ ณ ที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 410 คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตาราง Krejeic และ Morgan ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 196 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่า t-test และหาค่า F-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ว่าการอำเภอ ชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย พบว่า ด้านวิมังสา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านฉันทะ ส่วนด้านจิตตะ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2. ผลการเปรียบเทียบการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ว่าการ อำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และรายได้ต่อเดือน ที่ต่างกัน พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติ งานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ด้านฉันทะ ส่งเสริมการอยู่ร่วมกัน จัดอบรม สัมมนาในองค์กรเพื่อให้บุคลากรในองค์กรมีกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันมากขึ้น ควรให้มีการมอบหมายงานให้ตรงกับตำแหน่งและประสบการณ์ของบุคลากร และเพิ่มค่าตอบแทนให้ตามความสามารถและตำแหน่งหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ด้านวิริยะ จัดซื้ออุปกรณ์ที่ทันสมัย ให้แก่บุคลากรเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในสถานที่ทำงานให้บุคลากรได้ผ่อนคลายขณะทำงาน สร้างแรงจูงใจด้านบวกให้บุคลากรเพื่อให้งานที่ปฏิบัตินั้นสำเร็จ และจัดอบรม สัมมนา สร้างความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ และสร้างจิตสำนึกรักองค์กร ด้านจิตตะ ควรให้มีการอบรมสมาธิแก่บุคลากรเพื่อให้ทำงานอย่างมีสมาธิ จดจ่ออยู่กับงาน เสริมสร้างจิตสำนึกในการทำงานและให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง และให้มีการวางแผนในการทำงานอย่างเป็นระบบ ใส่ใจกับรายละเอียดต่าง ๆ ของงาน และด้านวิมังสา ให้เวลาในการทำงานที่ต้องการความรวดเร็ว เพื่อความถูกต้องของงาน และจะทำให้งานมีประสิทธิภาพ ให้มีการตรวจสอบงานที่ทำเสร็จแล้วอย่างถี่ถ้วนทุกครั้งก่อนนำส่งเพื่อป้องกันความผิดพลาด และให้มีการใช้สื่อโซเชียลและการสื่อสารทั่วไปในการประสานงาน เพื่อให้บุคลากรทุกคนสามารถรับรู้คำสั่งได้อย่างครบถ้วน
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของ บุคลากร ที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อเปรียบเทียบการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และรายได้ต่อเดือน ที่ต่างกัน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช การวิจัยครั้งนี้กำหนดรูปแบบการ วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ประชากร ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ ณ ที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 410 คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตาราง Krejeic และ Morgan ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 196 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่า t-test และหาค่า F-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ว่าการอำเภอ ชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย พบว่า ด้านวิมังสา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านฉันทะ ส่วนด้านจิตตะ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2. ผลการเปรียบเทียบการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ว่าการ อำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และรายได้ต่อเดือน ที่ต่างกัน พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติ งานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ด้านฉันทะ ส่งเสริมการอยู่ร่วมกัน จัดอบรม สัมมนาในองค์กรเพื่อให้บุคลากรในองค์กรมีกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันมากขึ้น ควรให้มีการมอบหมายงานให้ตรงกับตำแหน่งและประสบการณ์ของบุคลากร และเพิ่มค่าตอบแทนให้ตามความสามารถและตำแหน่งหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ด้านวิริยะ จัดซื้ออุปกรณ์ที่ทันสมัย ให้แก่บุคลากรเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในสถานที่ทำงานให้บุคลากรได้ผ่อนคลายขณะทำงาน สร้างแรงจูงใจด้านบวกให้บุคลากรเพื่อให้งานที่ปฏิบัตินั้นสำเร็จ และจัดอบรม สัมมนา สร้างความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ และสร้างจิตสำนึกรักองค์กร ด้านจิตตะ ควรให้มีการอบรมสมาธิแก่บุคลากรเพื่อให้ทำงานอย่างมีสมาธิ จดจ่ออยู่กับงาน เสริมสร้างจิตสำนึกในการทำงานและให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง และให้มีการวางแผนในการทำงานอย่างเป็นระบบ ใส่ใจกับรายละเอียดต่าง ๆ ของงาน และด้านวิมังสา ให้เวลาในการทำงานที่ต้องการความรวดเร็ว เพื่อความถูกต้องของงาน และจะทำให้งานมีประสิทธิภาพ ให้มีการตรวจสอบงานที่ทำเสร็จแล้วอย่างถี่ถ้วนทุกครั้งก่อนนำส่งเพื่อป้องกันความผิดพลาด และให้มีการใช้สื่อโซเชียลและการสื่อสารทั่วไปในการประสานงาน เพื่อให้บุคลากรทุกคนสามารถรับรู้คำสั่งได้อย่างครบถ้วน
The objectives of this thematic paper were as follows : 1) To study the application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province. 2) To compare the application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province in terms of sexes, ages, degrees of education, marital statuses and monthly incomes as differently. 3) To study the suggestion on problem and promotion the application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province. This is the quantitative research, The population were composed of officers who work in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province in 2018, sample size according to the table of R.V. Krejcie and D.W.Morgan, at the reliability 95% got the sample at the number of 196 persons, The statistics were analyzed as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test and F test. The results reveal that 1)The application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province by overviews in four aspects are at high level, while consider in each aspects from more to less find that the aspect of Vimamsa is the highest mean and follow up the aspect of Chanda,Viriya and the aspect of Jitta is lowest mean respectively. 2)The comparative result of application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province in terms of sexes, ages degrees of education, marital statuses and monthly incomes find that there are not different as statistically significance at .05. 3)The suggestion on promotion for application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province. The Chanda aspect, to promote live together, training, seminar in organiza-tion for variety of activiyies as more and more,there should put the right man on the right job and experience and addition of compensation according to position . 2. Viriya aspect, to buy modern instrument to staffs for work convenience, to have a good climate in office for motivation in achievement and arrangement of training, seminar and to make understanding and consciousness in organization, 3. Jitta aspect, to train the staffs for stable working, responsible, consciousness and planning as systematically, to regard the detail of work,4. Vimamsa aspect, to have time in rapid work for work righteousness and to make efficiency of work, to check ready work as strictly before submission . and to use the multi media for communication to all.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบล ชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตามความคิดเห็นของประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากร ได้แก่ ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวนประชากรทั้งหมด 13,286 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 372 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า F - test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีความคิดเห็นที่มีต่อบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดย เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ (นิสสยสัมปันโน) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านวิสัยทัศน์ (จักขุมา) ส่วน ด้านการบริหาร (วิธุโร) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตามความคิดเห็นของประชาชน ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และ รายได้ต่อเดือน ต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช คือ จัดให้มีการอบรมเพื่อเพิ่มความรู้และเพิ่มประสบการณ์ ในการบริหารงานให้แก่ผู้บริหาร ควรลงพื้นที่พบปะประชาชนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของ ประชนในพื้นที่ ควรเป็นผู้ที่มีความสัมพันธ์อันดีกับประชนในพื้นที่และสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน ควรศึกษาปัญหาและความต้องการของประชาชนให้เข้าใจเพื่อจะได้ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบล ชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตามความคิดเห็นของประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากร ได้แก่ ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวนประชากรทั้งหมด 13,286 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 372 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า F - test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีความคิดเห็นที่มีต่อบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดย เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ (นิสสยสัมปันโน) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านวิสัยทัศน์ (จักขุมา) ส่วน ด้านการบริหาร (วิธุโร) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตามความคิดเห็นของประชาชน ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และ รายได้ต่อเดือน ต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช คือ จัดให้มีการอบรมเพื่อเพิ่มความรู้และเพิ่มประสบการณ์ ในการบริหารงานให้แก่ผู้บริหาร ควรลงพื้นที่พบปะประชาชนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของ ประชนในพื้นที่ ควรเป็นผู้ที่มีความสัมพันธ์อันดีกับประชนในพื้นที่และสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน ควรศึกษาปัญหาและความต้องการของประชาชนให้เข้าใจเพื่อจะได้ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
The objectives of this thematic paper were as follows: 1) To study the role of leadership of administrator in Tambol Chamai Municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province. 2) To compare the role of leadership of administrator in Tambol Chamai Municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province in terms of sexes, ages, degrees of education, occupations and monthly incomes as differently. 3) To study the suggestion were concerned with promotion on role of leadership of administrator in Tambol Chamai Municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province. The population were people in Tambol Chamai Municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province, totally 13,286 persons, sample size according to the table of R.V. Krejcie and D.W.Morgan, got the sample at the number of 372 persons. The instrument for data collection was questionnaire both closed and open-end questions. Data analysis by package computer program, the statistics were used as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test, F-test and LSD method. The results reveal that: 1) The role of leadership of administrator in Tambol Chamai Municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province by overviews are at high level, while considered in each aspects from more to less find that the aspect of human relation (Nissayasampanno) was the highest mean and follow up the aspect of vision (Jakkhuma) and the aspect of administration (Vidhuro) is the lowest mean, respectively. 2) The comparative results of role of leadership of administrator in Tambol Chamai Municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province in term of sex, age, degree of education, occupation and monthly income find that there are not different as statistical significance at .05, 3) The suggestion are concern with promotion on role of leadership of administrator in Tambol Chamai Municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province find that there should train all about knowledge and experience in administration to administrator. There should meet people in the area as usually for getting the people’s opinion. there should have good relation with people in the area and make participation of all networking. There should study the problem and the need of people for responding as rightly and to have opportunity to people for participation in community development.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของสตรี (2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของสตรีในพระสุตตันตปิฎก และ (3) เพื่อวิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าภาวะผู้นำของสตรีในพระสุตตันตปิฎก ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า (1) สตรีมีบทบาทในการดำเนินงานและเป็นผู้นำทั้งภาครัฐและเอกชนมากยิ่งขึ้นอันเนื่องมาจากความเสมอภาคทางด้านสังคมที่ผู้หญิงและผู้ชายมีสิทธิเท่าเทียมกัน ดังจะเห็นได้จากสังคมปัจจุบันที่สตรีเป็นฝ่ายทำงานหาเงินเพื่อจุนเจือครอบครัวเช่นเดียวกับผู้ชายทำให้ศักยภาพของผู้หญิงทัดเทียมกับผู้ชายหรืองานบางอย่างผู้หญิงสามารถทำได้คล้ายผู้ชาย ไม่ว่าจะเป็นในระดับครอบครัว ชุมชน สังคม หรือ ประเทศ ก็มีสตรีที่มีความรู้ความสามารถดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ ด้วยกันทั้งสิ้น (2) วีถีการดำเนินชีวิตของนางวิสาขาและนางสามาวดีเป็นผู้หญิงเก่งฉลาด ควรนำมาเป็นต้นแบบให้กับผู้หญิงสมัยใหม่ มีวิธีการในการจัดการปัญหาได้ อย่างชาญฉลาดและรอบคอบรู้จักการวางตน และมีความอดทน พยายามในการใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวสามีและอยู่กับพระพุทธศาสนาอย่างมีความสุขได้ (3) วิจัยนี้สามารถถอดบทเรียนในลักษณะมิติใหม่ที่เป็นหลักการสังคหวัตถุ และหลักการดำเนินชีวิตนางสมาวดี ในอีกมุมมอง คือ การใช้ 4S และ 1L 3P ให้เข้ากับภาวะผู้นำปัจจุบัน ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่ หลักสังคหวัตถุและหลักการดำเนินชีวิตนางสมาวดีเป็นการนำพา ตนเอง ครอบครัว สังคม ให้ไปสู่สภาวะของความสุขสงบ ร่มเย็นการที่ไม่มีปัญหา เพราะปัญหาได้ผ่านกระบวนการขัดเกลา ของหลักทั้ง 2 ไปแล้วย่อมเกิดความเป็นภาวะผู้นำที่ดีแน่นอน ที่สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์สำหรับ สตรียุคสมัยใหม่อีกด้วยเพื่อความเป็นผู้นำพาให้สังคมไปสู่การพัฒนาที่ยั้งยืน
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของสตรี (2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของสตรีในพระสุตตันตปิฎก และ (3) เพื่อวิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าภาวะผู้นำของสตรีในพระสุตตันตปิฎก ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า (1) สตรีมีบทบาทในการดำเนินงานและเป็นผู้นำทั้งภาครัฐและเอกชนมากยิ่งขึ้นอันเนื่องมาจากความเสมอภาคทางด้านสังคมที่ผู้หญิงและผู้ชายมีสิทธิเท่าเทียมกัน ดังจะเห็นได้จากสังคมปัจจุบันที่สตรีเป็นฝ่ายทำงานหาเงินเพื่อจุนเจือครอบครัวเช่นเดียวกับผู้ชายทำให้ศักยภาพของผู้หญิงทัดเทียมกับผู้ชายหรืองานบางอย่างผู้หญิงสามารถทำได้คล้ายผู้ชาย ไม่ว่าจะเป็นในระดับครอบครัว ชุมชน สังคม หรือ ประเทศ ก็มีสตรีที่มีความรู้ความสามารถดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ ด้วยกันทั้งสิ้น (2) วีถีการดำเนินชีวิตของนางวิสาขาและนางสามาวดีเป็นผู้หญิงเก่งฉลาด ควรนำมาเป็นต้นแบบให้กับผู้หญิงสมัยใหม่ มีวิธีการในการจัดการปัญหาได้ อย่างชาญฉลาดและรอบคอบรู้จักการวางตน และมีความอดทน พยายามในการใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวสามีและอยู่กับพระพุทธศาสนาอย่างมีความสุขได้ (3) วิจัยนี้สามารถถอดบทเรียนในลักษณะมิติใหม่ที่เป็นหลักการสังคหวัตถุ และหลักการดำเนินชีวิตนางสมาวดี ในอีกมุมมอง คือ การใช้ 4S และ 1L 3P ให้เข้ากับภาวะผู้นำปัจจุบัน ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่ หลักสังคหวัตถุและหลักการดำเนินชีวิตนางสมาวดีเป็นการนำพา ตนเอง ครอบครัว สังคม ให้ไปสู่สภาวะของความสุขสงบ ร่มเย็นการที่ไม่มีปัญหา เพราะปัญหาได้ผ่านกระบวนการขัดเกลา ของหลักทั้ง 2 ไปแล้วย่อมเกิดความเป็นภาวะผู้นำที่ดีแน่นอน ที่สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์สำหรับ สตรียุคสมัยใหม่อีกด้วยเพื่อความเป็นผู้นำพาให้สังคมไปสู่การพัฒนาที่ยั้งยืน
This thematic paper had three objectives: (1) to study the leadership of women (2) to study the leadership of women in Suttanta pitaka, and (3) to analyze the benefits and values of women 's leadership in Suttanta pitaka. by using qualitative research model and by studying documents. The results of research was found as follows: (1) Women had a greater role in the operation and leadership of both the public and private sectors due to social equality in which women and men had equal rights. As it could be seen from the present society, women were working to raise money to support their families, as well as men, making women’s potential equal to men or certain jobs. Women could do like men, Whether at the family level, community, society or country. there were women who had the knowledge and ability to hold important positions together. (2) The way of life of Mrs. Visakha and Mrs. Samavati was smart and intelligent. It could be a model for modern women.Both of them had ways to manage problems wisely and carefully, They knew how to behave themselves and had patience. They tried to live with the husband's family and live happily in Buddhism. (3) This research could give the lesson in a new dimension. that was the principle of Sangahavatthu and the principles of Mrs. Samavati in another view, using 4S and 1L 3P to match the current leadership, which was still inequality. The principle of Sangahavatthu and principles of lifestyle of Mrs. Samavati broght the family and society to the state to happiness and peace of refining the core of the two principles, then it was certainly a good leadership. It could be used as a benefit for modern women as well as being a leader for society to sustainable development.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ และตำแหน่งงาน แตกต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 4 แห่ง จำนวน 207 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaires) มาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์และประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมี 2 ประเภท ได้แก่ 1) สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( )และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ 2) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงทำการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) และใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ และด้านหลักการมีส่วนร่วม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย พบว่า บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาครที่มีเพศต่างกัน มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานบริการสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวม และในรายด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนที่มีอายุต่างกัน โดยรวม ไม่แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่า ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และที่มีตำแหน่งงานต่างกัน โดยรวม แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่าด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักนิติธรรมด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร มีดังนี้ 1) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรรักษามาตรฐานที่ดีอยู่แล้วต่อไปอย่างต่อเนื่องในด้านนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใส ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุดซึ่งจะเป็นแบบอย่างองค์กรคุณภาพที่ดีทั้งในและนอกหน่วยงาน 2) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการส่งเสริมพัฒนาให้มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ในด้านหลักความคุ้มค่าด้านหลักความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น ซึ่งอยู่ในระดับมาก และด้านหลักการมีส่วนร่วม ควรเน้นให้ความสำคัญของการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ และตำแหน่งงาน แตกต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 4 แห่ง จำนวน 207 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaires) มาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์และประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมี 2 ประเภท ได้แก่ 1) สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( )และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ 2) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงทำการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) และใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ และด้านหลักการมีส่วนร่วม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย พบว่า บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาครที่มีเพศต่างกัน มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานบริการสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวม และในรายด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนที่มีอายุต่างกัน โดยรวม ไม่แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่า ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และที่มีตำแหน่งงานต่างกัน โดยรวม แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่าด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักนิติธรรมด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร มีดังนี้ 1) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรรักษามาตรฐานที่ดีอยู่แล้วต่อไปอย่างต่อเนื่องในด้านนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใส ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุดซึ่งจะเป็นแบบอย่างองค์กรคุณภาพที่ดีทั้งในและนอกหน่วยงาน 2) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการส่งเสริมพัฒนาให้มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ในด้านหลักความคุ้มค่าด้านหลักความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น ซึ่งอยู่ในระดับมาก และด้านหลักการมีส่วนร่วม ควรเน้นให้ความสำคัญของการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร
และผู้รับบริการเป็นอย่างมากตามหลักความเป็นเลิศทางธรรมาภิบาล ซึ่งอยู่ในระดับมาก แต่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดใน 6 ด้าน ซึ่งจะเป็นองค์กรคุณภาพที่ดี และมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป
This thematic paper had the following objectives: 1) to study an application of good governance principles in performing duties of public health personnel in public sector of Samut Sakhon province; 2) to compare the application of good governance principles in performing duties of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province, by categorizing personal factors with gender, age and occupation; and 3) to suggest guidelines for the application of good governance in the performance of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province. It was a survey research. The sample group was public health personnel In public sector of Samut Sakhon Province, 4 locations, 207 persons. Simple Random Sampling method was used. The research instruments were questionnaires, five levels of estimation scale, with the whole confidence value of .963, analyzed and processed by computer. The used statistics for data analysis were of 2 types : 1) descriptive statistics were frequency, percentage, average and standard deviation (S.D.) and 2) inferential statistics, namely, T-test and one-way ANOVA. When differences were found to be statistically significant at the level of 0.05, the average difference was tested by Scheffé's method and using content analysis techniques. The research was found as follows : 1) The level of applying good governance in the performance of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province, including all 6 aspects, was at a high level. When considering each aspect by sorting by average from descending order, it was in the aspect of rule of law, the aspect of moral principles, the aspect of transparency, the aspect of cost-effectiveness, the aspect of responsibility and the aspect of participation, respectively. 2) The results of the hypothesis testing of the research were found as follows: the personnel, with different gender, as the whole view and in each aspect, had no different level of applying of good governance in the performance of public health; the personnel with different age, as the whole view, had no different level, but in each aspect, it was found that personnel had no different level in the aspect of the rule of law, and the aspect of responsibility; the personnel had different level in the aspect of moral principles, the aspect of transparency, the aspect of cost effectiveness, and the aspect of participation, with statistical significance at the level of 0.05. 3) Suggestions on the application of good governance principles in the performance of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province were as follows: 1) in the aspect of the rule of law, the aspect of moral principles, and the aspect of transparency, which were at high level, the personnel should be trained to maintain such a good standard; and 2) in the aspect of cost-effectiveness, and the aspect of responsibility, which were at high level as well, the personnel should be encouraged and developed in good governance principles in performing duties; and in the aspect of participation, the personnel should be emphasized the importance of participation of public health and the service recipients, which were at a high level, but had the least average in 6 areas, and this would be a good quality organization and the most effective.
หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ที่มี เพศ อายุ การศึกษา แตกต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนจำนวน 361 คน แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งการสุ่มแบบบังเอิญเป็นการแจกแบบสอบถามให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โดยบังเอิญไม่ได้จำเพาะเจาะจงว่าเป็นใคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) สถิติ ค่าความถี่ (ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะเปรียบเทียบหาค่าความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) บทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี พบว่า โดยรวมทั้ง3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ระดับมากที่สุด คือ ด้านไฟฟ้า รองลงมาคือ ด้านถนน และน้อยสุดคือ ด้านประปา 2) ประชาชนที่มีเพศ และการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โดยรวมไม่แตกต่างกัน แต่ประชาชนที่มีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ด้านไฟฟ้า เทศบาลควรให้ความรู้และแจ้งให้ประชาชนรับทราบและเข้าใจว่ามีการประชาสัมพันธ์การติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะมีความเหมาะสมในจุดที่ป้องกันเหตุร้ายได้ตลอดเวลา ด้านประปา พนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาลควรให้ความรู้ ชี้แจง อธิบายและบอกถึงรายละเอียดต่าง ๆ ให้ประชาชนได้รับทราบ รับรู้ข้อมูลและมีความเข้าใจในการดูแลระบบการจ่ายน้ำประปามีความสม่ำเสมอมีบริการที่รวดเร็วในการปรับปรุงซ่อมแซมได้อย่างถูกต้อง ด้านถนน เทศบาลควรมีการการก่อสร้าง ปรับปรุง บูรณะ ซ่อมแซมถนนที่ชำรุดได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพได้รวดเร็วและเทศบาลจะได้มีการพัฒนาระบบการจราจรและพร้อมในการช่วยเมื่อได้รับความเดือดร้อนในเส้นทาง
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ที่มี เพศ อายุ การศึกษา แตกต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนจำนวน 361 คน แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งการสุ่มแบบบังเอิญเป็นการแจกแบบสอบถามให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โดยบังเอิญไม่ได้จำเพาะเจาะจงว่าเป็นใคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) สถิติ ค่าความถี่ (ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะเปรียบเทียบหาค่าความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) บทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี พบว่า โดยรวมทั้ง3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ระดับมากที่สุด คือ ด้านไฟฟ้า รองลงมาคือ ด้านถนน และน้อยสุดคือ ด้านประปา 2) ประชาชนที่มีเพศ และการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โดยรวมไม่แตกต่างกัน แต่ประชาชนที่มีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ด้านไฟฟ้า เทศบาลควรให้ความรู้และแจ้งให้ประชาชนรับทราบและเข้าใจว่ามีการประชาสัมพันธ์การติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะมีความเหมาะสมในจุดที่ป้องกันเหตุร้ายได้ตลอดเวลา ด้านประปา พนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาลควรให้ความรู้ ชี้แจง อธิบายและบอกถึงรายละเอียดต่าง ๆ ให้ประชาชนได้รับทราบ รับรู้ข้อมูลและมีความเข้าใจในการดูแลระบบการจ่ายน้ำประปามีความสม่ำเสมอมีบริการที่รวดเร็วในการปรับปรุงซ่อมแซมได้อย่างถูกต้อง ด้านถนน เทศบาลควรมีการการก่อสร้าง ปรับปรุง บูรณะ ซ่อมแซมถนนที่ชำรุดได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพได้รวดเร็วและเทศบาลจะได้มีการพัฒนาระบบการจราจรและพร้อมในการช่วยเมื่อได้รับความเดือดร้อนในเส้นทาง
This thematic paper had the following objectives: 1) To study the role of infrastructure development of Bangkao Sub-district Municipality, Cha-am District, Phetchaburi Province; 2) To compare the role of infrastructure development of Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-am District, Phetchaburi Province, classified with gender, age, and education; and 3) To study the guidelines for the development of infrastructure of Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-am District, Phetchaburi Province. It was a survey research. The sample group consisted of 361 people and used an accidental sampling method to collect data. It was accidentally randomized distribution of questionnaires to people living in Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-am District, Phetchaburi Province, accidentally not specific to who it was. The used tools in the research were questionnaires with the reliability of 0.95. The statistics used for data analysis were statistics, frequency (percentage), mean ( ) and standard deviation (SD). T-test and One-Way ANOVA test were used. When there were significant differences at the level of 0.05, the differences were analyzed by pairing with the method of Scheffé. The results of the research were found as follows: 1) The role of the infrastructure development of Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-Am District, Phetchaburi Province, was found that the total of 3 aspects was at a high level. When considering each aspect by sorting by average from descending to highest, it was found that the highest level was the aspect of electricity. 2) People with different sex and education had opinions about the role of infrastructure development of Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-Am District, Phetchaburi Province, in the whole view with no difference. But people with different ages had opinions about the role of infrastructure development of Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-Am District, Phetchaburi Province, differing significantly at the level of 0.05. 3) Guidelines for the development of the infrastructure of Bang Kao Sub district Municipality, Cha-am District, Phetchaburi Province, were as follows : The municipality should educate and inform the public that there was a public relations installation of public electricity that was appropriate at the point of preventing the disaster. In the aspect of the water supply, the municipality officials should give knowledge, clarify, explain and give details to the public about information and understanding of the water supply distribution system with consistency, fast service in correcting and repairing. In the aspect of roads, municipality officials should have construction, improvement and reparation of the roads very fast and the municipality officials should develop the traffic system and ready to help when suffering was in the path.
หนังสือ