Search results

45 results in 0.18s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตาม เพศ อายุ และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานของสถานศึกษาตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 จำนวน 133 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.984 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปรโดยใช้ t-test และ F-test (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด คือ ด้านเมตตา ด้านกรุณา ด้านมุทิตา ด้านอุเบกขา ตามลำดับ 2) เปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์เขต 2 ตามความคิดเห็นของครูจำแนกตามเพศ อายุ และประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ครูได้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานของสถานศึกษาตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ทั้ง 4 ด้านดังนี้ ด้านเมตตา ผู้บริหารกล้าแสดงออก และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผลที่ประกอบด้วยเมตตาธรรม เข้าใจถึงปัญหาและความต้องการของบุคลากร ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่ดี ปรารถนาดีต่อเพื่อนร่วมงานเสมอ ด้านกรุณา ผู้บริหารมีเวลาในการให้คำปรึกษากับผู้ใต้บังคับบัญชา และควรมีการสอบถามปัญหาเรื่องต่างๆ ด้านมุทิตา ผู้บริหารแสดงความยินดี ความชื่นชม เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ด้านอุเบกขา ผู้บริหารมีความเป็นกลางแก่บุคลากรทุกคนด้วยความเสมอภาค ตัดสินด้วยความเป็นธรรม ไม่เอนเอียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำแนกตาม เพศ อายุ และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานของสถานศึกษาตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 จำนวน 133 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.984 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปรโดยใช้ t-test และ F-test (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด คือ ด้านเมตตา ด้านกรุณา ด้านมุทิตา ด้านอุเบกขา ตามลำดับ 2) เปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์เขต 2 ตามความคิดเห็นของครูจำแนกตามเพศ อายุ และประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ครูได้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานของสถานศึกษาตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองกุงศรี 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ทั้ง 4 ด้านดังนี้ ด้านเมตตา ผู้บริหารกล้าแสดงออก และกล้าตัดสินใจด้วยเหตุผลที่ประกอบด้วยเมตตาธรรม เข้าใจถึงปัญหาและความต้องการของบุคลากร ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่ดี ปรารถนาดีต่อเพื่อนร่วมงานเสมอ ด้านกรุณา ผู้บริหารมีเวลาในการให้คำปรึกษากับผู้ใต้บังคับบัญชา และควรมีการสอบถามปัญหาเรื่องต่างๆ ด้านมุทิตา ผู้บริหารแสดงความยินดี ความชื่นชม เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ด้านอุเบกขา ผู้บริหารมีความเป็นกลางแก่บุคลากรทุกคนด้วยความเสมอภาค ตัดสินด้วยความเป็นธรรม ไม่เอนเอียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
Objectives of the research aimed: 1) to investigate a benchmark for school administrators’ (the former’s) task administrations with Buddhism’s Four Sublime States of Mind at 2nd Nongkrungsi Network Centre’s Education Quality Development Schools under Primary Education Service Area Office 2, 2) to draw comparisons of informants’ (the latter’s) opinions based on genders, ages, and working experiences, 3) to examine suggestions for enhancing the former’s task administrations. The sampling groups comprised 133 teachers-cum-informants. The data collection instrument was the five-rating-scale questionnaire with IOC between 0.67 and 1.00, including reliability throughout the entire set at 0.984. Data were processed with the software package. Statistical units for analyzing data encompassed frequencies, percentages, means, standard deviations, t-tests, and F-tests (One-way ANOVA). Research findings have revealed following outcomes: 1) The benchmark for the former’s task administrations with Buddhism’s Four Sublime States of Mind at their schools has been rated at the highest scale in comprehensive and single aspects. Each aspect in the descending order of means embraces loving kindness, loving joy, sympathetic joy, and equanimity respectively. 2)Comparative results of the latter’s opinions on the former’s task administrations with Buddhism’s Four Sublime States of Mind at their schools following the latter’s variables of genders, ages and working experiences do not vary in both aspects. 3) Teachers-cum-informants have offered four recommendations. First, the administrators with loving-kindness dare be assertive, making proper decision, understanding subordinates’ problems and needs. Next, they afford time for rendering advice to show subordinates. Rather, they inquire the latter’s task difficulties and requirements. Then, they express good wishes and admirations to subordinates with sympathetic joy to boost their morale for duty performance. Last, they demonstrate neutrality, equality and fair treatment to subordinates with equanimity.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารโรงเรียนและเปรียบเทียบการบริหาร โรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 324 คน โดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน ใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับจำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ.922 สถิติที่ใช้หาคุณภาพของเครื่องมือได้แก่ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความเชื่อมั่น สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างการบริหารงานโรงเรียนใช้สถิติที (t-test) และขนาดของโรงเรียน ใช้สถิติเอฟ (F–test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการวางแผนกลยุทธ์ขององค์การ รองลงมาคือ ด้านการกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงาน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดด้านการให้รางวัลตอบแทน 2. ผลการเปรียบเทียบทัศนะของครูต่อการบริหารโรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผล สัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและจำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารโรงเรียนและเปรียบเทียบการบริหาร โรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 324 คน โดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน ใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับจำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ.922 สถิติที่ใช้หาคุณภาพของเครื่องมือได้แก่ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความเชื่อมั่น สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างการบริหารงานโรงเรียนใช้สถิติที (t-test) และขนาดของโรงเรียน ใช้สถิติเอฟ (F–test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการวางแผนกลยุทธ์ขององค์การ รองลงมาคือ ด้านการกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงาน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดด้านการให้รางวัลตอบแทน 2. ผลการเปรียบเทียบทัศนะของครูต่อการบริหารโรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผล สัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและจำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
The purpose of this study was to study the level of school administration using the principle of performance management of school administrators and comparison of school administration using the principals of achievement management of school administrators as perceived by teachers under secondary educational service area office 19 classified by sex, work experience and school size. The sample size was 324 persons sample sizes were calculated using Krejcie & Morgan tables. The instrument used in this study was a questionnaire designed. A total of 30 questionnaires were used the reliability was .922. Statistics used to determine the quality of tools, such as content validity, confidence. The basic statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation. Statistics used for comparative analysis differences in school administration by gender, work experience and school size using t-test and school size using F-test. The results of the study were as follows :- 1. The administration of the institution. The overall level was at a high level the highest mean was organizational strategic planning, followed by the definition of performance indicators. The lowest mean of reward. 2. The results of the comparison of teachers' viewpoints on school administration using the principle of achievement management of school administrators. Classified by sex, work experience and school size. All aspects were statistically significant difference at .01 levels.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ3) เพื่อศึกษา พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลนักเรียนช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ สถานศึกษาหรือหัวหน้าฝ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูแนะแนว และครูประจำชั้นหรือครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร และการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า: 1. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมาก 6 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ดังนี้ อันดับแรก คือ ด้านการเป็นผู้นำ รองลงมา คือ ด้านการจูงใจ ด้านการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม ด้านการตัดสินใจ ด้านการกำหนดเป้าหมาย ด้านการติดต่อสื่อสาร และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน และด้านการปฏิสัมพันธ์และการมีอิทธิผลต่อกัน 2. การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อยได้ ดังนี้ ด้านการรู้จักนักเรียนรายบุคคล รองลงมา คือ ด้านการป้องกันช่วยเหลือและแก้ปัญหา ด้านการคัดกรองนักเรียน ด้านการส่งเสริม และด้านการส่งต่อ 3. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ การตัดสินใจ เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสามารถทำนายความแปรปรวนของการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้ร้อยละ 29
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ3) เพื่อศึกษา พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลนักเรียนช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ สถานศึกษาหรือหัวหน้าฝ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูแนะแนว และครูประจำชั้นหรือครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร และการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า: 1. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมาก 6 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ดังนี้ อันดับแรก คือ ด้านการเป็นผู้นำ รองลงมา คือ ด้านการจูงใจ ด้านการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม ด้านการตัดสินใจ ด้านการกำหนดเป้าหมาย ด้านการติดต่อสื่อสาร และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน และด้านการปฏิสัมพันธ์และการมีอิทธิผลต่อกัน 2. การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อยได้ ดังนี้ ด้านการรู้จักนักเรียนรายบุคคล รองลงมา คือ ด้านการป้องกันช่วยเหลือและแก้ปัญหา ด้านการคัดกรองนักเรียน ด้านการส่งเสริม และด้านการส่งต่อ 3. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ การตัดสินใจ เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสามารถทำนายความแปรปรวนของการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้ร้อยละ 29
The purpose of this research was 1) to study the management behavior of the executives. 2) To study the management of school attendance system in schools. Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1 and 3) to study the administrative behavior of the administrators affecting the administration of the student support system in the educational institution. The sample is the director of the school. Deputy Director 9Educational institutions or heads of departments involved in the implementation of student support systems, tutors, and classroom teachers, or school counselors. The questionnaire was administered to 345 administrators. And management of student support systems. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation. And the multiple regression equation you step. Data were analyzed by using software program. The research found that: 1. Management Behavior of Management Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1, When considering each side, it was found that. Management Behavior of Management Under the jurisdiction of the office of the Office of the Secondary Education Region 1, the level of education was at the high level of 6 levels and was at the medium level, 2 aspects were ranked from the average to the lowest. Performance Standards and Training Decision making Targeting Communication Operational control And the interaction and interaction. 2. Management of school attendance support system Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1, When considering each side, it was found that. Management Behavior of Management Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1, the level of education was at the high level of 5 levels, ranging from the average to the lowest. Student Screening Promotion And the transmission. 3. Management Behavior of Management The most influential factors influencing decision-making in school administration are the factors influencing the management of the school support system. The results of this study showed that the students' Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Region 1, 29%
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่คาดหวังการบริหารการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น การบริหารการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่บุคลากร จำนวน 110 คน และผู้ให้สัมภาษณ์จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNI Modified) ผลการวิจัยพบว่า : 1) สภาพปัจจุบันการบริหารการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านงบประมาณ รองลงมาคือ ด้านงานบุคคล ด้านงานวิชาการ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านงานทั่วไป ส่วนสภาพที่คาดหวัง โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือด้านงานบุคคล รองลงมาคือ ด้านงานทั่วไป ด้านงานวิชาการ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านงบประมาณ 2) ความต้องการจำเป็น เรียงจากความต้องการมากที่สุดไปน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านงานทั่วไป ด้านงานบุคคล ด้านงานวิชาการ และด้านงบประมาณ ตามลำดับ 3) แนวทางการบริหารการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ ดังนี้ (1) ควรมีแนวปฏิบัติในการดำเนินผลประเมินผลที่ชัดเจน บริหารจัดการตามนโยบาย กิจกรรม และภารกิจ ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบแบบแผนที่กำหนด (2) ควรมีการวางแผนพัสดุ การจัดหาพัสดุ การควบคุมดูแล (3) ควรมีการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา (4) ควรมีการวิเคราะห์วางแผนอัตรากำลัง เรียงลำดับอัตรากำลังที่ขาดแคลนจากมากไปหาน้อย (5) ควรกำหนดนโยบาย วางแผนงาน โครงการ กิจกรรมของกลุ่มบริหารงานทั่วไปให้ชัดเจน ผู้บริหารควรควบคุมดูแลงานของกลุ่มบริหารงานทั่วไปให้เป็นไปตามนโยบายของสถานศึกษา
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่คาดหวังการบริหารการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น การบริหารการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่บุคลากร จำนวน 110 คน และผู้ให้สัมภาษณ์จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNI Modified) ผลการวิจัยพบว่า : 1) สภาพปัจจุบันการบริหารการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านงบประมาณ รองลงมาคือ ด้านงานบุคคล ด้านงานวิชาการ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านงานทั่วไป ส่วนสภาพที่คาดหวัง โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือด้านงานบุคคล รองลงมาคือ ด้านงานทั่วไป ด้านงานวิชาการ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านงบประมาณ 2) ความต้องการจำเป็น เรียงจากความต้องการมากที่สุดไปน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านงานทั่วไป ด้านงานบุคคล ด้านงานวิชาการ และด้านงบประมาณ ตามลำดับ 3) แนวทางการบริหารการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ ดังนี้ (1) ควรมีแนวปฏิบัติในการดำเนินผลประเมินผลที่ชัดเจน บริหารจัดการตามนโยบาย กิจกรรม และภารกิจ ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบแบบแผนที่กำหนด (2) ควรมีการวางแผนพัสดุ การจัดหาพัสดุ การควบคุมดูแล (3) ควรมีการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา (4) ควรมีการวิเคราะห์วางแผนอัตรากำลัง เรียงลำดับอัตรากำลังที่ขาดแคลนจากมากไปหาน้อย (5) ควรกำหนดนโยบาย วางแผนงาน โครงการ กิจกรรมของกลุ่มบริหารงานทั่วไปให้ชัดเจน ผู้บริหารควรควบคุมดูแลงานของกลุ่มบริหารงานทั่วไปให้เป็นไปตามนโยบายของสถานศึกษา
The objectives of the research were 1) to study the current and desired situations of the Educational Administration of the General Education Section of Phrapariyattidhamma Schools In Kalasin Province, 2)to analyze the needs of Educational Administration of the said schools, and 3) to find out the suggestions and recommendations related to the administration of those particular schools. Samples were the personnel of Phrapariyattidhamma Schools In Kalasin Province, totally 110 in number and 10 interviews. The instruments for collecting the data were the questionnaire, with its reliability value at 0.94 and quality-verified interview. The data collected were analyzed by the computer program, and the statistical devices consisted of Frequency, Percentage, mean, and standard deviation. Statistics used to test the hypothesis were PNI Modified The research results were as follows: 1) The current situation of educational administration of the General Education Section of Phrapariyattidhamma Schools in Kalasin Province was, in an overall aspect, found to be at the Medium level, whereas in an individual dimension, the item that stood on top of the scale was financial issue, second to which was personnel administration, followed by academic and general management, respectively. As for the desired situation, it was, in an overall aspect, found to stand at the highest level, but in an individual aspect, the issue that displayed the highest average record was the aspect of personnel administration, followed by general and academic management, with the issue of finance lying at the bottom. 2) The desired needs, ranked downward from top to bottom, were general, personnel, academic and financial management, in that order. 3) The suggestions as recommended by the responses and interviews were the following: (1) Evaluation of performances should be clearly implemented, and administration of policy, activity and duties should be carried on under the plan as established. (2) There should be a well-designed plan for administration of premises and materials, together with their acquirement and control. (3) The finance and investment should be mobilized for the sake of educational promotion. (4) The man power plan should be undertaken on the acquired information in preparation for unexpected situation due to occur. 5) The administrator should run the general administrative commitments along with the institutional policies as set in advance.