Search results

4 results in 0.03s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารโรงเรียนและเปรียบเทียบการบริหาร โรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 324 คน โดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน ใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับจำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ.922 สถิติที่ใช้หาคุณภาพของเครื่องมือได้แก่ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความเชื่อมั่น สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างการบริหารงานโรงเรียนใช้สถิติที (t-test) และขนาดของโรงเรียน ใช้สถิติเอฟ (F–test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการวางแผนกลยุทธ์ขององค์การ รองลงมาคือ ด้านการกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงาน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดด้านการให้รางวัลตอบแทน 2. ผลการเปรียบเทียบทัศนะของครูต่อการบริหารโรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผล สัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและจำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารโรงเรียนและเปรียบเทียบการบริหาร โรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 324 คน โดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน ใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับจำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ.922 สถิติที่ใช้หาคุณภาพของเครื่องมือได้แก่ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความเชื่อมั่น สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างการบริหารงานโรงเรียนใช้สถิติที (t-test) และขนาดของโรงเรียน ใช้สถิติเอฟ (F–test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการวางแผนกลยุทธ์ขององค์การ รองลงมาคือ ด้านการกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วัดผลการดำเนินงาน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดด้านการให้รางวัลตอบแทน 2. ผลการเปรียบเทียบทัศนะของครูต่อการบริหารโรงเรียนโดยใช้หลักการบริหารแบบมุ่งผล สัมฤทธิ์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงานและจำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
The purpose of this study was to study the level of school administration using the principle of performance management of school administrators and comparison of school administration using the principals of achievement management of school administrators as perceived by teachers under secondary educational service area office 19 classified by sex, work experience and school size. The sample size was 324 persons sample sizes were calculated using Krejcie & Morgan tables. The instrument used in this study was a questionnaire designed. A total of 30 questionnaires were used the reliability was .922. Statistics used to determine the quality of tools, such as content validity, confidence. The basic statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation. Statistics used for comparative analysis differences in school administration by gender, work experience and school size using t-test and school size using F-test. The results of the study were as follows :- 1. The administration of the institution. The overall level was at a high level the highest mean was organizational strategic planning, followed by the definition of performance indicators. The lowest mean of reward. 2. The results of the comparison of teachers' viewpoints on school administration using the principle of achievement management of school administrators. Classified by sex, work experience and school size. All aspects were statistically significant difference at .01 levels.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554