Search results

15 results in 1.1s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง
  • มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาพรรคการเมืองไทย 2) เพื่อศึกษาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์การพัฒนาพรรคการเมืองไทยตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพวิเคราะห์เอกสารเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. พรรคการเมืองไทยเกิดขึ้นมาภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อ พุทธศักราช 2475 และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน พรรคการเมืองไทยคือกลุ่มคนที่มีแนวคิดและอุดมการณ์เดียวกันมุ่งหวังที่จะจัดตั้งรัฐบาล 2. ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยคือการที่ถือเสียงประชาชนส่วนใหญ่เป็นสำคัญในการตัดสินใจที่จะเลือกผู้แทนโดยการผ่านสมาชิกของพรรคการเมืองเข้าสู่กระบวนการเลือกตั้งนำไปสู่การจัดตั้งรัฐบาล 3. พรรคการเมืองไทยเป็นพรรคการเมืองที่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยแบบสากล คือด้านการส่งผู้รับสมัครลงเลือกตั้งของไทย ตามรัฐธรรมนูญ 2560 และทางด้านอเมริกามีความสอดคล้องกันคือผู้รับสมัครลงเลือกตั้งต้องผ่านการหยั่งเสียงเบื้องต้นมาก่อน ส่วนทางด้านพรรคการเมืองของอังกฤษการส่งผู้รับสมัครลงเลือกตั้งไม่ผ่านการหยั่งเสียงเบื้องต้น และระบบพรรคการเมืองของสหรัฐอเมริกาและของอังกฤษจัดอยู่ในระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค ส่วนของพรรคการเมืองไทยมีแนวโน้มเป็นระบบสองพรรคเช่นกัน การพัฒนาพรรคการเมืองไทยตามระบอบประชาธิปไตย พรรคการเมืองไทย ได้นำวิธีการในแบบสหรัฐอเมริกาและแบบอังกฤษมาปรับประยุกต์ใช้ และใช้ระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขเช่นเดียวกับอังกฤษ
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาพรรคการเมืองไทย 2) เพื่อศึกษาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์การพัฒนาพรรคการเมืองไทยตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพวิเคราะห์เอกสารเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. พรรคการเมืองไทยเกิดขึ้นมาภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อ พุทธศักราช 2475 และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน พรรคการเมืองไทยคือกลุ่มคนที่มีแนวคิดและอุดมการณ์เดียวกันมุ่งหวังที่จะจัดตั้งรัฐบาล 2. ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยคือการที่ถือเสียงประชาชนส่วนใหญ่เป็นสำคัญในการตัดสินใจที่จะเลือกผู้แทนโดยการผ่านสมาชิกของพรรคการเมืองเข้าสู่กระบวนการเลือกตั้งนำไปสู่การจัดตั้งรัฐบาล 3. พรรคการเมืองไทยเป็นพรรคการเมืองที่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยแบบสากล คือด้านการส่งผู้รับสมัครลงเลือกตั้งของไทย ตามรัฐธรรมนูญ 2560 และทางด้านอเมริกามีความสอดคล้องกันคือผู้รับสมัครลงเลือกตั้งต้องผ่านการหยั่งเสียงเบื้องต้นมาก่อน ส่วนทางด้านพรรคการเมืองของอังกฤษการส่งผู้รับสมัครลงเลือกตั้งไม่ผ่านการหยั่งเสียงเบื้องต้น และระบบพรรคการเมืองของสหรัฐอเมริกาและของอังกฤษจัดอยู่ในระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค ส่วนของพรรคการเมืองไทยมีแนวโน้มเป็นระบบสองพรรคเช่นกัน การพัฒนาพรรคการเมืองไทยตามระบอบประชาธิปไตย พรรคการเมืองไทย ได้นำวิธีการในแบบสหรัฐอเมริกาและแบบอังกฤษมาปรับประยุกต์ใช้ และใช้ระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขเช่นเดียวกับอังกฤษ
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study Thai political party development, 2) to study democratic government system, and 3) to analyze the Thai political party development according to the democracy. The data of this qualitative research were collected from documents, analyzed by content analysis, and presented by by a descriptive method. The study results found that; 1. The Thai political parties were founded after changing the rule from absolute monarchy to democracy in 1932, and they continued gradual development. From past to present, the Thai political parties were groups of people with the same or similar concept and ideology aimed to establish a government. 2. The democracy is the government based on majority votes of people through representatives of political parties by election. 3. In the development of Thai political party according to the democracy, Thai political parties are democratic relevant to universal democratic system. The fielding of the party candidates to election in Thailand was similar to that in the United States of America, but different from that in the United Kingdom which had shorter time in canvassing before the election. The tendency of Thai political party could be grouped into two main parties as in the United States of America and in England. In the development of Thai political party in democracy, long time canvassing before the election as in the United States of America and democratic form of government with the King as Head of state may be applied.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553