Search results

25 results in 0.07s

หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหาอุปสรรคการบริหารหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2) เพื่อศึกษานโยบายปฏิรูปประเทศไทยด้านการอุดมศึกษา 20 ปี 3) เพื่อศึกษาหลักการบริหารและการพัฒนาการอุดมศึกษาในอนาคต และ 4) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาที่สนองนโยบายปฏิรูปประเทศไทยระยะ 20 ปี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยมี 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักศึกษา และกลุ่มนักวิชาการและอาจารย์ประจำหลักสูตร เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( xˉ ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันในการบริหารหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้าน พบว่า การบริหารหลักสูตรด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านนักศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการจัดการหลักสูตร และด้านการบริหารอาจารย์ประจำหลักสูตร มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลางตามลำดับ 2) นโยบายปฏิรูปประเทศไทยด้านการอุดมศึกษา 20 ปี จะมุ่งเน้นคุณภาพบัณฑิต คุณภาพการวิจัยและนวัตกรรม การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศระดับโลก สร้างความเสมอภาค โอกาสและความหลากหลายของผู้รับบริการ การพัฒนากลุ่มผู้ด้อยโอกาส และตอบสนองบทบาทที่เปลี่ยนแปลง โดยการปรับตัวในการผลิตบัณฑิตเข้าสู่ความต้องการของสังคมและตลาดแรงงาน การลดช่องว่างทักษะของบัณฑิตกับความต้องการของนายจ้าง การสร้างงาน การเป็นผู้ประกอบการและการมีงานทำ 3) หลักการบริหารและการพัฒนาการอุดมศึกษาในอนาคต ได้แก่ การสร้างพลเมืองคุณภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน การพัฒนาหลักสูตรเพื่อทําให้ผู้เรียนสามารถกําหนดแนวทางในการประกอบอาชีพได้ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง การปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อสร้างคนที่ เป็น “คนไทย 4.0” การกระจายโอกาสและการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การบริหาร จัดการงบประมาณและทรัพยากรของอุดมศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิตที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 4) แนวทางการพัฒนาหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษา ควรขับเคลื่อนตามแนวนโยบายมหาวิทยาลัย 4.0 โดยมีการบริหารจัดการความเสี่ยงและวางแผนด้านอัตรากำลังของอาจารย์ประจําหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ปรับกลยุทธ์การรับเข้าเพื่อให้ได้ผู้เรียนตรงตามเป้าหมาย โดยการประชาสัมพันธ์เชิงรุกไปยังกลุ่มเป้าหมาย สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและเอกชนเพื่อหาผู้เรียนในกลุ่มคนวัยทำงานและผู้สูงวัย มีการเพิ่มช่องทางการรับเข้า เช่น จัดทําการตลาด (Marketing) การจัดกิจกรรม Open House เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตร สร้างหลักสูตรให้มีความทันสมัย ยืดหยุ่นและสามารถตอบโจทย์ความต้องการของสังคมได้ พัฒนาหลักสูตรเชิงบูรณาการในลักษณะของสหกิจศึกษาเพื่อให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งส่งเสริมนวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่โดยมีพุทธศาสนาเป็นฐาน รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหาอุปสรรคการบริหารหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2) เพื่อศึกษานโยบายปฏิรูปประเทศไทยด้านการอุดมศึกษา 20 ปี 3) เพื่อศึกษาหลักการบริหารและการพัฒนาการอุดมศึกษาในอนาคต และ 4) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาที่สนองนโยบายปฏิรูปประเทศไทยระยะ 20 ปี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยมี 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักศึกษา และกลุ่มนักวิชาการและอาจารย์ประจำหลักสูตร เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( xˉ ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันในการบริหารหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้าน พบว่า การบริหารหลักสูตรด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านนักศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการจัดการหลักสูตร และด้านการบริหารอาจารย์ประจำหลักสูตร มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลางตามลำดับ 2) นโยบายปฏิรูปประเทศไทยด้านการอุดมศึกษา 20 ปี จะมุ่งเน้นคุณภาพบัณฑิต คุณภาพการวิจัยและนวัตกรรม การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศระดับโลก สร้างความเสมอภาค โอกาสและความหลากหลายของผู้รับบริการ การพัฒนากลุ่มผู้ด้อยโอกาส และตอบสนองบทบาทที่เปลี่ยนแปลง โดยการปรับตัวในการผลิตบัณฑิตเข้าสู่ความต้องการของสังคมและตลาดแรงงาน การลดช่องว่างทักษะของบัณฑิตกับความต้องการของนายจ้าง การสร้างงาน การเป็นผู้ประกอบการและการมีงานทำ 3) หลักการบริหารและการพัฒนาการอุดมศึกษาในอนาคต ได้แก่ การสร้างพลเมืองคุณภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน การพัฒนาหลักสูตรเพื่อทําให้ผู้เรียนสามารถกําหนดแนวทางในการประกอบอาชีพได้ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง การปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อสร้างคนที่ เป็น “คนไทย 4.0” การกระจายโอกาสและการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การบริหาร จัดการงบประมาณและทรัพยากรของอุดมศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิตที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 4) แนวทางการพัฒนาหลักสูตรพุทธศาสน์ศึกษา ควรขับเคลื่อนตามแนวนโยบายมหาวิทยาลัย 4.0 โดยมีการบริหารจัดการความเสี่ยงและวางแผนด้านอัตรากำลังของอาจารย์ประจําหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ปรับกลยุทธ์การรับเข้าเพื่อให้ได้ผู้เรียนตรงตามเป้าหมาย โดยการประชาสัมพันธ์เชิงรุกไปยังกลุ่มเป้าหมาย สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและเอกชนเพื่อหาผู้เรียนในกลุ่มคนวัยทำงานและผู้สูงวัย มีการเพิ่มช่องทางการรับเข้า เช่น จัดทําการตลาด (Marketing) การจัดกิจกรรม Open House เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตร สร้างหลักสูตรให้มีความทันสมัย ยืดหยุ่นและสามารถตอบโจทย์ความต้องการของสังคมได้ พัฒนาหลักสูตรเชิงบูรณาการในลักษณะของสหกิจศึกษาเพื่อให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งส่งเสริมนวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่โดยมีพุทธศาสนาเป็นฐาน
Note: รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
หนังสือ

    สนับสนุนโดย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
Note: สนับสนุนโดย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 ข้อความคิดเกี่ยวกับการคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่ของศาลและการคุ้มครองความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
  • บทที่ 3 หลักการคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในต่างประเทศ
  • บทที่ 4 การคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่และการละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญไทย
  • บทที่ 5 วิเคราะห์บทบัญญัติและข้อจำกัดของการละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ
  • บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
หนังสือ

    รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
Note: รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
หนังสือ

    รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
Note: รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
หนังสือ

    รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
Note: รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
หนังสือ

    รายงานเล่มนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
Note: รายงานเล่มนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
หนังสือ

    รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
Note: รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
หนังสือ

    รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
Note: รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
หนังสือ

    รายงานเล่มนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
Note: รายงานเล่มนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
หนังสือ

    รายงานเล่มนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562
Note: รายงานเล่มนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562