Search results

12 results in 0.08s

หนังสือ

    รายงานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
Note: รายงานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 ความรู้ทั่วไปและที่มาของเรื่องนันโทปนันทสูตรคำหลวง
  • บทที่ 3 ลักษณะทั่วไปของตันฉบับ รูปอักษร และอักขรวิธีที่ปรากฏในหนังสือสมุดไทยเรื่องนันทโทปนันทสูตรคำหลวง
  • บทที่ 4 การเปรียบเทียบนันโทปนันสูตรคำหลวงกับพระบาฬีนนโทปนนทสูตร
  • บทที่ 5 หลักธรรมในเรื่องนันโทปนันทสูตรคำหลวง
  • บทที่ 6 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
  • แนวคิดเกี่ยวกับคอร์รัปชั่น
  • แนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาล
  • แนวคิดเรื่องคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และระบบการศึกษาเพื่อต่อต้านคอร์รัปชัน
  • ผลประโยชน์ทับซ้อนหรือการขัดกันของผลประโยชน์
  • ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นกับสถานการณ์ปัจจุบัน
  • คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามกาทุจริตประจำจังหวัด
  • บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย
  • บทที่ 4 ผลการศึกษา
  • บทที่ 5 บทสรุป
หนังสือ

    รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากโครงการวิจัยเพื่อการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2561
Note: รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากโครงการวิจัยเพื่อการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2561
หนังสือ

    รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2561
Note: รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2561
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการดังนี้1) เพื่อศึกษาสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 3) เพื่อเสนอแนะการเพิ่มขีดความสามารถในการสอนธรรมและการนำปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหาม กุฏราชวิทยาลัย (ส่วนกลาง) สังกัดพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ จำนวน 222 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่แบบสอบถาม สำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และแบบสัมภาษณ์สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X̅) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน(Pearson’s Product Moment Correlation) นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบการบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้านพบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการนำปฏิบัติธรรม มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (X̅= 4.134) รองลงมาคือด้านเนื้อหาหลักสูตร มีค่าเฉลี่ย (X̅=4.084) และมีค่าน้อยสุดคือด้านการวัดผลและการประเมินผล มีค่าเฉลี่ย (X̅= 4.036) ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแสดงธรรมและนำการปฏิบัติธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้านพบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสถานภาพและการยอมรับนับถือ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (X̅=4.20) รองลงมาคือ ด้านความถนัดและความพึงพอใจในงาน (X̅=4.00) ด้านความเอาใจใส่ของผู้บังคับบัญชา (X̅= 3.95) และมีค่าน้อยสุดคือ ด้านการพิจารณาความดีความชอบและสวัสดิการ (X̅= 3.68) ตามลำดับ 3) ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถกับสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถกับสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมมีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับค่อนข้างสูง (rxy = 0.601) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หรือมีความสัมพันธ์ในลักษณะคล้อยตามกัน สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 4) รูปแบบการเพิ่มขีดความสามารถพบว่า พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ด้านความรู้ ควรมีรูปแบบที่เน้นการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้วยการสนับสนุนส่งเสริมการศึกษาทั้งทางโลกและทางธรรม จัดอบรมพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ด้านทักษะ ควรมีรูปแบบที่หลากหลายเพราะมีสถานศึกษาแต่ละพื้นที่พระสอนศีลธรรมไปปฏิบัติหน้าที่มีบริบทที่แตกต่างกันด้านบุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล ควรมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐานอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยดึงศักยภาพหรือบุคลิกลักษณะประจำตัวที่โดดเด่นของพระสอนศีลธรรมแต่ละรูปมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านทัศนคติและค่านิยม รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากโครงการการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการดังนี้1) เพื่อศึกษาสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 3) เพื่อเสนอแนะการเพิ่มขีดความสามารถในการสอนธรรมและการนำปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหาม กุฏราชวิทยาลัย (ส่วนกลาง) สังกัดพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ จำนวน 222 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่แบบสอบถาม สำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และแบบสัมภาษณ์สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X̅) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน(Pearson’s Product Moment Correlation) นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบการบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้านพบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการนำปฏิบัติธรรม มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (X̅= 4.134) รองลงมาคือด้านเนื้อหาหลักสูตร มีค่าเฉลี่ย (X̅=4.084) และมีค่าน้อยสุดคือด้านการวัดผลและการประเมินผล มีค่าเฉลี่ย (X̅= 4.036) ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแสดงธรรมและนำการปฏิบัติธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้านพบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสถานภาพและการยอมรับนับถือ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (X̅=4.20) รองลงมาคือ ด้านความถนัดและความพึงพอใจในงาน (X̅=4.00) ด้านความเอาใจใส่ของผู้บังคับบัญชา (X̅= 3.95) และมีค่าน้อยสุดคือ ด้านการพิจารณาความดีความชอบและสวัสดิการ (X̅= 3.68) ตามลำดับ 3) ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถกับสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถกับสภาพขีดความสามารถในการสอนธรรมและนำการปฏิบัติธรรมของพระสอนศีลธรรมมีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับค่อนข้างสูง (rxy = 0.601) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หรือมีความสัมพันธ์ในลักษณะคล้อยตามกัน สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 4) รูปแบบการเพิ่มขีดความสามารถพบว่า พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ด้านความรู้ ควรมีรูปแบบที่เน้นการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้วยการสนับสนุนส่งเสริมการศึกษาทั้งทางโลกและทางธรรม จัดอบรมพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ด้านทักษะ ควรมีรูปแบบที่หลากหลายเพราะมีสถานศึกษาแต่ละพื้นที่พระสอนศีลธรรมไปปฏิบัติหน้าที่มีบริบทที่แตกต่างกันด้านบุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล ควรมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐานอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยดึงศักยภาพหรือบุคลิกลักษณะประจำตัวที่โดดเด่นของพระสอนศีลธรรมแต่ละรูปมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านทัศนคติและค่านิยม
ควรจะรูปแบบควรมีลักษณะที่หลากหลายสอดคล้องกับสถานการณ์ของปัญหาและควรมีการบูรณาการรูปแบบต่าง ๆ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 5) ข้อเสนอแนะในการเพิ่มขีดความสามารถ พบว่า การส่งเสริมการศึกษาต่อของพระสอนศีลธรรมควรจะมีการส่งเสริมด้านการศึกษาในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับงาน การอบรม พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ควรจะเข้ารับการฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พระสอนศีลธรรมควรจะเข้าสัมมนาประจำปีควรจัดการศึกษาดูงานการปฏิบัติที่ดีและการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์การปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมแต่ละพื้นที่ ควรมีการศึกษาดูงานของหน่วยงาน ในสังกัดที่อยู่ต่างพื้นที่ เนื่องจากขีดความสามารถในการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมแต่ละรูปนั้น ไม่เท่ากัน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาเป็นรายบุคคล โดยการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมตามความถนัด เน้นพัฒนาขีดความสามารถเฉพาะตัว ทั้งนี้โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ควรจะเร่งดำเนินการตามแผนงานยุทธศาสตร์และกลยุทธ์การพัฒนาความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมอย่างเป็นรูปธรรม มีการวัดผลและประเมินผลที่เป็นมาตรฐาน ในด้านตัวของพระสอนศีลธรรมแต่ละรูป ควรจะเรียนรู้เกี่ยวกับงานในหน้าที่รับผิดชอบ และควรมีการพัฒนาตนเองอยู่สม่ำเสมอ
This research was composed of three objectives as follows; 1) To study the competency for Dhamma teaching and performing chief of school moral teaching monk. 2) To study the factors which are affected to Dhamma teaching component and performing chief of school moral teaching monk. 3) To present the guideline to promote Dhamma teaching competency and performing chief of school moral teaching monk. The population were composed of school moral teaching monksunder Mahamakut Buddhist University (central) for 222 persons under four provinces i.e. Bangkok, Nonthaburi, Pathum Thani and Samutprakarn. The instruments were questionnaire for quantitative research and qualitative research by in-depth interview sheet. The statistical analysis i.e. frequency, percentage, mean and standard deviation and to test the hypothesis by Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient and to present the tables for descriptive distribution. The findings were as follows; 1) The competency for Dhamma teaching and performing chief of school moral teaching monk by overview was at more level. When considered in each aspect found that the aspect of performing chief was the most level (x = 4.134) and followed up the aspect of curriculum (x = 4.084) and content, the aspect of curriculum, and the aspect of assessment was the lowest (x = 4.036) respectively. 2) The factors which are affected to Dhamma teaching competency and performing chief of school moral teaching monk by overview was at more level when classified in each aspect found that all are at more level from more to less as follows; the aspect of status and admiration was the highest mean (x = 4.20) and followed up the aspect of job satisfaction (x = 4.00) and commander regarding (x = 3.95) and the aspect of compensation and welfare was the lowest mean (x = 3.68) respectively. 3) The result of hypothesis test by Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient for Dhamma teaching competency and performing chief of school moral teaching monk found that status factors and admiration are related with Dhamma teaching competency and performing chief in positive rather high level (r=0.601) at the statistical significance of .01 or to accordance relation with setting hypothesis. 4) The model for adding competency found that the aspect of knowledge there should have the model emphasized on motivation in work performance by promotion on studying in secular and religious studies to be trained usually for competency development. The aspect of skill, there should have variety of forms for difference of surroundings performance. The aspect of personnel personality, there should have standard form as unity by selection of specialist for adaption the aspect of attitude and value, there should have variety and accordance with problem situation and should have integration for any forms and same direction. 5) The guideline to promote Dhamma teaching competency found that they should be further studies of them. There should promote on education in curriculum which are concerned with school moral teaching. There should be trained on information technology in yearly. There should have study tour on good work performance and experience changing each other. There should have study tour for office to addition of competency according to special skill and they should perform according to strategic plan in competency development of moral teaching monk as touch ability. To have assessment as universal standard for each one. There should learn about work in responsible duty and usually develop oneself.
Note: รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากโครงการการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ หลักการและเหตุผล
  • หลักเกณฑ์การคัดเลือกประเทศี่นำมาศึกษาเปรียบเทียบ
  • บทที่ 2 นิติวิธีว่าด้วยการตีความ : หลักการทั่วไป กรอบทฤษฎี และแนวปฏิบัติ
  • หลักการตีความกฎหมายโดยทั่วไป
  • ทฤษฎีว่าด้วยการตีความกฎหมาย
  • แนวทางการตีความกฎหมายในลักษณะต่าง ๆ
  • บทสรุป
  • บทที่ 3 รัฐธรรมนูญกับประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
  • บทนำ
  • ความเป็นมาของการนำประเพณีในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาใช้ในการพิจารณาวินิจฉัยคดีรัฐธรรมนูญ
  • แนวคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญและคำตัดสินของศาลอื่น ๆ
  • เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์กับการสร้างประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
  • บทที่ 4 การปกครองในระบอบกษัตริย์ : ภูมิหลังและประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
  • บทนำ
  • การปกครองในระบอบกษัตริย์
  • ประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
  • บทสรุป
  • บทที่ 5 ระบอบการปกครอง ระบบกฎหมาย และรัฐธรรมนูญของอังกฤษ : บ่อเกิดแห่งประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
  • ภูมิหลัง
  • ลักษณะของระบอบการปกครอง ระบบกฎหมาย และรัฐธรรมนูญอังกฤษ
  • อิทธิพลของระบบ Westminster System
  • ประเพณีทางรัฐธรรมนูญของอังกฤษ
  • แนวคิดวินิจฉัยและนิติวิธีเกี่ยวกับการนำประเพณีทางรัฐธรรมนูญมาใช้ในการพิจารณาวินิจฉัยคดีของศาลอังกฤษ
  • บทที่ 6 กลุ่มประเทศในเครือจักรภพ : กรณีศึกษาประเพณีทางรัฐธรรมนูญของออสเตรเลีย
  • ภูมิหลัง
  • รัฐธรรมนูญ ระบบกฎหมาย และการตีความของศาลในออสเตรเลีย
  • ประเพณีทางรัฐธรรมนูญของออสเตรเลีย
  • แนวคิดวินิจฉัยและนิติวิธีเกี่ยวกับการนำประเพณีทางรัฐธรรมนูญมาใช้ในการพิจารณาวินิจฉัยคดีของศาลออสเตรเลีย
  • บทที่ 7 กลุ่มประเทศยุโรป : กรณีศึกษาประเพณีทางรัฐธรรมนูญของสเปนและเนเธอร์แลนด์
  • บทนำ
  • สเปน
  • เนเธอร์แลนด์
  • แนวคำวินิจฉัยและนิติวิธีเกี่ยวกับการนำประเพณีทางรัฐธรรมนูญมาใช้ในการพิจารณาวินิจฉัยคดีของศาลสเปนและเนเธอร์แลนด์
  • บทที่ 8 กลุ่มประเทศอิสลามในตะวันออกกลางและแอฟริการ : กรณีศึกษาประเพณีทางรัฐธรรมนูญของจอร์แดนและโมร็อกโก
  • บทนำ
  • จอร์แดน
  • โมร็อกโก
  • บทที่ 9 กลุ่มประเทศเอเชีย : กรณีศึกษาประเพณีทางรัฐธรรมนูญของญี่ปุ่นและภูฏาน
  • บทนำ
  • ญี่ปุ่น
  • ภูฏาน
  • บทที่ 10 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
หนังสือ

หนังสือ

    วิจัยภายใต้แผนงานวิจัย เรื่อง รูปแบบการเพิ่มพฤฒพลังวิถีพุทธของผู้สูงอายุในสังคมไทย The Model fo rActive Aging of the Elderly in Thai Society
Note: วิจัยภายใต้แผนงานวิจัย เรื่อง รูปแบบการเพิ่มพฤฒพลังวิถีพุทธของผู้สูงอายุในสังคมไทย The Model fo rActive Aging of the Elderly in Thai Society
หนังสือ