Search results

32 results in 0.1s

หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1). เพื่อศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เปรียบเทียบการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยใช้เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมได้แก่ ประชาคมในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 480 ครัวเรือนกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่(Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน218 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านขยะเปียกและขยะแห้ง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนด้านขยะอันตราย มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาชน ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านขยะแห้งมีความถี่มากที่สุด คือจัดตั้งโครงการนำขยะแห้ง เช่น ขวดพลาสติก กระดาษ แลกกระดาษทิชชู หรือไข่ในหมู่บ้าน รองลงมา ด้านขยะอันตราย คือ การประชาสัมพันธ์ข่าวสารกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับขยะอันตรายและ การจัดตั้งที่จัดเก็บเฉพาะขยะอันตรายในพื้นที่แล้วมีหน่วยงานมาเก็บไป และด้านขยะเปียก มีความถี่น้อยที่สุด คือ การประชาสัมพันธ์/การให้ความรู้ในการนำเศษอาหารมาเป็นจุลินทรีย์หมักทำปุ๋ย
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1). เพื่อศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เปรียบเทียบการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยใช้เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมได้แก่ ประชาคมในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 480 ครัวเรือนกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่(Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน218 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านขยะเปียกและขยะแห้ง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนด้านขยะอันตราย มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาชน ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในหมู่บ้านเอื้ออาทร ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านขยะแห้งมีความถี่มากที่สุด คือจัดตั้งโครงการนำขยะแห้ง เช่น ขวดพลาสติก กระดาษ แลกกระดาษทิชชู หรือไข่ในหมู่บ้าน รองลงมา ด้านขยะอันตราย คือ การประชาสัมพันธ์ข่าวสารกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับขยะอันตรายและ การจัดตั้งที่จัดเก็บเฉพาะขยะอันตรายในพื้นที่แล้วมีหน่วยงานมาเก็บไป และด้านขยะเปียก มีความถี่น้อยที่สุด คือ การประชาสัมพันธ์/การให้ความรู้ในการนำเศษอาหารมาเป็นจุลินทรีย์หมักทำปุ๋ย
This thematic Paper has the following objectives: 1). to study the household garbage management of people in Ban Uea thon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province, 1) to compare the household garbage management in Ban Uea Athon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province of people with different gender, age, education level and occupation, and 3) to study suggestions and guidelines for household garbage management of people in Ban Uea Athon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province. Out of 480 populations in Ban Uea Athon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province, 218 samples obtained by using the calculation formula of Taro Yamane were used in the study. The data were collected by closed-ended and open-ended questionnaires and analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t - test, (One – Way ANOVA or F – test) and testing of the mean scores for each pair using the LSD method (Least Significant Difference). The results of the research were as follows: 1) The household garbage management of people in Ban Uea Athon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province in 3 areas was at the highest level. In details, the wet and dry waste was at the highest level. The hazardous waste was at the lowest mean. When classified by gender, age, educational level and occupation, it was found that overall mean was the highest. 2) The comparison of household garbage management in Ban Uea Athon in Songkanong sub-district, Samphran district, Nakhon Pathom province of people with different gender, age, education level and occupation was found differently with statistically significant figure at 0.05 level. 3) Suggestions on household waste management in Ban Eua Arthon in Song Khanong Sub-district, Samphran District, Nakhon Pathom Province sorted by descending frequency were as follows: In the dry waste, the dry waste project should be set up. In hazardous waste, people should receive the correct information through community public relations and the hazardous waste should be disposed and kept separately and collected timely. In the wet waste, the people should be publicized and acknowledged to put the wet garbage into microorganisms and compost.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาแรงงานทางทะเล 2) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาแรงงานทางทะเลในเขตท่าเรือศรีราชา 3) เพื่อวิเคราะห์เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาแรงงานทางทะเลที่เหมาะสม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัยสภาพปัญหาแรงงานทางทะเลของเรือสินค้าที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมในเรื่องของการจ้างงาน และสภาพความเป็นอยู่ระหว่างการเรียกร้องค่าจ้างจากเจ้าของเรือ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการวิจัยทางเอกสาร ( Document Research) โดยศึกษาจากหนังสือ วิทยานิพนธ์ บทความ เอกสาร ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศโดยการนำพระราชบัญญัติแรงงานทางทะเล พ.ศ. 2558 และอนุสัญญาว่าด้วยแรงงานทางทะเล ค.ศ.2006 เป็นกรอบในการวิเคราะห์ เนื่องจากเป็นแม่บทหลักในการปฏิบัติกรณีเกิดปัญหาแรงงานทางทะเล ผลการวิจัยพบว่า 1.ปัญหาที่เกิดขึ้นในเขตท่าเรือศรีราชาส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นกับเรือสินค้าที่ชักธงชาติอื่นที่ ไม่ใช่ธงประเทศไทย และปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาเรื่องการค้างจ่ายค่าจ้างคนประจำเรือ และปัญหาการส่งตัวกลับ ซึ่งปัญหาเหล่านี้มีความเชื่อมโยงกับปัญหาอื่นด้วยเช่น ปัญหาเรื่องสภาพที่อยู่อาศัยบนเรือของคนประจำเรือ ปัญหาเรื่องชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานและชั่วโมงการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ ปัญหาเรื่องอาหาร และน้ำดื่มที่ไม่เพียงพอ ไม่ถูกสุขลักษณะ รวมถึงปัญหาด้านความปลอดภัยที่ไม่ได้มาตรฐานบนเรือ 2) การเลือกจดทะเบียนเรือ และการถือสัญชาติของเรือเป็นสาเหตุหนึ่งในการเกิดปัญหา ซึ่งการจดทะเบียนเรือนี้มี 2 แบบ คือ การจดทะเบียนเรือแบบเปิด ( Open Registry) และการจดทะเบียนเรือแบบปิด (Close Registry) ซึ่งการจดทะเบียนเรือแบบปิดจะกำหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับและมาตรการต่างๆให้เจ้าของเรือต้องปฎิบัติตาม ส่งผลให้เจ้าของเรือบางส่วนต้องการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายจึงไปจดทะเบียนเรือแบบเปิดที่มีขั้นตอนการจดทะเบียนที่สะดวก ไม่เข้มงวดในเรื่องใบตรวจสภาพเรือ สามารถจ้างแรงงานราคาถูกได้ นอกจากนี้ยังสามารถลดมาตรฐานสภาพความเป็นอยู่ของคนประจำเรือได้ 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยนี้ คือ องค์กรระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ (UN) , องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (IMO) , องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ควรกำหนดมาตรการที่เคร่งครัดเกี่ยวกับการจดทะเบียนเรือ และควรกำหนดบทลงโทษที่ชัดเจนกับเจ้าของเรือที่ไม่ปฎิบัติตามข้อบังคับ และรัฐเจ้าของธงที่ปล่อยละเลยให้เรือที่ชักธงประเทศตนไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับ นอกจากนี้องค์กรภาครัฐ หรือหน่วยงานที่มีอำนาจ (Competent authority) ควรให้ความสนใจเกี่ยวกับปัญหาแรงงานทางทะเลในด้านต่างๆมากขึ้น รวมถึงสร้างเครือข่ายกับองค์กรเอกชน อุตสาหกรรมเรือ รวมถึงคนประจำเรือ เพื่อหาข้อมูล มาศึกษาเพื่อหาแนวทางป้องกันปัญหา
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาแรงงานทางทะเล 2) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาแรงงานทางทะเลในเขตท่าเรือศรีราชา 3) เพื่อวิเคราะห์เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาแรงงานทางทะเลที่เหมาะสม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัยสภาพปัญหาแรงงานทางทะเลของเรือสินค้าที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมในเรื่องของการจ้างงาน และสภาพความเป็นอยู่ระหว่างการเรียกร้องค่าจ้างจากเจ้าของเรือ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการวิจัยทางเอกสาร ( Document Research) โดยศึกษาจากหนังสือ วิทยานิพนธ์ บทความ เอกสาร ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศโดยการนำพระราชบัญญัติแรงงานทางทะเล พ.ศ. 2558 และอนุสัญญาว่าด้วยแรงงานทางทะเล ค.ศ.2006 เป็นกรอบในการวิเคราะห์ เนื่องจากเป็นแม่บทหลักในการปฏิบัติกรณีเกิดปัญหาแรงงานทางทะเล ผลการวิจัยพบว่า 1.ปัญหาที่เกิดขึ้นในเขตท่าเรือศรีราชาส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นกับเรือสินค้าที่ชักธงชาติอื่นที่ ไม่ใช่ธงประเทศไทย และปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาเรื่องการค้างจ่ายค่าจ้างคนประจำเรือ และปัญหาการส่งตัวกลับ ซึ่งปัญหาเหล่านี้มีความเชื่อมโยงกับปัญหาอื่นด้วยเช่น ปัญหาเรื่องสภาพที่อยู่อาศัยบนเรือของคนประจำเรือ ปัญหาเรื่องชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานและชั่วโมงการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ ปัญหาเรื่องอาหาร และน้ำดื่มที่ไม่เพียงพอ ไม่ถูกสุขลักษณะ รวมถึงปัญหาด้านความปลอดภัยที่ไม่ได้มาตรฐานบนเรือ 2) การเลือกจดทะเบียนเรือ และการถือสัญชาติของเรือเป็นสาเหตุหนึ่งในการเกิดปัญหา ซึ่งการจดทะเบียนเรือนี้มี 2 แบบ คือ การจดทะเบียนเรือแบบเปิด ( Open Registry) และการจดทะเบียนเรือแบบปิด (Close Registry) ซึ่งการจดทะเบียนเรือแบบปิดจะกำหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับและมาตรการต่างๆให้เจ้าของเรือต้องปฎิบัติตาม ส่งผลให้เจ้าของเรือบางส่วนต้องการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายจึงไปจดทะเบียนเรือแบบเปิดที่มีขั้นตอนการจดทะเบียนที่สะดวก ไม่เข้มงวดในเรื่องใบตรวจสภาพเรือ สามารถจ้างแรงงานราคาถูกได้ นอกจากนี้ยังสามารถลดมาตรฐานสภาพความเป็นอยู่ของคนประจำเรือได้ 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยนี้ คือ องค์กรระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ (UN) , องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (IMO) , องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ควรกำหนดมาตรการที่เคร่งครัดเกี่ยวกับการจดทะเบียนเรือ และควรกำหนดบทลงโทษที่ชัดเจนกับเจ้าของเรือที่ไม่ปฎิบัติตามข้อบังคับ และรัฐเจ้าของธงที่ปล่อยละเลยให้เรือที่ชักธงประเทศตนไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับ นอกจากนี้องค์กรภาครัฐ หรือหน่วยงานที่มีอำนาจ (Competent authority) ควรให้ความสนใจเกี่ยวกับปัญหาแรงงานทางทะเลในด้านต่างๆมากขึ้น รวมถึงสร้างเครือข่ายกับองค์กรเอกชน อุตสาหกรรมเรือ รวมถึงคนประจำเรือ เพื่อหาข้อมูล มาศึกษาเพื่อหาแนวทางป้องกันปัญหา
The purposes of this study were : 1) to study the problems of maritime labour 2) to study the problem of maritime labour in Sriracha Port 3) to analyze and suggest a suitable solution to the problems of maritime labour by defining the scope of research on the condition of maritime labour of merchant ships that are not fair in terms of employment and living conditions during the claim for wages from the ship-owner. It is a qualitative research. Emphasis on document research by studying book, thesis, articles, documents in both Thai and foreign languages by applying the Maritime Labour Act. B.E. 2558 and Maritime Labour Convention 2006 as a framework for analyze as it is the main principle in the case of maritime labour problems. Based on the findings, it was concluded that ; 1) The most of problem in Sriracha Port will occur with other flags carry on board that are not Thai flags, moreover, there will be a problem of Seafarers’ wages arrears and repatriation problems. These problems are related to other issues as well, such as Problems with living conditions on ships, regulated hours of works more than hours of rest , food and drinking water are not appropriate quality including non- standard security issues. 2) One of the main reasons for the problem of seafarer is arising from the selection and registration of the vessel that is to say Open Registry offers better benefits than Close Registry because Close Registry will defined the rules , regulation and protocol for ship- owner to follow. As a result, some ship – owners want to reduce the costs, so they go to register their Open authorities nonetheless, Open registry will set convenient process, not strict in ship s inspecting certificate can hire cheap labour nonetheless, it can also reduce the standard of living conditions for Seafarers. 3) Recommendation on research : International organization such as IMO,UN , ILO should establish protocol related to the registration of ships and should impose sanctions on ship owners who not comply with the regulations. In addition, competent authorities should pay more attention to the problem of seafarers including building networks with private organization,ship industry including seafarers to find more information to study and find ways to prevent problems.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.เพื่อศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2.เพื่อเปรียบเทียบวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมโดยพิจารณาจากตัวแปรด้านระดับเพศ และอายุ ที่แตกต่างกัน 3.เพื่อหาข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 113 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชน ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมด้านการมีความเชื่อมันและศรัทธาต่อหลักการปกครองระบบประชาธิปไตย ด้านการเคารพในกติกา ของ การปกครองแบบประชาธิปไตย และด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองและการปกครอง อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของประชาชนในเขตตำบลทรงครอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ ต่างกัน พบว่า ประชาคมที่มีเพศต่างกันร่วมของประชาคมใน การมีส่วนร่วมเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของประชาชนในเขตตำบลทรงครอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้านไม่แตกต่างกัน
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.เพื่อศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2.เพื่อเปรียบเทียบวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมโดยพิจารณาจากตัวแปรด้านระดับเพศ และอายุ ที่แตกต่างกัน 3.เพื่อหาข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 113 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชน ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมด้านการมีความเชื่อมันและศรัทธาต่อหลักการปกครองระบบประชาธิปไตย ด้านการเคารพในกติกา ของ การปกครองแบบประชาธิปไตย และด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองและการปกครอง อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของประชาชนในเขตตำบลทรงครอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ ต่างกัน พบว่า ประชาคมที่มีเพศต่างกันร่วมของประชาคมใน การมีส่วนร่วมเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของประชาชนในเขตตำบลทรงครอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้านไม่แตกต่างกัน
The objectives of this research are as follows: 1. To study the democratic political culture of people in Songkanong Subdistrict, Sam Phran District. Nakhon Pathom Province 2. To compare the democratic political culture of the people in Songkanong Subdistrict, Sam Phran District Nakhon Pathom Province by considering different gender and age variables. 3. To find suggestions and opinions on the democratic political culture of the people in Songkanong Subdistrict, Sam Phran District Nakhon Pathom Province The sample size was determined by using the calculation formula of Taro Yamane (Yamane). The sample consisted of 113 people. The tool used to collect data was a questionnaire. Closed-ended and open-ended Data analysis with a computer program Statistics used to analyze data It is frequency, percentage, mean, standard deviation, t - test, (One – Way ANOVA or F – test), and the test of the score mean for each pair using LSD method (Least Significant Difference). The results of the research were as follows: 1) The results of data analysis on democratic political culture of the people of Songkanong Sub-district, Samphran District, Nakhon Pathom Province Overall, the belief in it and faith in the principle of government of democracy. Respect for the rule of democracy And participation in political and governmental activities At the highest level 2) The results of comparing participation in democratic political culture. Of the people in Songkhong Sub-district, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province of the community with heterosexuals, it was found that the Contributing to democratic political culture Of the people in Songkhong Sub-district, Samphran District, Nakhon Pathom Province, in total, there were no differences in 3
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตาม สถานภาพ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารและครูวิชาการ จำนวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .94 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้านการวัดผลประเมินผล ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2. ผลการเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามสถานภาพ และระดับการศึกษา ไม่แตกต่างกัน ส่วนประสบการณ์ในการทำงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 ควรจัดเนื้อหาและประสบการณ์ให้สอดคล้องกับชุมชน จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนอย่างสม่ำเสมอ ประเมินผลเพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพต่อการจัดการศึกษาต่อไป
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตาม สถานภาพ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารและครูวิชาการ จำนวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .94 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้านการวัดผลประเมินผล ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2. ผลการเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามสถานภาพ และระดับการศึกษา ไม่แตกต่างกัน ส่วนประสบการณ์ในการทำงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 ควรจัดเนื้อหาและประสบการณ์ให้สอดคล้องกับชุมชน จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนอย่างสม่ำเสมอ ประเมินผลเพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพต่อการจัดการศึกษาต่อไป
The purposes of this study were to 1) study Academic affairs administration condition based on the Threefold Training in small schools under Roi Et Elementary educational service Area office 2 2) compare academic affairs administration condition based on the Threefold Training in small schools under Roi Et Elementary educational service Area office 2, classified by status, education level, and work experience 3) study the suggestions of Academic affairs administration condition based on the Threefold Training in small schools under Roi Et Elementary educational service Area office 2.The sample consisted of 210 administrators and academic teachers. The tools used for data collection were questionnaires with a 5 level estimation scale. questionnaire with content validity as high as 0.67 – 1.00, and reliability at .94. The results found that 1. The Academic affairs administration condition based on the Threefold Training in small schools under Roi Et Elementary educational service Area office 2, in overall was at a high level. Ranking from the highest average to the lowest average: development of the quality assurance system in schools, evaluation, development of the learning process, development of educational institutions curriculum, development of innovative media and educational technology, and research for improving the quality of education. 2. The result of comparing academic affairs administration condition based on the Threefold Training in small schools under Roi Et Elementary educational service Area office 2, classified by status and education level were not different, in part of work experience, the difference was statistically significant at the 0.05 level. 3. The suggestions of Academic affairs administration condition based on the Threefold Training in small schools under Roi Et Elementary educational service Area office 2: content and experiences should be allied with the community, organize activities to promote learning by focus on learners, develop the learning process in teachers’ teaching and learning on further educational management.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ข้าราชการครู จำนวน 317 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านจริยธรรมต่อตนเอง ด้านจริยธรรมต่อความรับผิดชอบงาน ด้านจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน และด้านจริยธรรมต่อการปฏิบัติงาน 2. ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีความยุติธรรม ให้ความเป็นธรรมอย่างเสมอภาคต่อผู้อื่นมีความรับผิดชอบต่อตนเองและครูผู้อื่น ควรยกย่องและให้เกียรติเพื่อนร่วมงาน ควรมีการทำงานอย่างเป็นทีมเพื่อให้เกิดความสามัคคี มีเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างครบถ้วน ถูกต้อง มีการกระจายอำนาจในการบริหารงาน และมีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ข้าราชการครู จำนวน 317 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านจริยธรรมต่อตนเอง ด้านจริยธรรมต่อความรับผิดชอบงาน ด้านจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน และด้านจริยธรรมต่อการปฏิบัติงาน 2. ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีความยุติธรรม ให้ความเป็นธรรมอย่างเสมอภาคต่อผู้อื่นมีความรับผิดชอบต่อตนเองและครูผู้อื่น ควรยกย่องและให้เกียรติเพื่อนร่วมงาน ควรมีการทำงานอย่างเป็นทีมเพื่อให้เกิดความสามัคคี มีเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างครบถ้วน ถูกต้อง มีการกระจายอำนาจในการบริหารงาน และมีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
The purposes of this study were 1) to study the Ethical leadership of school administers under the Secondary education service Area office 24, 2) to compare the ethical leadership of school administrators under the Secondary education service Area office 24, classified by gender, age, level education, and work experience, 3) to study the ethical leadership of school administers under the Secondary education service Area office 24. The sample used in this research was 317 teachers under the Secondary education service Area 24. The tool used for data collection was a questionnaire with a 5 level estimation scale with content validity of 1.00, and a confidence was 0.93. estimation scale. The statistics used were Standard deviation mean, the hypothesis was tested by t-test and F-test. The data was analyzed by a computer. The result of the research found that 1. The Ethical leadership of school administers under the Secondary education service Area office 24, overall was at a high level. Ranking from the highest average to the lowest average ethical aspects towards oneself, ethical aspects of job responsibilities, ethical aspects towards colleagues, and ethical aspects of performance. 2. The results of the comparison of ethical leadership of the school administrators under the Secondary education service Area office 24, classified by gender, age, education level, and work experience in overall and each aspect was not different. 3. Recommendations on the ethical leadership of the school administrators under the Secondary education service Area office 24: school administrators should be fair, provide fairness to everyone, took responsibility form oneself and other teachers, should be dignified to their colleagues, there should be team work to achieve unity, discloser of complete and correct information, decentralized administration and problem solving systematically.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตาม เพศ อายุ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยม ศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ คณะกรรมการบริหาร และครูผู้สอนโรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม และโรงเรียนตระกูลประเทืองวิทยาคม จำนวน 76 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ไปหาค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านการวางแผนงานกิจ การนักเรียน ด้านการส่งเสริมพัฒนาให้ นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ด้านการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านการประเมินผลการดำเนินงานกิจการนักเรียน ด้านการดำเนินการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน และด้านการบริหารกิจการนักเรียน 2. การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียน ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศและประสบการณ์การทำงานไม่แตกต่างกัน ส่วนจำแนกตามตำแหน่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามระดับอายุ ด้านการบริหารกิจการนักเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยม ศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ควรจัดทำข้อมูลและจัดทำแผนงานกิจการนักเรียนเป็นลายลักษณ์อักษร แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติตามแผน ดำเนินงานตามแผน ประเมินผลการดำเนินงานประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในโรงเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง หน่วยงานที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับเยาวชน มีการประสานงานอย่างต่อเนื่อง ประเมินและติดตามผลการปฏิบัติ ควรจัดทำคู่มือนักเรียนเกี่ยวกับกฎระเบียบของโรงเรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาความประพฤติและระเบียบวินัยเป็นประจำและต่อเนื่อง ควรแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร ควรรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน ควรประเมินผลงานกิจการนักเรียนโดยมีหลักฐานให้ตรวจสอบได้
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตาม เพศ อายุ ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยม ศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ คณะกรรมการบริหาร และครูผู้สอนโรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม และโรงเรียนตระกูลประเทืองวิทยาคม จำนวน 76 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ไปหาค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านการวางแผนงานกิจ การนักเรียน ด้านการส่งเสริมพัฒนาให้ นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ด้านการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านการประเมินผลการดำเนินงานกิจการนักเรียน ด้านการดำเนินการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน และด้านการบริหารกิจการนักเรียน 2. การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียน ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศและประสบการณ์การทำงานไม่แตกต่างกัน ส่วนจำแนกตามตำแหน่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามระดับอายุ ด้านการบริหารกิจการนักเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยม ศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ควรจัดทำข้อมูลและจัดทำแผนงานกิจการนักเรียนเป็นลายลักษณ์อักษร แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติตามแผน ดำเนินงานตามแผน ประเมินผลการดำเนินงานประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในโรงเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง หน่วยงานที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับเยาวชน มีการประสานงานอย่างต่อเนื่อง ประเมินและติดตามผลการปฏิบัติ ควรจัดทำคู่มือนักเรียนเกี่ยวกับกฎระเบียบของโรงเรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาความประพฤติและระเบียบวินัยเป็นประจำและต่อเนื่อง ควรแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร ควรรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน ควรประเมินผลงานกิจการนักเรียนโดยมีหลักฐานให้ตรวจสอบได้
The objectives of this research were : 1) to study condition of the management of student affairs based on the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawatthu 4) in secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28 2) to compare the management of student affairs based on the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawattu 4) in secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, divided by gender, age, position and work experience 3) to study recommendations for the management of student affairs based on the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawattu 4) in secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, the samples used in the research were 76 School Directors, Deputy Directors, the Executive Committee and teachers of Mahachanachai Wittayakom School and Trakoonpratuang Wittayakom School, Tool was used to collect data as a questionnaire of the content validity of 0.67-1.00 with the confidence as .91 The results of the study as follows : 1.The condition of student affairs administration according to the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawatthu 4) in secondary schools in Maha-chanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, overall was at a high level, ranked the aspects with the highest average to the lowest, namely, planning student affairs in promoting and developing students to have discipline, morality, operating ethics, student care system, in the evaluation of student affairs, the promotion of democracy schools and in the administration of student affairs. 2.Comparison of student affairs administration opinion levels according to the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawatthu4) in secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, classified by gender and work experience was the same. According to the position, the difference was statistically significant at the level 0.5 and classified by age in student affairs administration were statistically significant at the level 0.5. Other aspects were not different. 3.Suggestions for the administration of student affairs according to the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawattu 4) in secondary schools in Maha-chanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, should prepare information and prepare a written student affairs plan, appoint a person responsible for the implementation od the plan. Implement the performance appraisal plan , coordinate with various departments within the school such as parent networks, Youth department responsible, continuous coordination, evaluate and monitor of performance. Student handbooks should be developed on the rules, School regulation. Organize regular and ongoing behavioral and disciplinary promotion activities. A written implementation Committee should be established in writing. Students’ opinions should be assessed. Student affairs should be evaluated with evidence to be verified.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และระดับการศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำนวน 88 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยง ตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสถิติด้วนค่า t-test และ F-test ผลการวิจัยพบว่า 1.การบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการยอมให้ ด้านการหลีกเลี่ยง ด้านการประนีประนอม ด้านการร่วมมือ และด้านการเอาชนะ ตามลำดับ 2.เปรียบเทียบการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และระดับการศึกษา ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ผู้บริหารควรแสวงหาเหตุผลในการที่จะทำให้บรรลุเป้าหมาย แก้ปัญหาความขัดแย้งที่จะนำไปสู่ผลที่พึงพอใจทั้งสองฝ่าย ซึ่งจะนำไปสู่ความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรในองค์กร โดยที่ผู้บริหารจะต้องมุ่งให้ทุกฝ่ายตระหนักว่าอะไรคือสิ่งที่ต้องแก้ไข โดยพิจารณาเหตุของความขัดแย้งและหาวิธีการจัดการกับความขัดแย้งที่เหมาะสม
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และระดับการศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำนวน 88 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยง ตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสถิติด้วนค่า t-test และ F-test ผลการวิจัยพบว่า 1.การบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการยอมให้ ด้านการหลีกเลี่ยง ด้านการประนีประนอม ด้านการร่วมมือ และด้านการเอาชนะ ตามลำดับ 2.เปรียบเทียบการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 28 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และระดับการศึกษา ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งของบุคลากรโดยการประยุกต์ใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ผู้บริหารควรแสวงหาเหตุผลในการที่จะทำให้บรรลุเป้าหมาย แก้ปัญหาความขัดแย้งที่จะนำไปสู่ผลที่พึงพอใจทั้งสองฝ่าย ซึ่งจะนำไปสู่ความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรในองค์กร โดยที่ผู้บริหารจะต้องมุ่งให้ทุกฝ่ายตระหนักว่าอะไรคือสิ่งที่ต้องแก้ไข โดยพิจารณาเหตุของความขัดแย้งและหาวิธีการจัดการกับความขัดแย้งที่เหมาะสม
The purposes of this study were to 1)To study personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28 2) compare personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28 classified by the difference of gender, experience and education 3) study on recommendations for personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28. The samples were 88. The instruments used for collecting data were rating scale questionnaire with 5 levels.Have content accuracy of 0.67-1.00 and a con-fidence of .89. Data were analyzed to find frequency, percentage, mean, standard deviation. And to test statistics by amending t-test and F-test. The results of this study found that 1. The condition of personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28, overall at a high level. When considering each aspect, sorted from the side with high mean to low, ie allowance side. Side of avoidance Compromise Cooperation And overcoming. 2. compare personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28, classified by the difference of gender, experience and education Overall was no different. 3. study on recommendations for personel’s conflict Administration based on the four sublime state of mind in secondary school in maha chana chai district, yasothon province, under secondary educational service area office 28. Management should seek reasons for achieving the goals. Resolving conflicts that will lead to satisfactory results for both parties. The cooperation of personnel in the organization The management must aim to make all parties aware of what needs to be resolved. By considering the causes of the conflict and finding appropriate methods of dealing with the conflict.
หนังสือ

    สารนิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลตำบลด่านขุนทดอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลตำบลด่านขุนทดอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะ แนวทางความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยคือประชาชนที่มาใช้บริการของเทศบาลตำบลด่านขุนทดอำเภอด่านขุนทดจังหวัดนครราชสีมาจำนวน 361 คนโดยการเปรียบเทียบตารางสำเร็จรูปเครซี่และมอร์แกน (R.V Krejcie and D.W Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามสถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลคือการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่า(t-test) การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-testor One- ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเซฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัยพบว่า 1) การให้บริการประชาชนของเทศบาลตำบลด่านขุนทดอำเภอด่านขุนทดจังหวัดนครราชสีมาเพื่อนำมารวบรวมค่าเฉลี่ยแปลผลอยู่ในระดับที่มาก ได้พิจารณารวบรวมผลเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้แก่ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากันมีอยู่ สอง ด้านคือ ด้านกระบวนการและเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการซึ่งมีค่าเฉลี่ยแปลผลที่เท่ากัน ลองลงมาคือด้านสิ่งอำนวยความสะดวกและด้านช่องทางการให้บริการ 2) ประชาชนที่มีเพศต่างกันอายุต่างกันมีระดับการศึกษาต่างกัน อาชีพต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อการให้ บริการของเทศบาลตำบลด่านขุนทดอำเภอด่านขุนทดจังหวัดนครราชสีมาโดยรวมไม่แตกต่างกันมีนัยยะทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา ต้องให้บุคลากรทุกคนมีความรู้ความสามารถในการแนะนำหรือมีความพร้อมที่จะให้บริการต่อประชาชนที่มาใช้บริการควรที่จะมีจุดสำหรับคอยให้บริการหรือมีบุคลากรที่คอยแนะนำเพื่อที่ผู้ที่มาใช้บริการจะได้สอบถามได้สะดวกยิ่งขึ้นควรที่จะมีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการให้บริการ เพราะที่ผ่านมายังเห็นมีบุคลากรที่ไม่สามารถให้คำแนะนำหรือช่วยเหลือประชาชนที่มาให้บริการได้อย่างทันท่วงทีจึงทำให้เกิดปัญหาหลายอย่างตามมาควรที่จะมีการปรับปรุงแก้ไขให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของประชาชนที่มาใช้บริการ
สารนิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลตำบลด่านขุนทดอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลตำบลด่านขุนทดอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะ แนวทางความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยคือประชาชนที่มาใช้บริการของเทศบาลตำบลด่านขุนทดอำเภอด่านขุนทดจังหวัดนครราชสีมาจำนวน 361 คนโดยการเปรียบเทียบตารางสำเร็จรูปเครซี่และมอร์แกน (R.V Krejcie and D.W Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามสถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลคือการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่า(t-test) การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-testor One- ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเซฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัยพบว่า 1) การให้บริการประชาชนของเทศบาลตำบลด่านขุนทดอำเภอด่านขุนทดจังหวัดนครราชสีมาเพื่อนำมารวบรวมค่าเฉลี่ยแปลผลอยู่ในระดับที่มาก ได้พิจารณารวบรวมผลเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้แก่ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากันมีอยู่ สอง ด้านคือ ด้านกระบวนการและเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการซึ่งมีค่าเฉลี่ยแปลผลที่เท่ากัน ลองลงมาคือด้านสิ่งอำนวยความสะดวกและด้านช่องทางการให้บริการ 2) ประชาชนที่มีเพศต่างกันอายุต่างกันมีระดับการศึกษาต่างกัน อาชีพต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อการให้ บริการของเทศบาลตำบลด่านขุนทดอำเภอด่านขุนทดจังหวัดนครราชสีมาโดยรวมไม่แตกต่างกันมีนัยยะทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา ต้องให้บุคลากรทุกคนมีความรู้ความสามารถในการแนะนำหรือมีความพร้อมที่จะให้บริการต่อประชาชนที่มาใช้บริการควรที่จะมีจุดสำหรับคอยให้บริการหรือมีบุคลากรที่คอยแนะนำเพื่อที่ผู้ที่มาใช้บริการจะได้สอบถามได้สะดวกยิ่งขึ้นควรที่จะมีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการให้บริการ เพราะที่ผ่านมายังเห็นมีบุคลากรที่ไม่สามารถให้คำแนะนำหรือช่วยเหลือประชาชนที่มาให้บริการได้อย่างทันท่วงทีจึงทำให้เกิดปัญหาหลายอย่างตามมาควรที่จะมีการปรับปรุงแก้ไขให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของประชาชนที่มาใช้บริการ
The objectives of this thematic paper are: 1) to study people's opinions towards the services of Dan Khun Thot Sub-District Municipality in Dan Khun Thot district of Nakhon Ratchasima province, 2) to compare the opinions of the people with different gender, age, education level, and occupation towards the services of Dan Khun Thot Sub-District Municipality in Dan Khun Thot district of Nakhon Ratchasima province, and 3) to suggest guidelines of people's opinion towards the services of Dan Khun Thot Sub-District Municipality in Dan Khun Thot district of Nakhon Ratchasima province. 361 samples obtained by Krejcie and Morgan ready-made tables were used in the study. The data were collected by questionnaire and analyzed by frequency distribution, Percentage, Mean, Standard Deviation, Value Test (t-test) and One-way ANOVA Test (F-test). The results showed that: 1) The public service of Dan Khun Thot Sub-District Municipality in Dan Khun Thot district of Nakhon Ratchasima province was at a high level overall. Considered in each side by descending order, the highest level was in the service process and the service personnel, followed by the facilities and the service channels respectively. 2) People of different sexes, ages, levels of education, and occupations had opinions towards services of Dan Khun Thot Sub-District Municipality in Dan Khun Thot district of Nakhon Ratchasima province indifferently with a statistical significance at the 0.05 level. 3) Suggestions for development guidelines, personnel should have knowledge and ability in providing suitable suggestions and be ready to provide services to the service recipients, there should be a waiting point for service or personnel to advise the service recipients, the qualified service-minded staff should be recruited, and the service improvement should be in line with the requirements of people.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงานประกันสังคมของบุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาบทบาทการปฏิบัติงานประกันสังคมตามหลักฆราวาสธรรมของบุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาประโยชน์และคุณค่าการปฏิบัติงานประกันสังคมตามหลักฆราวาสธรรมของบุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญเป็นรายกลุ่มและรายบุคคล (Key Informants)จากบุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ 11 ที่มีคุณสมบัติเป็นผู้มีประสบการณ์ในองค์กรมากกว่า 5 ปี ขึ้นไป โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Criterion Based Selection) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิควิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) วิเคราะห์ส่วนประกอบ (Component Analysis) และการวิเคราะห์สรุปอุปนัย (Analytic Induction) ที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากแบบสัมภาษณ์มีโครงสร้าง (Structured Interview) ซึ่งปรับปรุงมาจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องที่ผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือ (Validity) ในการวิจัยจากที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน เพื่อให้เกิดความมั่นใจของผลลัพธ์ที่มีความถูกต้อง แม่นยำและมีประสิทธิภาพ แล้วจึงทำการสรุปบรรยายให้เห็นถึงความหมายของข้อมูลเหล่านั้น แล้วนำเสนอเชิงพรรณนาความ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการปฏิบัติงานประกันสังคมของบุคลากรสำนักงานประกันสังคม บุคลากรสำนักงานประกันสังคมที่ได้จากผลการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ บุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครล้วนมีการปฏิบัติงานภายใต้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตรงตามแนวปฏิบัติที่โครงสร้างหน้าที่ความรับผิดชอบที่กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานประกันสังคมกระทรวงแรงงาน พ.ศ.
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงานประกันสังคมของบุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาบทบาทการปฏิบัติงานประกันสังคมตามหลักฆราวาสธรรมของบุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาประโยชน์และคุณค่าการปฏิบัติงานประกันสังคมตามหลักฆราวาสธรรมของบุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญเป็นรายกลุ่มและรายบุคคล (Key Informants)จากบุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ 11 ที่มีคุณสมบัติเป็นผู้มีประสบการณ์ในองค์กรมากกว่า 5 ปี ขึ้นไป โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Criterion Based Selection) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิควิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) วิเคราะห์ส่วนประกอบ (Component Analysis) และการวิเคราะห์สรุปอุปนัย (Analytic Induction) ที่ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากแบบสัมภาษณ์มีโครงสร้าง (Structured Interview) ซึ่งปรับปรุงมาจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องที่ผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือ (Validity) ในการวิจัยจากที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน เพื่อให้เกิดความมั่นใจของผลลัพธ์ที่มีความถูกต้อง แม่นยำและมีประสิทธิภาพ แล้วจึงทำการสรุปบรรยายให้เห็นถึงความหมายของข้อมูลเหล่านั้น แล้วนำเสนอเชิงพรรณนาความ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการปฏิบัติงานประกันสังคมของบุคลากรสำนักงานประกันสังคม บุคลากรสำนักงานประกันสังคมที่ได้จากผลการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ บุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครล้วนมีการปฏิบัติงานภายใต้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตรงตามแนวปฏิบัติที่โครงสร้างหน้าที่ความรับผิดชอบที่กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานประกันสังคมกระทรวงแรงงาน พ.ศ.
2559 ได้กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของกลุ่มงานไว้ 2) บทบาทการปฏิบัติงานประกันสังคมตามหลักฆราวาสธรรมของบุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครที่ได้จากผลการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ บุคลากรมีการปฏิบัติงานด้วยความขยันหมั่นเพียรมุ่งมั่นทุ่มเท ตั้งใจและรอบคอบ มีความจริงใจให้แก่กัน ซื่อสัตย์สุจริตทั้งกาย วาจา และใจ พูดจริงทำจริง ตรงไปตรงมา รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเอง สามารถพัฒนาปรับปรุงตนให้ดีขึ้น มีความอดทนอดกลั้นต่อความลำบาก รู้จักใช้สติ ปัญญาเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ มีความเสียสละเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้ความช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานกันเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งเป็นไปตามแนวทางของหลักฆราวาสธรรม เพื่อให้การปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบและการให้บริการเป็นไปอย่างราบรื่น มีความสุขเมื่อได้ร่วมงานกันและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ จนทำให้ตนเองประสบความสำเร็จตามที่ตั้งใจไว้ 3) ประโยชน์และคุณค่าการปฏิบัติงานประกันสังคมตามหลักฆราวาสธรรมของบุคลากรสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครที่ได้จากผลการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ 1) หลักฆราวาสธรรมมีประโยชน์และคุณค่าต่อการปฏิบัติงานเพราะสามารถทำให้บุคลากรเป็นคนซื่อสัตย์ จริงใจ มีจิตใจเข้มแข็งมั่นคงอดทนต่อความยากลำบากต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ควบคุมอารมณ์ข่มจิตใจของตน รู้จักใช้สติยับยั้งชั่งใจและพิจารณาปรับปรุงตนเองได้ตลอดเวลา ทั้งยังทำให้ต่างฝ่ายต่างมีความเสียสละ โอบอ้อมอารี เป็นที่พึงให้คนอื่น ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นเหตุให้การครองเรือนและการครองงานเป็นไปด้วยความราบรื่นและได้รับผลสำเร็จในการปฏิบัติหน้าที่การงานตามที่หวังไว้ 2) หลักฆราวาสธรรมทุกข้อล้วนมีความสำคัญและมีความเกี่ยวพันกันจะขาดข้อใดข้อหนึ่งไปไม่ได้ เพราะสามารถนำมาใช้ลดปัญหาความขัดแย้งไม่ให้เกิดขึ้นในการทำงาน ช่วยในการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างราบรื่นและสามารถจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี ยังผลให้ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงานและมีความเจริญก้าวหน้าในชีวิตได้อย่างที่ตั้งใจไว้ 3) การนำเอาหลักฆราวาสธรรมมาประยุกต์ใช้ในการทำงานเป็นสิ่งที่ดีและมีประโยชน์เป็นอย่างมาก เพราะหลักฆราวาสธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของตนเองและผู้อื่นให้การทำงานเป็นไปด้วยความราบรื่น นำพาความสำเร็จและความมีความสุขในการดำเนินชีวิตมาสู่ตัวผู้ปฏิบัติ และ 4) บุคลากรล้วนเห็นว่าหลักฆราวาสธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้ทุกคนมีความสุขในการทำงาน ลดปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการทำงาน เพราะต่างฝ่ายต่างมีสติทำหน้าที่ของตนด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ถูกต้องตรงไปตรงมาและเต็มใจ รู้จักรักษาคำพูดมีน้ำใจไมตรีและความจริงใจให้กัน มีปัญญาในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ มีความอดทนอดกลั้นในการควบคุมคำพูดและกริยาอารมณ์ มีเหตุผลสามารถไตร่ตรองให้รอบคอบ รู้จักปรับปรุงตนเองและรู้จักเสียสละและให้ความช่วยเหลือเพื่อนร่วมงาน ทำให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างเรียบร้อยและประสบผลสำเร็จไปตามที่ได้คาดหมายไว้
The objectives of this thesis were: 1) to study the social security performance of the personnel in the Bangkok Social Security Office, 2) to study the social security operating conditions according to Gharavasa Dhamma principles of the personnel in the Bangkok Social Security Office, 3) to study the benefits and values of social security performance according to Gharavasa Dhamma principles of the personnel in the Bangkok Social Security Office. This research is a qualitative research using in-dept interview method from personnel of the Bangkok Social Security Office Area 11 who have more than 5 years of organizational experience. 11 people were selected by a specific sample (Criterion Based Selection) as a tool used in the research study. The data were analyzed by using content analysis, component analysis, and analytic induction derived from in-depth interviews from the structured interview form, which was revised from the literature review that involved in testing the validity of the instrument in the research from 3 consultants and experts to ensure the accurate, precise and efficient results. Then a summary explaining the meaning of those data was made and presented in a descriptive way. The results of the study showed that: 1) Social security operating conditions of Social Security Office personnel obtained from the study, documents and interviews were in the same direction as follows: the office personnel are operating under the rules and regulations in accordance with the guidelines of the structure of duties and responsibilities according to the ministerial regulations allocating government agencies, the Social Security Office. The Ministry of Labor 2016 has defined the duties and responsibilities of the work group. 2) The role of social security work according to GharavasaDhamma principles of the personnel in the Bangkok Social Security Office were as follows: Personnel perform their work with diligence, determination and dedication. They are also determined, careful, sincere to each other and honest in body, speech and mind. They speak truthfully and honestly, know how to control one's emotions, are able to develop and improve themselves and have patience and tolerance to hardships, know how to use wisdom to solve problems and obstacles, have sacrifice and generosity, provide assistance to colleagues for the common good in accordance with the guidelines of GharavasaDhamma to ensure the smooth and happy operation and service in working together and meeting the objectives of the agency. 3) The benefits and values of social security practices according to Gharavasa Dhamma principles of the personnel in the Bangkok Social Security Office were as follows: 1) The GharavasaDhamma is useful and valuable to the operation because it can make the personnel to be honest, sincere, have mental strength and stability. They can endure various hardships, control their emotional instability, know how to use restraint and consider self-improvement all the time. It also makes them have sacrifice, generosity, and be worthy of others. All this contributes to the smoothness and success of the household work and office work as expected. 2) Each of the GharavasaDhamma principles is important and there is no connection between one of them because it can be used to reduce conflicts in the work, help to operate work smoothly and able to handle problems. As a result, it gives success in work and progress in life as intended. 3) Applying the GharavasaDhamma to work is good and useful because GharavasaDhamma is a tool that binds the mind of oneself and of others’ to work smoothly and to bring success and happiness in life to the practitioner; and 4) Personnel see that GharavasaDhamma principles are a tool to hold one's mind to be happy at work, reduce conflicts arising from work because each party is conscious of doing their duty with honesty, accuracy, straightness and willingness, to know how to keep the word, and have compassion and sincerity to each other. They have intelligence in thinking, analyzing, discriminating, and having patience and restraint in verbal and emotional control. There is a reason that can be considered carefully. They also have self-improvement and self-sacrifice and assistance to co-workers, resulting in cooperation development and operational quality as expected.
หนังสือ

    สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นในการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นในการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เก็บข้อมูลจากประชาชนตำบลทุ่งน้อย จำนวน 375 คน โดยใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก ด้านการประปาตามหลักอิทธิบาท 4 รองลงมาคือ ด้านการคมนาคมตามหลักอิทธิบาท 4 และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการไฟฟ้าตามหลักอิทธิบาท 4 ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มีอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนประชาชนที่มีเพศ อายุ และการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อมีความคิดเห็นต่อการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ในแต่ละด้าน ดังนี้ 1) ด้านการไฟฟ้าตามหลักอิทธิบาท 4 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามเสนอแนะดังนี้ คือ 1) อบต. ควรออกสอบถาม ช่วงหน้าฝน ไฟฟ้า มีปัญหาหรือไม่อย่างไร หรืออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ดูแลประชาชนในพื้นที่ปกครอง ให้ทุกบ้านมีไฟใช้ ถนนสว่าง 2) อบต. ควรอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ดูแลประชาชนในพื้นที่ปกครอง ให้ทุกบ้านมีไฟใช้ 2) ด้านการประปาตามหลักอิทธิบาท 4 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามเสนอแนะดังนี้คือ 1) อบต. ออกสำรวจอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ดูแลประชาชนในพื้นที่ปกครอง ให้ทุกบ้านมีน้ำประปาใช้กันแล้วยัง 2) อบต. ประสานงานการประปา หาน้ำที่สะอาด ให้ประชาชนในพื้นที่ปกครอง ใช้อุปโภคและบริโภค 3) ด้านการคมนาคมตามหลักอิทธิบาท 4 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามเสนอแนะดังนี้คือ 1) อบต. ต้องสำรวจความต้องการของประชาชน ในพื้นที่ปกครอง มีถนนใช้และเข้าถึงทุกครัวเรือนหรือไม่ 2) อบต. ต้องสำรวจความต้องการของประชาชนในพื้นที่ปกครอง เกี่ยวกับการดูแล บำรุงรักษาให้ถนนอยู่ในสภาพที่เดินทางปลอดภัย หรือให้ประชาชนร่วมช่วยกันดูแล
สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นในการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นในการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เก็บข้อมูลจากประชาชนตำบลทุ่งน้อย จำนวน 375 คน โดยใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก ด้านการประปาตามหลักอิทธิบาท 4 รองลงมาคือ ด้านการคมนาคมตามหลักอิทธิบาท 4 และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการไฟฟ้าตามหลักอิทธิบาท 4 ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มีอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนประชาชนที่มีเพศ อายุ และการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อมีความคิดเห็นต่อการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปกครองตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ในแต่ละด้าน ดังนี้ 1) ด้านการไฟฟ้าตามหลักอิทธิบาท 4 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามเสนอแนะดังนี้ คือ 1) อบต. ควรออกสอบถาม ช่วงหน้าฝน ไฟฟ้า มีปัญหาหรือไม่อย่างไร หรืออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ดูแลประชาชนในพื้นที่ปกครอง ให้ทุกบ้านมีไฟใช้ ถนนสว่าง 2) อบต. ควรอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ดูแลประชาชนในพื้นที่ปกครอง ให้ทุกบ้านมีไฟใช้ 2) ด้านการประปาตามหลักอิทธิบาท 4 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามเสนอแนะดังนี้คือ 1) อบต. ออกสำรวจอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ดูแลประชาชนในพื้นที่ปกครอง ให้ทุกบ้านมีน้ำประปาใช้กันแล้วยัง 2) อบต. ประสานงานการประปา หาน้ำที่สะอาด ให้ประชาชนในพื้นที่ปกครอง ใช้อุปโภคและบริโภค 3) ด้านการคมนาคมตามหลักอิทธิบาท 4 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามเสนอแนะดังนี้คือ 1) อบต. ต้องสำรวจความต้องการของประชาชน ในพื้นที่ปกครอง มีถนนใช้และเข้าถึงทุกครัวเรือนหรือไม่ 2) อบต. ต้องสำรวจความต้องการของประชาชนในพื้นที่ปกครอง เกี่ยวกับการดูแล บำรุงรักษาให้ถนนอยู่ในสภาพที่เดินทางปลอดภัย หรือให้ประชาชนร่วมช่วยกันดูแล
The objectives of the Thematic were as follows: 1. to study the opinions on governance according to the principles of Iddhipada of Thung noi Subdistrict Administrative Organization in Mueang district of Nakhon Pathom province, 2. to compare the opinions of people towards the governance according to the principles of Iddhipada of Thung noi Subdistrict Administrative Organization in Mueang district of Nakhon Pathom province, and 3. to study the recommendations on the governance according to the principles of Iddhipada of Thung noi Subdistrict Administrative Organization in Mueang district of Nakhon Pathom province. The data of this quantitative research were collected from 375 samples of 5860 populations using Taro Yamane's formula and then analyzed by percentage, frequency, mean and standard deviation through a statistical package and content analysis. The study results were that: 1. The people's opinions on the governance according to the principles of Iddhipada of Thung noi Subdistrict Administrative Organization in Mueang district of Nakhon Pathom province in all 3 aspects were at a high level overall. In descending order, the water supply came first, followed by the transportation and electricity respectively. 2. In comparison results, the people with different occupations had different opinions on the governance according to the principles of Iddhipada of Thung noi Subdistrict Administrative Organization in Mueang district of Nakhon Pathom province with statistical significance at the 0.05 level. But the people with different sex, age, and education level had opinions on the governance according to the principles of Iddhipada of Thung noi Subdistrict Administrative Organization in Mueang district of Nakhon Pathom province indifferently. 3. Suggestions and recommendations regarding the governance according to the principles of Iddhipada of Thung noi Subdistrict Administrative Organization in Mueang district of Nakhon Pathom province in each aspect are as follows: 1) Regarding electricity according to the principle of Iddhipada, it was found that: 1) Thung noi Sub-district Administration Organization should inquire if the people have any problems concerning electricity in the rainy season and 2) Every house under Thung noi Sub-District Administrative Organization should access the electricity. 2) Regarding water supply according to the principle of Iddhipada, it was found that: 1) Thungnoi Sub-district Administration Organization should conduct a survey to ensure that every home has tap water and 2) water supply for drinking and consuming should provided to people regularly. 3) In terms of transportation according to the principle of Iddhipada, it was found that: 1) Thung noi Sub-district Administration Organization should survey the needs of the people if there are roads to their community or house and 2) Thung noi Sub-district Administration Organization should survey the needs of the people in road maintenance and cooperation of people.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปกครองภายใต้หลักสังคหวัตถุ 4 ของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการปกครองภายใต้หลักสังคหวัตถุ 4 ของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะแนวการปกครองภายใต้หลักสังคหวัตถุ 4 ของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 202 คน ซึ่งได้จากการกำหนดโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม (Questionnaire) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (x ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) และสถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่า (t-test) การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test or One – Way ANOVA) หากพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. การปกครองภายใต้หลักสังคหวัตถุ 4 ของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการออกระเบียบตามหลักสังคหวัตถุ 4 รองลงมาคือ ด้านการลงโทษตามหลังสังคหวัตถุ 4 และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 2. ผลการเปรียบเทียบ พบว่า พนักงานมหาวิทยาลัยที่มีอายุแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองภายใต้หลักสังคหวัตุ 4 แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนอกนั้นไม่พบความแตกต่าง ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3. ข้อเสนอแนะการปกครองภายใต้หลักสังควัตถุ 4 ของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ด้านการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 คือ อยากให้รับฟังความคิดเห็นของบุคลากรในการกำหนดนโยบายมากขึ้นกว่าเดิม และให้มีการสนับสนุนและส่งเสริมความก้าวหน้าของพนักงานมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง ด้านออกระเบียบตามหลักสังคหวัตถุ 4 ได้แก่ ให้ปรับปรุงแก้ไข กฎระเบียบต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบัน ด้านการลงโทษตามหลังสังคหวัตถุ 4 ได้แก่ ควรให้โอกาสผู้ทำผิดปรับปรุงตัวหรือทำความดีชดเชยความผิดในกรณีที่ไม่ใช่ความผิดที่รุนแรง
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปกครองภายใต้หลักสังคหวัตถุ 4 ของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการปกครองภายใต้หลักสังคหวัตถุ 4 ของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะแนวการปกครองภายใต้หลักสังคหวัตถุ 4 ของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 202 คน ซึ่งได้จากการกำหนดโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม (Questionnaire) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (x ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) และสถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่า (t-test) การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test or One – Way ANOVA) หากพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. การปกครองภายใต้หลักสังคหวัตถุ 4 ของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการออกระเบียบตามหลักสังคหวัตถุ 4 รองลงมาคือ ด้านการลงโทษตามหลังสังคหวัตถุ 4 และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 2. ผลการเปรียบเทียบ พบว่า พนักงานมหาวิทยาลัยที่มีอายุแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการปกครองภายใต้หลักสังคหวัตุ 4 แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนอกนั้นไม่พบความแตกต่าง ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3. ข้อเสนอแนะการปกครองภายใต้หลักสังควัตถุ 4 ของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ด้านการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุ 4 คือ อยากให้รับฟังความคิดเห็นของบุคลากรในการกำหนดนโยบายมากขึ้นกว่าเดิม และให้มีการสนับสนุนและส่งเสริมความก้าวหน้าของพนักงานมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง ด้านออกระเบียบตามหลักสังคหวัตถุ 4 ได้แก่ ให้ปรับปรุงแก้ไข กฎระเบียบต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบัน ด้านการลงโทษตามหลังสังคหวัตถุ 4 ได้แก่ ควรให้โอกาสผู้ทำผิดปรับปรุงตัวหรือทำความดีชดเชยความผิดในกรณีที่ไม่ใช่ความผิดที่รุนแรง
The objectives of this thematic paper are as follows: 1) to study government under Sangahavatthu of the Officials in Rajamanggala University of Technology Rattanakosin in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province, 2) to compare the government under Sangahavatthu of the Officials in Rajamanggala University of Technology Rattanakosin in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province by personal factors, and 3) to study the problems and suggestions on the government under Sangahavatthu of the Officials in Rajamanggala University of Technology Rattanakosin in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province. The data of this quantitative research were collected from 202 samples obtained by using the Taro Yamane formula. The research instrument was a questionnaire. The data were analyzed by frequency, percentage, mean (x ̅), standard deviation (S.D.), and inferential statistics such as t-test, one-way variance test (F-test or One–Way ANOVA). If a statistically significant difference is found at the 0.05 level, the mean difference is tested individually by the LSD (Least Significant Difference) method. The results showed that: 1. The government under Sangahavatthu of the Officials in Rajamanggala University of Technology Rattanakosin in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province in all 3 aspects was at a high level. When considering each aspect in descending order of mean from highest to lowest, it started with issuing rules and regulations, followed by penalty and administration respectively. 2. Comparison results indicated that the officials with different ages had significant difference in opinions on the government under Sangahavatthu at the 0.05 level. The difference other than that was not found in accordance with the hypothesis set. 3. Recommendations for the government under Sangahavatthu of the Officials in Rajamanggala University of Technology Rattanakosin in Phutthamonthon district of Nakhonpathom province are as follows: the opinions of personnel should be included in policy making, the progress of staff should be supported and promoted, rules and regulations should be revised and up-date, and penalty should be fair to the wrong doers in order that they could have an opportunity to improve themselves or do good deeds to compensate for their unserious offense.