Search results

5 results in 0.05s

หนังสือ

    การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) ศึกษามาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 366 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 และมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านมนุษย์ ด้านความคิดรวบยอด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความรู้ความคิด และด้านเทคนิค ตามลำดับ 2.มาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านกระบวนการบริหาร และการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้านระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล และด้านคุณภาพของผู้เรียน ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความคิดรวบยอด และด้านมนุษย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 72.20 (R2 = 0.722) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 0.869 + 0.282(TB) + 0.248(TC) + 0.173(TE) + 0.124(TD) (R2 = 0.722) สมการคะแนนมาตรฐาน =0.306 (ZTB) + 0.290(ZTC) + 0.212(ZTE) + 0.138 (ZTD) (R2 = 0.722) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านความรู้ความคิด (TA) ไม่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) ศึกษามาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 366 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 และมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านมนุษย์ ด้านความคิดรวบยอด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความรู้ความคิด และด้านเทคนิค ตามลำดับ 2.มาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านกระบวนการบริหาร และการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้านระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล และด้านคุณภาพของผู้เรียน ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความคิดรวบยอด และด้านมนุษย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 72.20 (R2 = 0.722) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 0.869 + 0.282(TB) + 0.248(TC) + 0.173(TE) + 0.124(TD) (R2 = 0.722) สมการคะแนนมาตรฐาน =0.306 (ZTB) + 0.290(ZTC) + 0.212(ZTE) + 0.138 (ZTD) (R2 = 0.722) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านความรู้ความคิด (TA) ไม่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
The objectives of the research were; 1) to study school administrators’ administrative skills under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2, 2) study the educational standards in schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2ม and 3) to study school administrators’ administrative skills affecting the educational standards in schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2. The data of this predictive research were collected from 368 samples consisting of School Director or Deputy School Director Academic heads and teachers under the Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2. The questionnaires used in data collecting consisted of the administrative skills of school administrators with a confidence value at 0.97 and the standard of education within the school with a confidence value at 0.98. The statistic instruments used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis by using the package software. The results of the study found that: 1.The level of administrative skills of school administrators under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2 in 5 aspects was high overall. When considering the average in each aspect, it was also at a high level. When arranging by order, the highest was on Human Skills, followed by Conceptual Skills, Education and teaching Skills, Knowledge, and Technical Skills respectively. 2.The level of educational standards within the schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2 in 4 aspects was high totally and in aspect. When considering the average in each aspect, the highest level was on Administrative Process and Management, followed by Student-centered Teaching and Learning Process, Internal Quality Assurance Systems, and Learners’ Quality respectively. 3.The administrative skills of school administrators affecting the educational standards within the schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2 were technical skills, educational and teaching skills. Conceptual skills, and the human skills with statistical significance at the level of .01, a prediction coefficient or a predictive power of 72.20 percent (R2 = 0.722). The relationships can be written in the form of predictions as follows: Raw score equation = 0.869 + 0.282(TB) + 0.248(TC) + 0.173(TE) + 0.124(TD) (R2 = 0.722) Standard score equation =0.306 (ZTB) + 0.290(ZTC) + 0.212(ZTE) + 0.138 (ZTD) (R2 = 0.722) Among administrative skills of school administrators, Knowledge (TA) does not affect the educational standards within the school. Since it does not have statistical significance, it has not been selected into the equation.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ ทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถาน ศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 190 คน ได้จากการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จากตารางเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบมาตรา ส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ (t–test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ กลุ่มอำนวยการ กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และกลุ่มการจัดการศึกษานอกระบบและจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน พบว่า ครูผู้สอนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการศึกษาเพิ่มเติม การสัมมนาวิชาการ การศึกษาดูงาน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ผลักดันให้มีการบรรจุบุคลากรให้เป็นข้าราชการ เพื่อทำให้เกิดมั่นคงก้าวหน้า ควรมีการจัดสวัสดิการให้บุคลากรอย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้นต่อไป มุ่งเน้นให้ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนิน งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน ส่งเสริมให้มีกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การ ศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ ทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถาน ศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 190 คน ได้จากการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จากตารางเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบมาตรา ส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ (t–test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ กลุ่มอำนวยการ กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และกลุ่มการจัดการศึกษานอกระบบและจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน พบว่า ครูผู้สอนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการศึกษาเพิ่มเติม การสัมมนาวิชาการ การศึกษาดูงาน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ผลักดันให้มีการบรรจุบุคลากรให้เป็นข้าราชการ เพื่อทำให้เกิดมั่นคงก้าวหน้า ควรมีการจัดสวัสดิการให้บุคลากรอย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้นต่อไป มุ่งเน้นให้ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนิน งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน ส่งเสริมให้มีกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง
The objectives of this thesis were 1) to study the teachers’ opinions toward the administration based on the Four Sublime States of Mind of the administrators in the schools under the Roi Et Informal and Non-Formal Education Office, 2) to compare the teachers’ opinions in mention classified by gender, age, education and working experiences and 3) to compile the related recommendations as suggested by the teachers in the said schools. The samples consisted of 190 teachers, the size of which was designed under the Krejcie and Morgan. The tool used in data collec-tion was the five-rating scale questionnaire, with its reliability value at 0.95. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation t-test and one-way ANOVA The research results were found as follows: 1) The administration based on the Four Sublime States of Mind of the school administrators under the Roi Et Informal and Non-Formal Education Office according to the teachers’ opinions was, in an overall aspect, found to stand at the highest level, with the aspect that showed the highest average was the director group, followed by the network and special activity group, and the informal and non-formal education group, respectively. 2) The comparison of the teachers’ opinions relevant to the so-said adminis-tration of the school administrators as mentioned, classified by sex, age, education, and working experience, was found to show no statistically significant difference. 3) The recommendations as suggested by the respondents comprised the following: 1. Continuous development of personnel. 2. Promotion of further education among the staff members. 3. Regular organization of seminars, observation trips and exchange of working experience. 4. Taking it as top priority to recruit provisional employments. 5. Arrangement of welfare programs. 6. Enhancement of the commu-nities and network partners to play a role in promoting and supporting the operation of informal and non-formal education. 7. Cooperation with network partners to drive community learning activities in order to strengthen relationships and increase efficiency in working together in various forms.
หนังสือ

หนังสือ

    การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จำนวน 97 แห่ง จำแนกเป็นสถานศึกษาระดับประถมศึกษาแต่ละอำเภอโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Style Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 380 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 และการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านความรู้ ความคิด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านเทคนิค ด้านมนุษย์ และด้านมโนภาพ ตามลำดับ 2.การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 47 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ด้านการส่ง เสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ และด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถาน ศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านมโนภาพ ด้านการศึกษาและการสอน และด้านความรู้ ความคิด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ ร้อยละ 77.10 (R2 = 0.771) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂ = 0.735 + 0.157 (BT) + 0.250 (ET) + 0.263 (CT)+ 0.098 (AT) (R2 = 0.771) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 3.634 (ZBT) + 2.703 (ZET) +3.948 (ZCT) +2.770 (ZAT) (R2 = 0.771) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาด้านมนุษย์ (DT) ไม่ส่งผลต่อการบริหาร งานวิชาการของสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จำนวน 97 แห่ง จำแนกเป็นสถานศึกษาระดับประถมศึกษาแต่ละอำเภอโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Style Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 380 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 และการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านความรู้ ความคิด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านเทคนิค ด้านมนุษย์ และด้านมโนภาพ ตามลำดับ 2.การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 47 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ด้านการส่ง เสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ และด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถาน ศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านมโนภาพ ด้านการศึกษาและการสอน และด้านความรู้ ความคิด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ ร้อยละ 77.10 (R2 = 0.771) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂ = 0.735 + 0.157 (BT) + 0.250 (ET) + 0.263 (CT)+ 0.098 (AT) (R2 = 0.771) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 3.634 (ZBT) + 2.703 (ZET) +3.948 (ZCT) +2.770 (ZAT) (R2 = 0.771) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาด้านมนุษย์ (DT) ไม่ส่งผลต่อการบริหาร งานวิชาการของสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
The purposes of this research were; 1) to study administrative skills of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2, 2) to study the academic administration of of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2, and 3) to study administrative skills of school administrators affecting the academic administration in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2. The data were collected by questionnaires from 97 primary schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2. 380 samples consisted of school directors, academic heads and teachers obtained by stratified style sampling. The reliability of questionnaire on administrative skills of school administrators was at 0.96 and the reliability of academic administration was at 0.98. The data were analyzed by Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, and Step multiple regression analysis through the package software. The results of the study were found that: 1) Overall, the administrative skills of school administrators under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 were at a high level in 5 aspects. When considering the average in each aspect, the highest level was on Knowledge, followed by Idea, Education and Teaching, Techniques, Humanity and Imagination respectively. 2) The academic administration of schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 in 47 aspects was at a high level overall and in aspects. When considering the average in each aspect in orderly, the highest level was on Measurement, followed by Assessment and Credit Transfer, Learning Development, Research for Educational Development, Educational Supervision, Development of Internal Quality Assurance Systems, in Educational promoting of the community for academic strength, and Curriculum Development respectively. 3)The administrative skills of school administrators affecting the academic administration in schools under Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area 2 consist of Techniques, Imagination, Education and Teaching, Knowledge and Idea. The level of statistical significance was at .01 with a prediction coefficient or a predictive power at 77.10 percent (R2 = 0.771) The relationships can be written in the form of predictions as follows: Raw score equation = 0.735 + 0.157(BT) + 0.250(ET) + 0.263(CT) + 0.098(AT) (R2 = 0.771) Standard score equation = 3.634(ZBT) + 2.703(ZET) + 3.948(ZCT) =2.770(ZAT) (R2 = 0.771) The administrative skills of school administrators in human resource (DT) do not affect the academic administration in schools. Therefore, it has not been selected into the equation because the statistical significance is not found.

... 2563

หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 364 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลัก ธรรม สัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ความต้องการจำเป็น โดยรวมมีค่า เฉลี่ย = 0.18 เมื่อพิจารณาด้านที่มีความต้องจำเป็นสูงที่สุดไปหาต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4, ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 มีค่า PNImodified = 0.19 ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ค่า PNImodified = 0.18 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ที่สำคัญคือผู้บริหารมีความเที่ยงธรรมไม่เอนเอียงต่อความไม่ชอบหรือชอบ ไม่ดำรงตนอยู่ในความประมาท รักษาผลประโยชน์และปกป้องผู้บังคับบัญชาด้วยความเป็นธรรม กำหนดนโยบายให้ชัดเจนและกำกับติดตาม
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 364 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลัก ธรรม สัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ความต้องการจำเป็น โดยรวมมีค่า เฉลี่ย = 0.18 เมื่อพิจารณาด้านที่มีความต้องจำเป็นสูงที่สุดไปหาต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4, ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 มีค่า PNImodified = 0.19 ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ค่า PNImodified = 0.18 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ที่สำคัญคือผู้บริหารมีความเที่ยงธรรมไม่เอนเอียงต่อความไม่ชอบหรือชอบ ไม่ดำรงตนอยู่ในความประมาท รักษาผลประโยชน์และปกป้องผู้บังคับบัญชาด้วยความเป็นธรรม กำหนดนโยบายให้ชัดเจนและกำกับติดตาม
The purposes of this study were to 1) to study and desirable condition on Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 2) to compare Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 classified by the difference of gender, position, education and experience 3) to study on recommenda-tions for Buddhist Approach Leadership of School Administrators at Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1. The samples were 364. The instruments used for collecting data were rating scale questionnaire with 5 levels. The results of this study found that: 1)Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 overall was at a high level. When considering each side, arranged from the highest to the lowest, with principles of occupation on Principle of Itt Baht 4, principles of self-possession Using the principle of Sapphuristhamma 7 and principles of occupying people Using the principle of Brahma Vihara 4. Desirable condition overall was at a high level. When considering each side, arranged from the highest to the lowest, with principles of occupation on Principle of Itt Baht 4, principles of self-possession Using the principle of Sapphuristhamma 7 and principles of occupying people Using the principle of Brahma Vihara 4. Need Overall there is an average PNImodified =0.18, principles of occupying people Using the principle of Brahma Vihara 4, principles of occupation on Principle of Itt Baht 4 PNImodified = 0.19 and principles of self-possession Using the principle of Sapphuristhamma 7 PNImodified =0.18 2)Compare Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 classified by the difference of gender, position, education and experience Overall was no different. 3)Study on recommendations for Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1. Executives must be generous. Being fair and not inclined to dislike or like, prudence, does not live in negligence, maintain interests and protect supervisors with fairness. Establish clear policies and monitor them.