Search results

35 results in 0.14s

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 สถานการณ์ทั่วไป
  • ส่วนที่ 2 สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
  • ส่วนที่ 3 สถานการณ์เด่นในรอบปี 2562
  • ส่วนที่ 4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการสังคมเพื่อผู้สูงอายุไทย
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง
  • มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาพรรคการเมืองไทย 2) เพื่อศึกษาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์การพัฒนาพรรคการเมืองไทยตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพวิเคราะห์เอกสารเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. พรรคการเมืองไทยเกิดขึ้นมาภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อ พุทธศักราช 2475 และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน พรรคการเมืองไทยคือกลุ่มคนที่มีแนวคิดและอุดมการณ์เดียวกันมุ่งหวังที่จะจัดตั้งรัฐบาล 2. ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยคือการที่ถือเสียงประชาชนส่วนใหญ่เป็นสำคัญในการตัดสินใจที่จะเลือกผู้แทนโดยการผ่านสมาชิกของพรรคการเมืองเข้าสู่กระบวนการเลือกตั้งนำไปสู่การจัดตั้งรัฐบาล 3. พรรคการเมืองไทยเป็นพรรคการเมืองที่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยแบบสากล คือด้านการส่งผู้รับสมัครลงเลือกตั้งของไทย ตามรัฐธรรมนูญ 2560 และทางด้านอเมริกามีความสอดคล้องกันคือผู้รับสมัครลงเลือกตั้งต้องผ่านการหยั่งเสียงเบื้องต้นมาก่อน ส่วนทางด้านพรรคการเมืองของอังกฤษการส่งผู้รับสมัครลงเลือกตั้งไม่ผ่านการหยั่งเสียงเบื้องต้น และระบบพรรคการเมืองของสหรัฐอเมริกาและของอังกฤษจัดอยู่ในระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค ส่วนของพรรคการเมืองไทยมีแนวโน้มเป็นระบบสองพรรคเช่นกัน การพัฒนาพรรคการเมืองไทยตามระบอบประชาธิปไตย พรรคการเมืองไทย ได้นำวิธีการในแบบสหรัฐอเมริกาและแบบอังกฤษมาปรับประยุกต์ใช้ และใช้ระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขเช่นเดียวกับอังกฤษ
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาพรรคการเมืองไทย 2) เพื่อศึกษาระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์การพัฒนาพรรคการเมืองไทยตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพวิเคราะห์เอกสารเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. พรรคการเมืองไทยเกิดขึ้นมาภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อ พุทธศักราช 2475 และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน พรรคการเมืองไทยคือกลุ่มคนที่มีแนวคิดและอุดมการณ์เดียวกันมุ่งหวังที่จะจัดตั้งรัฐบาล 2. ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยคือการที่ถือเสียงประชาชนส่วนใหญ่เป็นสำคัญในการตัดสินใจที่จะเลือกผู้แทนโดยการผ่านสมาชิกของพรรคการเมืองเข้าสู่กระบวนการเลือกตั้งนำไปสู่การจัดตั้งรัฐบาล 3. พรรคการเมืองไทยเป็นพรรคการเมืองที่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยแบบสากล คือด้านการส่งผู้รับสมัครลงเลือกตั้งของไทย ตามรัฐธรรมนูญ 2560 และทางด้านอเมริกามีความสอดคล้องกันคือผู้รับสมัครลงเลือกตั้งต้องผ่านการหยั่งเสียงเบื้องต้นมาก่อน ส่วนทางด้านพรรคการเมืองของอังกฤษการส่งผู้รับสมัครลงเลือกตั้งไม่ผ่านการหยั่งเสียงเบื้องต้น และระบบพรรคการเมืองของสหรัฐอเมริกาและของอังกฤษจัดอยู่ในระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรค ส่วนของพรรคการเมืองไทยมีแนวโน้มเป็นระบบสองพรรคเช่นกัน การพัฒนาพรรคการเมืองไทยตามระบอบประชาธิปไตย พรรคการเมืองไทย ได้นำวิธีการในแบบสหรัฐอเมริกาและแบบอังกฤษมาปรับประยุกต์ใช้ และใช้ระบอบการปกครองประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขเช่นเดียวกับอังกฤษ
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study Thai political party development, 2) to study democratic government system, and 3) to analyze the Thai political party development according to the democracy. The data of this qualitative research were collected from documents, analyzed by content analysis, and presented by by a descriptive method. The study results found that; 1. The Thai political parties were founded after changing the rule from absolute monarchy to democracy in 1932, and they continued gradual development. From past to present, the Thai political parties were groups of people with the same or similar concept and ideology aimed to establish a government. 2. The democracy is the government based on majority votes of people through representatives of political parties by election. 3. In the development of Thai political party according to the democracy, Thai political parties are democratic relevant to universal democratic system. The fielding of the party candidates to election in Thailand was similar to that in the United States of America, but different from that in the United Kingdom which had shorter time in canvassing before the election. The tendency of Thai political party could be grouped into two main parties as in the United States of America and in England. In the development of Thai political party in democracy, long time canvassing before the election as in the United States of America and democratic form of government with the King as Head of state may be applied.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 สถานการณ์ทั่วไป
  • ส่วนที่ 2 สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
  • ส่วนที่ 3 สถานการณ์เด่นในรอบปี 2563
  • ส่วนที่ 4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการสังคมเพื่อผู้สูงอายุไทย
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    Abstract : สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของชุมชนชาวไทย เชื้อชาติลาว บ้านสบคำ ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของชุมชนชาวไทยเชื้อชาติลาว บ้านสบคำ ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูลวิจัย ได้แก่ สมาชิกในชุมชนทุกเพศทุกวัยที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ และผู้รู้ที่เคยอาศัยอยู่ในชุมชนนี้มาก่อน จำนวน 15 คน เป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key informants) การเก็บข้อมูลคือ การสำรวจพื้นที่วิจัย การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่มย่อย การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปของการพรรณนาตามปรากฏการณ์ที่พบเห็น ผลการวิจัยพบว่า ด้านภาษา มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต กล่าวคือ ชาวไทยเชื้อสายลาวบ้านสบคำในอดีตใช้ภาษาลาวในการสื่อสารระหว่างกัน ไม่สามารถอ่านและเขียนอักษรภาษาลาวได้ เนื่องจากในอดีตคนส่วนใหญ่ไม่ได้รับการศึกษาเท่าที่ควร ต่อมาเมื่อวัฒนธรรมจากภายนอกได้แพร่กระจายเข้ามาสู่ชุมชนจนมีหลายสิ่งเปลี่ยนแปลงไป รวมถึงวัฒนธรรมทางภาษา จากเดิมคนในชุมชนส่วนใหญ่ไม่ได้เรียนหนังสือ ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ แต่ปัจจุบันคนรุ่นใหม่ได้เรียนหนังสือ ได้เรียนรู้ภาษาอื่นร่วมด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การใช้ภาษาของชาวไทยเชื้อสายลาวจึงเกิดการผสมผสานระหว่างภาษาอื่น มีการพูดคุยสื่อสารกันในภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาลาว จนกระทั่งใช้ภาษาไทยกลางมาเป็นภาษาในการสื่อสารระหว่างกัน จนในที่สุดภาษาลาวค่อย ๆ เลือนหายจากสังคมคนรุ่นใหม่ ด้านการแต่งกาย ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก โดยเฉพาะรูปแบบของการนุ่งห่ม มีความทันสมัยและสากลไปกว่าเดิม โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ไม่นุ่งห่มผ้าเหมือนในอดีต สวมใส่เสื้อผ้าที่ทันสมัย นิยมใช้เสื้อผ้าสำเร็จรูปที่นำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งเป็นค่านิยมที่กำลังพัฒนาและเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สิ่งดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อการสืบทอดภูมิปัญญาการต่ำหูกของลาวไม่มากก็น้อย การปลูกฝังค่านิยมในการต่ำหูกของผู้หญิงลดน้อยลง ซึ่งจะทำให้ค่อย ๆ เหินห่างจากกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณีของเชื้อชาติลาว เนื่องจากปัจจัยด้านระยะทางและสภาวะแวดล้อมใหม่ ด้านการบริโภค มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตอย่างเห็นได้ชัดเจน เนื่องจากสังคมมีการพัฒนา และมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น การบริโภคอาหารจึงเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย จากอดีตที่หากินของป่าตามธรรมชาติก็เปลี่ยนเป็นการซื้อวัตถุดิบทางท้องตลาด หรือซื้ออาหารที่ขายตามตลาดทั่วไป จะเห็นได้ว่าปัจจุบันชาวไทยเชื้อสายลาวบริโภคอาหารสำเร็จรูปมากขึ้น มีการบริโภคอาหารที่หลากหลาย ประกอบกับชุมชนมีร้านค้าขายของชำและมีรถเข้ามาขายอาหารสามารถเลือกซื้อได้ตามความต้องการ ด้านความเชื่อ มีการเปลี่ยนแปลงจากอดีต กล่าวคือ ในอดีตก่อนจะพบวัดพระธาตุผาเงา ชาวบ้านยังไม่ค่อยเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาเท่าที่ควร หลังจากค้นพบองค์พระธาตุผาเงาและองค์หลวงพ่อผาเงาชาวบ้านจึงเกิดมีความเลื่อมใสศรัทธาต่อวัดแห่งนี้เป็นอย่างมาก วัดพระธาตุผาเงาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและเป็นศูนย์กลางของสังคม พระสงฆ์นอกจากนำคำสอนของพุทธศาสนาออกไปเผยแผ่ให้กับประชาชนแล้ว ยังช่วยเหลือให้คำปรึกษาแก่ชาวบ้านที่เข้ามาวัด
Abstract : สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของชุมชนชาวไทย เชื้อชาติลาว บ้านสบคำ ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของชุมชนชาวไทยเชื้อชาติลาว บ้านสบคำ ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูลวิจัย ได้แก่ สมาชิกในชุมชนทุกเพศทุกวัยที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ และผู้รู้ที่เคยอาศัยอยู่ในชุมชนนี้มาก่อน จำนวน 15 คน เป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key informants) การเก็บข้อมูลคือ การสำรวจพื้นที่วิจัย การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่มย่อย การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปของการพรรณนาตามปรากฏการณ์ที่พบเห็น ผลการวิจัยพบว่า ด้านภาษา มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต กล่าวคือ ชาวไทยเชื้อสายลาวบ้านสบคำในอดีตใช้ภาษาลาวในการสื่อสารระหว่างกัน ไม่สามารถอ่านและเขียนอักษรภาษาลาวได้ เนื่องจากในอดีตคนส่วนใหญ่ไม่ได้รับการศึกษาเท่าที่ควร ต่อมาเมื่อวัฒนธรรมจากภายนอกได้แพร่กระจายเข้ามาสู่ชุมชนจนมีหลายสิ่งเปลี่ยนแปลงไป รวมถึงวัฒนธรรมทางภาษา จากเดิมคนในชุมชนส่วนใหญ่ไม่ได้เรียนหนังสือ ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ แต่ปัจจุบันคนรุ่นใหม่ได้เรียนหนังสือ ได้เรียนรู้ภาษาอื่นร่วมด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การใช้ภาษาของชาวไทยเชื้อสายลาวจึงเกิดการผสมผสานระหว่างภาษาอื่น มีการพูดคุยสื่อสารกันในภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาลาว จนกระทั่งใช้ภาษาไทยกลางมาเป็นภาษาในการสื่อสารระหว่างกัน จนในที่สุดภาษาลาวค่อย ๆ เลือนหายจากสังคมคนรุ่นใหม่ ด้านการแต่งกาย ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก โดยเฉพาะรูปแบบของการนุ่งห่ม มีความทันสมัยและสากลไปกว่าเดิม โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ไม่นุ่งห่มผ้าเหมือนในอดีต สวมใส่เสื้อผ้าที่ทันสมัย นิยมใช้เสื้อผ้าสำเร็จรูปที่นำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งเป็นค่านิยมที่กำลังพัฒนาและเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สิ่งดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อการสืบทอดภูมิปัญญาการต่ำหูกของลาวไม่มากก็น้อย การปลูกฝังค่านิยมในการต่ำหูกของผู้หญิงลดน้อยลง ซึ่งจะทำให้ค่อย ๆ เหินห่างจากกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณีของเชื้อชาติลาว เนื่องจากปัจจัยด้านระยะทางและสภาวะแวดล้อมใหม่ ด้านการบริโภค มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตอย่างเห็นได้ชัดเจน เนื่องจากสังคมมีการพัฒนา และมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น การบริโภคอาหารจึงเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย จากอดีตที่หากินของป่าตามธรรมชาติก็เปลี่ยนเป็นการซื้อวัตถุดิบทางท้องตลาด หรือซื้ออาหารที่ขายตามตลาดทั่วไป จะเห็นได้ว่าปัจจุบันชาวไทยเชื้อสายลาวบริโภคอาหารสำเร็จรูปมากขึ้น มีการบริโภคอาหารที่หลากหลาย ประกอบกับชุมชนมีร้านค้าขายของชำและมีรถเข้ามาขายอาหารสามารถเลือกซื้อได้ตามความต้องการ ด้านความเชื่อ มีการเปลี่ยนแปลงจากอดีต กล่าวคือ ในอดีตก่อนจะพบวัดพระธาตุผาเงา ชาวบ้านยังไม่ค่อยเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาเท่าที่ควร หลังจากค้นพบองค์พระธาตุผาเงาและองค์หลวงพ่อผาเงาชาวบ้านจึงเกิดมีความเลื่อมใสศรัทธาต่อวัดแห่งนี้เป็นอย่างมาก วัดพระธาตุผาเงาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและเป็นศูนย์กลางของสังคม พระสงฆ์นอกจากนำคำสอนของพุทธศาสนาออกไปเผยแผ่ให้กับประชาชนแล้ว ยังช่วยเหลือให้คำปรึกษาแก่ชาวบ้านที่เข้ามาวัด
พระสงฆ์จึงเป็นผู้นำแห่งจิตวิญญาณและปัญญา วัดและสถาบันสงฆ์ถือเป็นกลไกสำคัญที่เข้าถึงความเป็นอยู่ของประชาชนและมีอิทธิพลต่อสังคมโดยรวมมากที่สุด ด้านประเพณี ประเพณีของชาวไทยเชื้อชาติลาวชุมชนบ้านสบคำ ส่วนใหญ่จะเป็นประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนาเกือบทั้งหมด โดยเฉพาะประเพณีทานข้าวจี่ และประเพณีไหลเรือไฟ มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตอย่างเห็นได้ชัดเจน คือ ประเพณีทานข้าวจี่ในอดีตมีรูปแบบที่เรียบง่ายและใช้วัสดุจากธรรมชาติ และคนในชุมชนจะรวมตัวกันทำข้าวจี่ แต่ปัจจุบันชาวบ้านนิยมทำข้าวจี่ที่บ้าน ชาวบ้านไม่สามารถรวมตัวกันได้เหมือนเมื่อก่อน เพราะต่างคนต่างมีวิถีการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน มีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย วิธีการทำข้าวจี่ในปัจจุบันมีกระบวนการและวิธีการทำข้าวจี่ได้มีขั้นตอนและกระบวนการที่ซับซ้อนมากขึ้น ส่วนประเพณีไหลเรือไฟ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัดเจนเหมือนกัน ในอดีตเรือไฟทำด้วยท่อนกล้วย ไม้ไผ่ แต่ในปัจจุบันวิธีทำเรือไฟมีการนำเอาเทคโนโลยีแนวใหม่ ๆ เข้ามาช่วย มีการดัดแปลงการทำเรือไฟให้แปลกตา ดัดแปลงรูปร่างได้หลากหลาย รวมทั้งมีการจัดประกวดเรือไฟขึ้น จนกลายเป็นตัวดึงดูดนักท่องเที่ยวให้หลั่งไหลเข้ามาในชุมชน ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายลาว การเพิ่มของประชากร การพัฒนาของภาครัฐ การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม และเทคโนโลยี ปัจจัยทั้ง 5 ด้านล้วนมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายลาวบ้านสบคำมาจนถึงปัจจุบัน
Abstract : The objectives of this thesis were 1) to study the cultural change of the Lao Thai community of Ban Sobkam, Wiang sub-district, Chiang Saen district, Chiangrai province 2) to study the factors causing the cultural change of the Lao Thai community of Ban Sobkam, Wiang sub-district, Chiang Saen district, Chiangrai province. The research sampling subjects consisted of fifteen key informants who are living in the area and the persons concerned. Data collection was made through field survey, observation of community lifestyles, participant observation, in-depth interview, and focus group discussion. Results of the data analysis were presented in explanation as duly perceived. The research findings were as follows: The language aspect: the language has gradually changed due the diffused culture such as Thai and English which widely used in the Thai society nowadays. In the past, the Lao language was strongly used among members in the area, mainly verbally. Since people have been attending Thai school, the usage of the Lao language is getting less day by day. Thai language also has been combined in communicating in their daily lives. This happens in the group of the new generation. Dressing aspect: it is hardly to see people wearing homemade pha sin or long skirt nowadays. In the past, some women preferred weaving cloth and making clothes for their family members. In present, the modernized fashion has been replacing the Lao style of dress. The locals lost their weaving skills which are significantly dealing with the Lao tradition or the way of life transferred by old generation to new generation. Food consumption aspect: the consumption of food is obviously changed too. The villagers are actively adapting themselves to the change happens in the Thai society. They prefer to buy food selling at the store or market rather than collecting it from the forest like in the past. There is a variety of food which they could have as they desire today. Belief aspect: primarily, the locals did not have much faith in Buddhism until they found the sacred ancient Buddhist Stupa and ancient Buddha image (Luang Por Pha Ngao) which drawing attention of the villagers making them believe in Buddhism. Monks who is considered knowledgeable and also a spiritual leader play a great role by delivering the Buddha’s teaching, giving an advice to the people about how to live peacefully and happily in the society. They therefore can apply what they have learned from monks into their daily life. Nowadays, Wat Phra Dhat Pha Ngao becomes the Buddhism learning center for a community and a society. Traditional aspect: grilling sticky rice and fired boat floating traditions have been gradually changing. On grilling rice day, villagers used to gather each other at the temple along with belonging to make grilling rice but today they prefer to do it separately by making it at home instead and the procedure of grilling rice is also more complexity. The fired boat floating tradition is also changes. Villagers used to make fired boat in a simple way by using bamboo tree and banana tree only but today new techniques have been applied, using more materials to make fired boat more colorful and creating more activities such as fired boat contest and boat racing to attract tourists. Therefore, they can make more income to the community. The cultural change of the Lao Thai community of Ban Sobkam, Wiang sub-district, Chiang Saen district, Chiangrai province can be considered by these four factors, namely: the increasing of population, the government development policy, cultural diffusion and technology.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 สถานการณ์ทั่วไป
  • บทที่ 2 อรรถบท-ผู้สูงอายุกับโควิด-19
  • บทที่ 3 สถานการณ์การดำเนินงานด้านผู้สุงอายุในประเทศไทย
  • บทที่ 4 สถานการณ์เด่นในรอบปี 2564
  • บทที่ 5 งานวิจัยเพื่อสังคมผู้สูงอายุ
หนังสือ